SlideShare a Scribd company logo
1 of 61
Download to read offline
การเขียน
บทความวิชาการ
ดร.ศรีประไพ อินทร์ชัยเทพ
วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี นครลาปาง
สถาบันพระบรมราชชนก
บทความวิชาการคืออะไร
บทความวิชาการ เป็นบทความนาเสนอ
สาระประเด็นใดประเด็นหนึ่งตามหลักวิชาการ
โดยมีการเสนอแนวคิด ทฤษฎี หลักการ
ร่วมกับการวิเคราะห์ วิพากษ์ หรือสังเคราะห์
ด้วยประสบการณ์หรือทัศนะของผู้เขียนอย่าง
เป็นระบบ
(1) บทความวิจัย (Research article) เป็นบทความที่เป็นผลงานต่อเนื่องจาก งานวิจัย
หรือสกัดมาจากงานวิจัยที่ประมวลสรุปภาพรวมของการวิจัยให้มี ความกระชับ
(2) บทความทางวิชาการ (Academic article) เป็นเขียนวิชาการประเด็นใดประเด็นหนึ่ง
ซึ่งมีการวิเคราะห์ประเด็นตามหลักวิชาการ เสนอแนวคิดและวิเคราะห์อย่างเป็นระบบ
(3) บทความปริทัศน์ (Reviewed articles) หมายถึง งานเขียนที่ประมวลความรู้โดยมุ่ง
อธิบาย วิเคราะห์ และสังเคราะหความคิดหรือมโนทัศน์หนึ่ง ๆ
(4) บทวิจารณ์หนังสือ (Book review) หมายถึง บทความวิพากษ์วิจารณ์ เนื้อหาสาระ
คุณค่า และคุณูปการของหนังสือ บทความ หรือ ผลงานศิลปะที่ได้กล่าวไว้แล้วโดยใช้
หลักวิชาและดุลพินิจอันเหมาะสม รวมทั้งเสนอแนวทางแกไขให้ดีขึ้น
ประเภทของบทความวิชาการ
บทความทางวิชาการ
(Academic Article)
ข้อเขียนเชิงสาระประเด็นใด
ประเด็นหนึ่งหรือปรากฏการณ์ที่
เกิดขึ้นที่ผ่านการศึกษาค้นคว้าอย่าง
ละเอียด พร้อมทั้งเสนอแนวคิด ทัศนะ
ของผู้เขียนในเชิงวิเคราะห์ วิพากษ์
เพื่อมุ่งเน้นให้ความรู้แก่ผู้อ่าน รวมถึง
การปรับเปลี่ยนแนวคิดมาสู่ความคิด
ของผู้เขียน
ตัวอย่าง
บทความวิจัย
(Research Article)
บทความที่เป็นผลงานต่อเนื่อง
สกัดมาจากงานวิจัย ที่มีการประมวลสรุป
กระบวนการวิจัยให้มีความกระชับและสั้น
เพื่อเสนอในวารสาร สื่อสิ่งพิมพ์ หรือการ
ประชุมสัมมนา โดยต้องผ่านการตรวจสอบ
เนื้อหาและรูปแบบการจัดพิมพ์ตาม เกณฑ์
มาตรฐานของวารสาร หรือ
กองบรรณาธิการ
ตัวอย่าง
วารสารเป็นช่องทางที่ดีที่สุด
ในการเผยแพร่ผลงานวิจัย
เขียนบทความวิชาการอย่างไรให้ได้ตีพิมพ์
ประเด็น / หัวข้อ ทันสมัยสอดคล้องกับนโยบาย
และความต้องการของวารสาร
ระเบียบวิธีถูกต้องน่าเชื่อถือ
นาเสนอได้ถูกต้องตามหลักวิชาการ
ไม่ละเมิดจริยธรรม
เลือกวารสารในการตีพิมพ์ที่เหมาะสม
1. การกาหนดประเด็น /
หัวข้อ ทันสมัยสอดคล้อง
กับนโยบายและความ
ต้องการของวารสาร
ประเด็นนั้นต้องสอดคล้องกับ
ความเชี่ยวชาญของผู้วิจัยและ
วิสัยทัศน์องค์กร
วารสารต้องการวิจัย 3 ลักษณะ
 Policy implication
สามารถชี้นาเชิงนโยบายได้
 Research for development
สามารถนาไปใช้ในการประดิษฐ์หรือสร้างสิ่งใหม่ๆ
 Research and development
สามารถพัฒนาสิ่งที่มีอยู่เดิมให้ดีขึ้น สมบูรณ์ขึ้น
ทีมา รศ.ดร.โยธิน แสวงดี
กรอบงานวิจัย ปีงบประมาณ 2563
สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.)
กรอบงานวิจัย ปีงบประมาณ 2563 ทิศทางการพัฒนาระบบสุขภาพกับ
ประเด็นเร่งด่วน ที่ตอบสนองยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี และแผนการปฏิรูป
สาธารณสุขของประเทศ 4 ด้าน ได้แก่
1) การปฏิรูประบบบริการสุขภาพ
2) การสร้างเสริมสุขภาพ ป้องกันควบคุมโรค และภัยคุกคามสุขภาพ
3) การบริหารจัดการและการเงินการคลัง
4) การสร้างความรอบรู้และการสื่อสารสุขภาพ รวมทั้งประเด็นปัญหา
สุขภาพของประเทศที่เป็นภาระสูง
จุดเริ่มโจทย์วิจัย
1. ความไม่พอใจในสิ่งที่ปฏิบัติอยู่ในปัจจุบัน
- สารวจว่าสิ่งที่ปฏิบัติที่ทาอยู่ในปัจจุบันมีอะไรที่เป็นปัญหา
- ถ้ารู้สึกว่าดีแล้ว ทาให้ดีกว่านี้ได้หรือไม่
2. ผลลัพธ์จากนโยบาย หรือเป้าหมายขององค์กร
3. การอ่านวารสารและงานวิจัยที่ตีพิมพ์แล้ว
- ใครทาอะไร? - ทาไปถึงไหน? - ช่องว่างอยู่ตรงไหน?
4. การพบปะพูดคุยหรือการสื่อสารกับบุคคลอื่นๆ ทั้งเป็นการส่วนตัว
หรือใน การประชุมวิชาการต่างๆ
5. การทาวิจัยซ้า (Replication of studies) เพื่อเป็นการพิสูจน์ทฤษฎี
ระดับของปัญหา ?
1. ไม่ทราบว่ามีปัญหา
2. ทราบว่ามีปัญหา แต่ไม่ทราบว่าปัญหาอะไร
3. ทราบว่าปัญหาคืออะไร แต่ไม่ทราบสาเหตุ
4. ทราบว่าสาเหตุของปัญหาคืออะไร แต่ไม่ได้แก้ไข
5. ลงมือแก้ไขปัญหาแล้ว แต่ยังพบว่าปัญหาไม่ลดลง
2.ระเบียบวิธีที่ถูกต้อง
น่าเชื่อถือ
ความสาคัญของระเบียบวิธีวิจัย
ผลการวิจัยพบว่า .... ผู้อ่านวารสารอ่าน 3 อันดับแรก
 บทคัดย่อ
 ผลการวิจัยและอภิปรายผล
 ระเบียบวิธีวิจัย
ทุกส่วนมีผลมาจากความถูกต้องของระเบียบวิธีวิจัย
จุดสาคัญของการ ACCEPT & REJECT
 Methodological approach ความถูกต้องของระเบียบวิธีวิจัย
 Theoretical contribution เกิดประโยชน์เชิงทฤษฎี
 Integration into relevant literature บูรณาการและเชื่อมโยง
วรรณกรรม
 Quality of writing คุณภาพของการสื่อความหมาย
 Importance to social มีความสาคัญต่อสังคม
 Argument การตั้งข้อสงสัยและอธิบายคาตอบ
What is an argument ?
ข้อความที่เขียนขึ้นเพื่อต้องการเสนอความคิดให้เกิด
ข้อคิด ข้อสงสัย และนาเสนอข้อมูลเพื่อแก้ข้อสงสัยนั้น คือความ
พยายามที่จะชักชวนให้ผู้อ่านเชื่อในบางอย่างที่มีความสาคัญ การ
กาหนดสมมุติฐานและการอภิปรายผลการวิจัยตามสมมติฐานถือ
ว่าเป็นส่วนหนึ่งของ argument ด้วย argument จะมีองค์ประกอบ
2 สวนคือ ส่วนที่อ้างขึ้นหรือคาดคะเน และส่วนที่ที่สนับสนุน หรือ
พิสูจน์การกล่าวอ้าง
3.นาเสนอได้ถูกต้อง
ตามหลักวิชาการ
Quality of writing
คุณภาพของการสื่อความหมาย
Integration into relevant
literature บูรณาการและ
เชื่อมโยงวรรณกรรม
5 W 1 H แนวทางการเขียนบทความ
How Where
Why When
Who What
สวนนา
เป็นส่วนจูงใจให้ผู้อ่านสนใจ
ชื่อเรื่อง บทคัดย่อ บทนา
สวนเนื้อหา
เนื้อหาสาระ การสังเคราะห
การให้ข้อเสนอแนะ
สวนสรุป
การย่อหรือเลือกนาเสนอ
ประเด็นสาคัญของบทความ
ส่วนอ้างอิง
นาเสนอที่มาของข้อมูล แสดง
ความน่าเชื่อถือของบทความ
องค์ประกอบของบทความวิชาการ
ส่วนประกอบของบทความทางวิชาการและบทความวิจัย
บทความทางวิชาการ บทความวิจัย
ส่วนนา
ชื่อเรื่อง / ข้อมูลผู้เขียน / บทคัดย่อ หรือ
สาระสาคัญ/ คาสาคัญ
ส่วนนา
ชื่อเรื่อง / ข้อมูลผู้เขียน / บทคัดย่อ / คา
สาคัญ
ส่วนเนื้อหา
สาระสาคัญและจุดมุ่งหมายของบทความ
ข้อเท็จจริง ข้อมูลที่ค้นพบ แทรกทัศนะผู้เขียน
ส่วนเนื้อหา
ความเป็นมาและความสาคัญของการวิจัย
ระเบียบวิธีวิจัย
บทสรุป
สรุปสาระ / เสนอข้อสังเกต / ข้อเสนอแนะ
บทสรุป
สรุปผลการวิจัย / การอภิปรายผล /
ข้อเสนอแนะ
ส่วนท้าย
บรรณานุกรม / เอกสารอ้างอิง
ส่วนท้าย
บรรณานุกรม / เอกสารอ้างอิง
Article Map
เป็นแผนที่การคิดรวบยอด ในการกาหนดแนวทางในการเรียบเรียงเนื้อหา
ของบทความวิจัย
พื้นที่ 50% เป็นผลการวิเคราะห์ข้อมูลและอภิปรายผล
พื้นที่ 20% เป็นบทนาความเป็นมาและความสาคัญของปัญหาวิจัย
วัตถุประสงค์ กรอบแนวคิดการวิจัย
พื้นที่ 20% เป็นระเบียบวิธีวิจัย และจริยธรรมวิจัย
พื้นที่ 10% เป็นข้อเสนอแนะและรายการอ้างอิง
วิธีการทา Article map
ศึกษาพื้นที่ในการเขียนต้นฉบับ กาหนดหัวข้อตามอย่างเคร่งครัดตามวารสารกาหนด
แบ่งพื้นที่ออกเป็นร้อยละตามที่กาหนด ใช้กระดาษร่างโครงร่างตามจานวนหน้า
วารสาร
ร่างเนื้อหาสาคัญของแต่ละส่วนตามพื้นที่ที่กาหนด
การเขียนความเป็นมาและความสาคัญของปัญหา
ในแต่ละย่อหน้าเริ่มด้วยแนวคิดหลัก หรือข้อมูลสาคัญแล้วค่อยอธิบายรายละเอียด
ลงมือเขียนเนื้อหาใช้สไตล์การเขียนที่เป็นธรรมชาติ ใช้ภาษาอย่างถูกต้อง
เมื่อเขียนเสร็จให้ทบทวนบทความหรือให้บุคคลอื่นทบทวน
แก้ไขเพิ่มเติมบทความให้สมบูรณ์
แนวทางการเขียนบทความวิจัย (Research Article)
 ชื่อเรื่อง (Title)
กระชับชัดเจน แสดงให้เห็นตัวแปรและถูกต้องตามรูปแบบการวิจัย
 ข้อมูลของผู้วิจัย
นาเสนอตามแบบฟอร์มของวารสาร ครอบคลุมชื่อ ตาแหน่ง สถานที่ปฏิบัติงาน
 บทคัดย่อ (Abstract)
เสนอสารระสาคัญ กระชับความยาวไม่เกิน 250 คา ประกอบด้วยวัตถุประสงค์
สรุปวิธีการวิจัย สรุปผลการวิจัยตามวัตถุประสงค์ และข้อเสนอแนะที่สาคัญ
 คาสาคัญ (Keywords)
คาที่จะใช้สืบค้นหรือข้อความสาคัญของการวิจัย 3-5 คา
 ความเป็นมาและความสาคัญของปัญหา (Background)
ร้อยเรียงเนื้อหาอย่างเชื่อมโยง อธิบายถึงสภาพปัญหาและความสาคัญของตัวแปร
ที่ศึกษา อ้างอิงแนวคิดทฤษฎีและวิจัยก่อนหน้านี้ พร้อมทั้งเสนอเหตุผลหรือแนวทางที่
คาดคะเนว่าจะสามารถแก้ไขปัญหาได้ อาจจะชี้จุดเด่นของงานวิจัยเพื่อชวนให้ติดตาม
(ตอบคาถามว่า ทาไมถึงทาวิจัยเรื่องนี้)
 วัตถุประสงค์การวิจัย (Research Objectives)
ระบุข้อความที่ต้องการผลลัพธ์จากการวิจัยเรื่องนี้ สอดคล้องกับชื่อวิจัยและความ
เป็นมาของปัญหา (ตอบคาถามว่า จะศึกษาตัวแปรใด กับใคร อย่างไร)
 สมมติฐานการวิจัย (Research hypothesis)
เขียนให้เห็นถึงผลการคาดคะเนคาตอบของการวิจัย สอดคล้องกับคาถามและ
วัตถุประสงค์การวิจัย และสามารถพิสูจน์ได้จากการทดสอบสมมติฐาน
แนวทางการเขียนบทความวิจัย (Research Article)
 กรอบแนวคิดในการวิจัย (Conceptual Framework)
ระบุความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรที่ศึกษาอย่างมีเหตุผล โดยอ้างอิงมาจากการ
ทบทวนวรรณกรรมอย่างครอบคลุม อาจจะเขียนในรูปแผนผัง หรือบรรยายหรือเขียน
ทั้งสองรูปแบบ
 ระเบียบวิธีวิจัย (Research Methodology)
เป็นส่วนที่จะอธิบายให้ผู้อ่านเชื่อมั่นได้ว่าผลการวิจัยมีความถูกต้องน่าเชื่อถือ
หรือไม่ เพียงใด จึงจาเป็นต้องอธิบายให้ครอบคลุม ประเด็นต่อไปนี้
กลุ่มตัวอย่างที่มีจานวนและวิธีได้มาที่น่าเชื่อถือ
เครื่องมือการวิจัยที่สามารถวัดตัวแปรได้และมีการตรวจสอบคุณภาพตามเกณฑ์
วิธีดาเนินการวิจัยและเก็บข้อมูลที่น่าเชื่อถือและวิธีการพิทักษ์สิทธิกลุ่มตัวอย่าง
วิธีการวิเคราะห์ข้อมูลที่ถูกต้อง ตอบคาถามการวิจัยตามวัตถุประสงค์ระบุไว้
แนวทางการเขียนบทความวิจัย (Research Article)
 ข้อค้นพบทางการวิจัย หรือผลการวิเคราะห์ข้อมูล (Results)
นาเสนอผลการวิจัยให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์การวิจัย และสมมติฐานที่
กาหนดไว้ อาจนาเสนอตาราง กราฟ หรือแผนภาพประกอบในประเด็นที่สาคัญ ทั้งนี้
จะต้องแปลผลการวิจัยให้ถูกต้อง
 อภิปราย (Discussion)
นาเสนอหลักคิดทฤษฎีที่อธิบายเพื่อสนับสนุนข้อค้นพบของการวิจัย อธิบายความ
ความสอดคล้องหรือโต้แย้งกับผลการวิจัยก่อนหน้านี้ หลีกเลี่ยงการอธิบายโดยใช้ความ
คิดเห็นส่วนตัว การอภิปรายผลจะสะท้อนสมรรถนะด้านการคิดเชิงวิพากษ์ของผู้วิจัย
 ข้อเสนอแนะ (Recommendation)
นาข้อค้นพบจากการวิจัยมาเสนอเป็นรูปธรรมว่า ใครควรจะนาผลการวิจัยส่วนใด
ไปปฏิบัติอย่างไร รวมถึงเสนอแนวทางในการวิจัยครั้งต่อไปเพื่อขยายขอบเขตความรู้
แนวทางการเขียนบทความวิจัย (Research Article)
บรรณานุกรม หรือเอกสารอ้างอิง
ถึงแม้ในวารสารจะระบุว่าให้เขียนบรรณานุกรมแต่ ในทางปฏิบัติเป็นการเขียน
เอกสารอ้างอิง โดยทุกรายการที่อ้างอิงไว้ในเนื้อหาจะต้องปรากฏในบรรณานุกรม
รายการอ้างอิงควรน่าเชื่อถือ ทันสมัย และมาจากแหล่งข้อมูลโดยตรง
การอ้างอิงจะสะท้อนถึงจริยธรรมของผู้วิจัย และจะชี้ให้เห็นถึงความน่าเชื่อถือ
ของวิจัย รูปแบบของการอ้างอิงให้เป็นไปตามที่แต่ละวารสารกาหนด
กิตติกรรมประกาศ
บางวารสาระกาหนดสารระส่วนนี้ไว้ เป็นการขอบคุณผู้มีส่วนทาให้วิจัยสาเร็จ
ควรระบุเฉพาะบุคคลหรือหน่วยงานหลัก เช่น แหล่งทุน ผู้บริหาร หน่วยงาน หรือ
บุคคลสาคัญที่ผลักดันให้วิจัยสาเร็จ
แนวทางการเขียนบทความวิจัย (Research Article)
เทคนิคการเขียนบทความ
▪ หนึ่งหน้าควรมีประมาณ 2 หรือ 3 ย่อหน้า
▪ ในแต่ละย่อหน้าควรมีอ้างอิง ปรากฎประมาณ 2 – 4 แห่ง
▪ การอ้างอิงไม่ควรซ้าในหน้าเดียวกัน
▪ อ้างอิงต้องทันสมัย
▪ วางแนวทางว่าจะนาเสนอจุดเด่น เช่นใช้ตาราง กราฟ แผนผัง (Diagram)
▪ หากต้องอ่านตาราง หรือดูกราฟต้องใส่ใจมากๆในการคิด แล้ววิเคราะห์ แยกแยะ
▪ ควรเชื่อมโยงจากประเด็นหนึ่ง ไปอีกประเด็นหนึ่งให้สอดคล้องกัน ไม่ควรข้าม หรือ วนไปวนมา
▪ เน้นผลการวิจัยที่เด่นที่สุด ในตัวบทวิเคราะห์ เพราะเป็นจุดดึงดูดความสนใจ
4.ไม่ละเมิดจริยธรรม
การวิจัย
ประเด็นละเมิดจริยธรรม
• การคัดลอกงานวิชาการของตนเอง (Self-plagiarism)
• การแอบอ้างความคิดของผู้อื่น ( Plagiarism)
• การสร้างข้อมูลเท็จ ( Fabrication)
• การบิดเบือนข้อมูล ( Falsification)
• การละเมิดสิทธิความเป็นผู้นิพนธ์ ( Authorship)
..Ghost author , Gift author
การคัดลอกผลงานทางวิชาการ (Academic plagiarism)
“การคัดลอกผลงานทางวิชาการ (Academic plagiarism)”
เกิดขึ้นเมื่อผู้เขียนรายงานวิจัย งาน วิทยานิพนธ์ ลอกคาจาก
ต้นฉบับมากกว่า 4 คาโดยปราศจากการใช้เครื่องหมาย
อัญประกาศ“ ” หรือ เครื่องหมายคาพูดตรงข้อความที่คัดลอก
ทาให้เสมือนว่าเป็นผลงานของของตนเอง
การถอดความ (Paraphrasing) หรือการเขียนใหม่ที่
แตกต่างจากเดิมแต่มีความหมายเช่นเดิมโดยไม่มีการอ้างอิง
การคัดลอกงานวิชาการของตนเอง (self-plagiarism)
การนาผลงานบางส่วนในผลงานครั้งก่อนของตนเองมาใช้ซ้าให้ดูเสมือนกับเป็นงาน
เขียนใหม่ ซึ่งอาจเป็นงานเขียนของตนเอง หรืองานเขียนที่ร่วมกับผู้อื่น โดยไม่ระบุว่าเป็นงาน
เขียนที่ปรากฏในที่อื่นมาแล้ว
1. การตีพิมพ์ซ้า (redundant publication) คือ การนาผลงานที่ได้รับการตีพิมพ์แล้วมา
เพิ่มเติมหรือแก้ไขเพียงเล็กน้อย นามาตีพิมพ์ซ้าให้ดูเสมือนกับเป็น “งานเขียนใหม่”
2. การตีพิมพ์ซ้อน (duplicate publication) คือ การนาผลงานของตนเองที่ได้รับการ
ตีพิมพ์แล้วมาแก้ไขเพียงเล็กน้อย ส่งไปขอรับการตีพิมพ์ตั้งแต่ 2 แหล่งขึ้นไปพร้อมกัน ให้ดู
เสมือนว่าเป็น “งานหลายชิ้น”
3. การแบ่งซอยงานออกเป็นส่วนๆ (salami publication) คือ การนาผลงานของตนเอง
ที่ได้รับการตีพิมพ์แล้วมาแบ่งซอยย่อยเป็น “งานเขียนใหม่” หลายชิ้น แล้วส่งไปตีพิมพ์ให้ดู
เสมือนว่าเป็น “งานหลายชิ้น”
ตัวอย่างของการกระทาผิดจริยธรรมการวิจัย
1. การเลียนแบบการวิจัย โดยเปลี่ยนสถานที่เก็บข้อมูลหรือกลุ่มตัวอย่าง
2. การนาข้อมูลมาเสนอในรายงานวิจัยโดยไม่ได้อ้างอิงแหล่งข้อมูล
3. การขอทุนวิจัยซ้าซ้อน โดยไม่ได้แจ้งให้แหล่งทุนทราบ
4. การไม่ทุ่มเทความรู้ ความสามารถให้กับการทาวิจัยอย่างเต็มที่
หรือจ้างวานบุคคลอื่นทา แล้วใส่ชื่อตนเอง
5. การเบี่ยงเบนผลการวิจัยโดยหวังจะให้ผลการวิจัย ตอบรับสมมุติฐาน
หรือหวังประโยชน์ส่วนตน
6. การนาผลงานวิจัยไปลงพิมพ์ในวารสารหลายฉบับ โดยสาระสาคัญ
เหมือนกัน หรือแตกต่างกันเพียงเล็กน้อย
แนวทางการหลีกเลี่ยงคัดลอกผลงานวิชาการ
• กรณีเป็นผลงานตนเองเนื้อหาที่นาไปเผยแพร่ซ้าต้องไม่เกิน 10% ของ
เนื้อหาเดิม
• ศึกษาค้นคว้าให้เข้าใจอย่างถ่องแท้ และพยายามทวนความ
(paraphrase) หรือ ย่อความ (summarize) ด้วยวาจา ลีลา ของตนเองใน
การเล่าองค์ความรู้
• หากจาเป็นต้องนาข้อความมาวิเคราะห์ วิพากษ์ วิจารณ์ เปรียบเทียบ
ในงานเขียน ควรใส่แหล่งอ้างอิงอย่างชัดเจน
• ตรวจสอบความซ้าซ้อนก่อนนาผลงานไปเผยแพร่
• นาเสนอผลงานในการประชุมวิชาการที่จัดทารายงานเฉพาะบทคัดย่อ
โปรแกรมตรวจสอบคัดลอกผลงานวิชาการ
https://www.grammarly.com/plagiarism-
checker
https://www.plagium.com/?gclid
https://plagiarismcheckerx.com/download/
5. การเลือกวารสารใน
การตีพิมพ์
ทาไมต้องตีพิมพ์
 ตัวชี้วัดและเกณฑ์มาตรฐานคุณภาพการศึกษา
 การประเมินผลการปฏิบัติงานเพื่อเลื่อนขั้นเงินเดือน
การขอตาแหน่งทางวิชาการ และประเมินเข้าสู่
ตาแหน่งประเภทวิชาชีพเฉพาะ
เผยแพร่ความรู้เพื่อนาไปสู่การพัฒนาในวงกว้าง
ความเสี่ยงในการเลือกวารสาร
ผู้เขียนไม่สามารถส่งต้นฉบับเดียวกันพร้อมกันได้หลายวารสาร
การเสียเวลากับกระบวนการพิจารณาต้นฉบับเมื่อถูกปฏิเสธ ทาให้การ
หาวารสารใหม่ล่าช้า
แต่ละวารสารมีระดับความยากง่ายไม่เท่ากัน และกระบวนการใช้เวลา
ต่างกันไป ผู้เขียนจาเป็นต้องประเมินผลงานตนเองก่อนตัดสินใจส่ง
บทความ
การสารวจและศึกษาวารสารวิชาการที่คาดว่าจะส่งต้นฉบับเพื่อตีพิมพ์มี
ความสาคัญและจาเป็น
วิธีการเลือกวารสาร
▪กาหนดคาสาคัญของวิจัย จากชื่อวิจัย
▪ค้นหาวารสารที่มีคุณสมบัติครบทั้งสองประการ
1. ขอบเขตเนื้อหาตรงกับกลุ่มเรื่องที่เราชานาญ (วิจัยของเรา)
2. ระเบียบวิธีวิจัยตรงกับที่เราชานาญ (วิจัยของเรา)
▪ถ้ามีวารสารเข้าเกณฑ์มากกว่าหนึ่งรายการให้เลือกที่มี Impact factor
สูง ค่าใช้จ่ายในการเข้าถึงไม่แพง เผยแพร่ในวงกว้าง ระยะเวลาการ
ตีพิมพ์ จานวนบทความต่อฉบับ รวมถึงระยะเวลาการเปลี่ยนผ่าน
ของวารสาร
ฐานข้อมูลดัชนีอ้างอิงวารสาร
ฐานข้อมูลดัชนีอ้างอิงวารสาร (indexing database) ที่ได้รับการยอมรับนับถือใน
ประเทศไทยมี 4 ฐานข้อมูล ได้แก่
 ฐานข้อมูลดัชนีอ้างอิงวารสารไทย (Thai-Journal Citation Index – TCI) แบ่งเป็น 3
ระดับ ได้แก่ TCI กลุ่มที่ 1 2 และ 3
 ฐานข้อมูลดัชนีอ้างอิงวารสารอาเซียน (ASEAN Citation Index – ACI) ศูนย์ TCI
ดาเนินการคัดเลือกวารสารที่ มีคุณสมบัติเข้า ACI
 ฐานข้อมูลดัชนีอ้างอิงวารสาร Scopus มีการจัดทาค่าดัชนีผลกระทบการอ้างอิง
(impact factor) เรียกว่า SCImago Journal Rank (SJR indicator)
 ฐานข้อมูลดัชนีอ้างอิงวารสาร Web of Science (ในไทยมักเรียกว่า ISI) มีการ
จัดทาค่าดัชนีผลกระทบการอ้างอิง (impact factor) เรียกว่า Journal Citation
Reports (JCR)
ฐานข้อมูลดัชนีอ้างอิงวารสารไทย (Thai-Journal Citation Index – TCI)
http://www.kmutt.ac.th/jif/public_html/index.html
ฐานข้อมูลดัชนีอ้างอิงวารสารอาเซียน (ASEAN Citation Index : ACI)
http://www.asean-cites.org/index.php?r=home
ฐานข้อมูลดัชนีอ้างอิงวารสาร Scopus
https://www.scopus.com/sources
impact factor: SCImago Journal Rank (SJR indicator)
https://www.scimagojr.com/journalrank.php
ฐานข้อมูลดัชนีอ้างอิงวารสารWeb of Science
http://mjl.clarivate.com/
impact factor: Journal Citation Reports (JCR)
http://mjl.clarivate.com/#journal_lists
Beall’s List of Predatory Publishers & Journals
วารสารสุ่มเสี่ยง
วารสารสุ่มเสี่ยง/ วารสารที่มีแนวโน้มจะหลอกลวงให้นักวิจัยส่งผลงานไป
ตีพิมพ์ แล้วเรียกเก็บเงินเพื่อผ่านขั้นตอนการตีพิมพ์ ไม่ได้ดาเนินงาน
เพื่อประโยชน์ทางวิชาการ Peer Review ไม่ได้มาตรฐาน
ส่วนใหญ่เป็นวารสาร Open Access (OA)
เจ้าของวารสารไม่ใช่สมาคมวิชาการ สมาคมวิชาชีพ หรือ
สถาบันการศึกษา
บริหารจัดการโดยบริษัทเอกชน หรือองค์กรซึ่งไม่เป็นที่รู้จัก
การประชุมวิชาการมิจฉาชีพ (ธุรกิจจัดการประชุมวิชาการ)
การตีพิมพ์ในกลุ่ม
Beall’s List of Predatory Publishers & Journals
ผลงานชิ้นนั้นไม่เป็นที่ยอมรับในวงการวิชาการ
นาไปใช้ประโยชน์ในการพิจารณาทุนวิจัย หรือพิจารณารางวัล
ไม่ได้
ไม่สามารถนาไปขอตาแหน่งทางวิชาการได้
ไม่สามารถนาไปใช้เป็นหลักฐานขอจบการศึกษาของนักศึกษา
ระดับบัณฑิตศึกษา
ไม่สามารถนาไปใช้รับรองคุณภาพสถาบันได้
Beall’s List of Predatory Publishers & Journals
https://beallslist.weebly.com/standalone-journals.html
Beall’s List of Predatory Publishers & Journals
https://beallslist.weebly.com/standalone-journals.html
การตอบโต้ข้อคิดเห็นของผู้อ่านนิรนาม
▪ตอบโต้เป็นรายข้อตามที่แต่ละคนให้ความเห็น ต้องแยกตอบทีละคน
คนละแผ่น หากแก้ตามที่แนะนา ต้องเขียนว่าแก้เป็นอย่างไร ปรากฏ
อยู่ในหน้าใดในต้นฉบับที่ส่งมาใหม่
▪ไม่จาเป็นต้องแก้ตามเสมอไป แต่เราต้องมีเหตุผล หรือ มีอ้างอิงที่
สามารถยืนยันได้ อาจยอม หรือ ไม่ยอมก็ได้ขึ้นอยู่กับความรู้แจ้งของ
เรา สิ่งสาคัญคือเหตุผล
▪สื่อสารไปยังผู้อ่านนิรนามโดยผ่านบรรณาธิการวารสารที่เป็นคนกลาง
ลักษณะตารางที่นิยมใช้เพื่อตอบผู้อ่านนิรนาม
ประเด็นที่ เนื้อหาประเด็น หน้าเดิม หน้า
ใหม่
แก้เป็น
1)......................
2).......................
3).......................
…………………
…………………
…………………
…………………
…………………
…………………
…………………
…………………
…………………
20
15
5
22
17
8
…………………
…………………
……………........
…………………
…………………
…………………
…………………
…………………
สรุป : บทความวิชาการที่มีคุณภาพ
หยิบประเด็นที่เฉียบคมของวิจัย หรือข้อค้นพบใหม่มานาเสนอ
มีแนวคิดหรือประเด็นที่ชัดเจน สมบูรณ์ และทันสมัย
นาเสนอข้อมูลเป็นลาดับขั้นตอน เชื่อมโยง น่าติดตาม
มีการแสดงความคิดและทัศนะของผู้เขียนอย่างเหมาะสม
มีการอ้างอิงที่น่าเชื่อถือ และทันสมัย
ผลงานวิจัยมีคุณภาพ พิจารณาจากระเบียบวิธีวิจัย ผ่านการรับรอง
จริยธรรมวิจัยในมนุษย์
อ่านบทความวิจัยและ
บทความวิชาการที่กาหนด
1) วิเคราะห์องค์ประกอบ
และจุดอ่อน/จุดแข็งของ
บทความวิจัย
2) เสนอแนวทางการ
พัฒนาบทความวิจัยให้
สมบูรณ์
BUZZ GROUP
ขอบคุณค่ะ
E-mail : inchaithep@gmail.com
Id line : 29112547

More Related Content

What's hot

บทที่ 5 สรุปผล
บทที่ 5 สรุปผลบทที่ 5 สรุปผล
บทที่ 5 สรุปผลGuntima NaLove
 
6. ใบความรู้
6. ใบความรู้6. ใบความรู้
6. ใบความรู้kopkaewkoki2014
 
กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ป.1 ป.3
กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ป.1 ป.3กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ป.1 ป.3
กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ป.1 ป.3ทศพล พรหมภักดี
 
ใบงานที่ 4 เรื่อง การสืบค้นข้อมูล(search engine)
ใบงานที่ 4   เรื่อง การสืบค้นข้อมูล(search engine)ใบงานที่ 4   เรื่อง การสืบค้นข้อมูล(search engine)
ใบงานที่ 4 เรื่อง การสืบค้นข้อมูล(search engine)Pongpan Pairojana
 
การสร้างกรอบแนวคิด
การสร้างกรอบแนวคิดการสร้างกรอบแนวคิด
การสร้างกรอบแนวคิดPrachyanun Nilsook
 
วิทยาการคำนวณ ม.5 - บทที่ 1 ข้อมูลมีคุณค่า
วิทยาการคำนวณ ม.5 - บทที่ 1 ข้อมูลมีคุณค่าวิทยาการคำนวณ ม.5 - บทที่ 1 ข้อมูลมีคุณค่า
วิทยาการคำนวณ ม.5 - บทที่ 1 ข้อมูลมีคุณค่าCoco Tan
 
ทักษะการอ่าน
ทักษะการอ่านทักษะการอ่าน
ทักษะการอ่าน0872191189
 
การบริการอาหารและเครื่องดื่ม
การบริการอาหารและเครื่องดื่มการบริการอาหารและเครื่องดื่ม
การบริการอาหารและเครื่องดื่มMai Nuntanuch
 
กรอบแนวคิดในการวิจัย
กรอบแนวคิดในการวิจัยกรอบแนวคิดในการวิจัย
กรอบแนวคิดในการวิจัยNU
 
ตัวอย่างโครงการสอน
ตัวอย่างโครงการสอนตัวอย่างโครงการสอน
ตัวอย่างโครงการสอนKrupol Phato
 
การกำหนดจุดมุ่งหมายและเนื้อหาของหลักสูตร
การกำหนดจุดมุ่งหมายและเนื้อหาของหลักสูตรการกำหนดจุดมุ่งหมายและเนื้อหาของหลักสูตร
การกำหนดจุดมุ่งหมายและเนื้อหาของหลักสูตรkhanidthakpt
 
คู่มือการเขียนรายงาน การอ้างอิง การประกวดโครงงานวิทยาศาสตร์ สมาคมวิทยาศาสตร์ ...
คู่มือการเขียนรายงาน การอ้างอิง การประกวดโครงงานวิทยาศาสตร์ สมาคมวิทยาศาสตร์ ...คู่มือการเขียนรายงาน การอ้างอิง การประกวดโครงงานวิทยาศาสตร์ สมาคมวิทยาศาสตร์ ...
คู่มือการเขียนรายงาน การอ้างอิง การประกวดโครงงานวิทยาศาสตร์ สมาคมวิทยาศาสตร์ ...Totsaporn Inthanin
 
Unit4 ความขัดแย้งและความร่วมมือในคริสต์ศตวรรษที่ 20
Unit4 ความขัดแย้งและความร่วมมือในคริสต์ศตวรรษที่ 20Unit4 ความขัดแย้งและความร่วมมือในคริสต์ศตวรรษที่ 20
Unit4 ความขัดแย้งและความร่วมมือในคริสต์ศตวรรษที่ 20Princess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
ตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บท
ตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บทตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บท
ตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บทDr.Krisada [Hua] RMUTT
 

What's hot (20)

8 การเขียนเชิงวิชาการ(238 262)
8 การเขียนเชิงวิชาการ(238 262)8 การเขียนเชิงวิชาการ(238 262)
8 การเขียนเชิงวิชาการ(238 262)
 
บทที่ 5 สรุปผล
บทที่ 5 สรุปผลบทที่ 5 สรุปผล
บทที่ 5 สรุปผล
 
6. ใบความรู้
6. ใบความรู้6. ใบความรู้
6. ใบความรู้
 
เฉลยแบบทดสอบปลายภาค ม.5
เฉลยแบบทดสอบปลายภาค ม.5เฉลยแบบทดสอบปลายภาค ม.5
เฉลยแบบทดสอบปลายภาค ม.5
 
กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ป.1 ป.3
กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ป.1 ป.3กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ป.1 ป.3
กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ป.1 ป.3
 
ใบงานที่ 4 เรื่อง การสืบค้นข้อมูล(search engine)
ใบงานที่ 4   เรื่อง การสืบค้นข้อมูล(search engine)ใบงานที่ 4   เรื่อง การสืบค้นข้อมูล(search engine)
ใบงานที่ 4 เรื่อง การสืบค้นข้อมูล(search engine)
 
M6 143 60_8
M6 143 60_8M6 143 60_8
M6 143 60_8
 
ความสำคัญของพระมหากษัตริย์ต่อชาติไทย
ความสำคัญของพระมหากษัตริย์ต่อชาติไทยความสำคัญของพระมหากษัตริย์ต่อชาติไทย
ความสำคัญของพระมหากษัตริย์ต่อชาติไทย
 
การสร้างกรอบแนวคิด
การสร้างกรอบแนวคิดการสร้างกรอบแนวคิด
การสร้างกรอบแนวคิด
 
วิทยาการคำนวณ ม.5 - บทที่ 1 ข้อมูลมีคุณค่า
วิทยาการคำนวณ ม.5 - บทที่ 1 ข้อมูลมีคุณค่าวิทยาการคำนวณ ม.5 - บทที่ 1 ข้อมูลมีคุณค่า
วิทยาการคำนวณ ม.5 - บทที่ 1 ข้อมูลมีคุณค่า
 
ทักษะการอ่าน
ทักษะการอ่านทักษะการอ่าน
ทักษะการอ่าน
 
การบริการอาหารและเครื่องดื่ม
การบริการอาหารและเครื่องดื่มการบริการอาหารและเครื่องดื่ม
การบริการอาหารและเครื่องดื่ม
 
ละครไทย
ละครไทยละครไทย
ละครไทย
 
กรอบแนวคิดในการวิจัย
กรอบแนวคิดในการวิจัยกรอบแนวคิดในการวิจัย
กรอบแนวคิดในการวิจัย
 
ตัวอย่างโครงการสอน
ตัวอย่างโครงการสอนตัวอย่างโครงการสอน
ตัวอย่างโครงการสอน
 
การกำหนดจุดมุ่งหมายและเนื้อหาของหลักสูตร
การกำหนดจุดมุ่งหมายและเนื้อหาของหลักสูตรการกำหนดจุดมุ่งหมายและเนื้อหาของหลักสูตร
การกำหนดจุดมุ่งหมายและเนื้อหาของหลักสูตร
 
คู่มือการเขียนรายงาน การอ้างอิง การประกวดโครงงานวิทยาศาสตร์ สมาคมวิทยาศาสตร์ ...
คู่มือการเขียนรายงาน การอ้างอิง การประกวดโครงงานวิทยาศาสตร์ สมาคมวิทยาศาสตร์ ...คู่มือการเขียนรายงาน การอ้างอิง การประกวดโครงงานวิทยาศาสตร์ สมาคมวิทยาศาสตร์ ...
คู่มือการเขียนรายงาน การอ้างอิง การประกวดโครงงานวิทยาศาสตร์ สมาคมวิทยาศาสตร์ ...
 
๔. สำนวน สุภาษิต คำพังเพย[1]
๔. สำนวน สุภาษิต คำพังเพย[1]๔. สำนวน สุภาษิต คำพังเพย[1]
๔. สำนวน สุภาษิต คำพังเพย[1]
 
Unit4 ความขัดแย้งและความร่วมมือในคริสต์ศตวรรษที่ 20
Unit4 ความขัดแย้งและความร่วมมือในคริสต์ศตวรรษที่ 20Unit4 ความขัดแย้งและความร่วมมือในคริสต์ศตวรรษที่ 20
Unit4 ความขัดแย้งและความร่วมมือในคริสต์ศตวรรษที่ 20
 
ตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บท
ตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บทตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บท
ตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บท
 

Similar to Academic article

Km การตีพิมพ์บทความวิจัย cs mju 05 01-58 v2
Km การตีพิมพ์บทความวิจัย cs mju 05 01-58 v2Km การตีพิมพ์บทความวิจัย cs mju 05 01-58 v2
Km การตีพิมพ์บทความวิจัย cs mju 05 01-58 v2Phaspra Pramokchon
 
Ppt1ความเรียงขั้นสูง
Ppt1ความเรียงขั้นสูงPpt1ความเรียงขั้นสูง
Ppt1ความเรียงขั้นสูงAttaporn Saranoppakun
 
แนวการเขียนรายงายเชิงวิจัย
แนวการเขียนรายงายเชิงวิจัยแนวการเขียนรายงายเชิงวิจัย
แนวการเขียนรายงายเชิงวิจัยwitthaya601
 
การเขียนโครงร่าง
การเขียนโครงร่างการเขียนโครงร่าง
การเขียนโครงร่างอรุณศรี
 
การเขียนบทความวิจัยระดับชาติและนานาชาติ #2
การเขียนบทความวิจัยระดับชาติและนานาชาติ #2การเขียนบทความวิจัยระดับชาติและนานาชาติ #2
การเขียนบทความวิจัยระดับชาติและนานาชาติ #2Prachyanun Nilsook
 
Research9 writing research_report
Research9 writing research_reportResearch9 writing research_report
Research9 writing research_reportSani Satjachaliao
 
การเขียนรายงานการวิจัย
การเขียนรายงานการวิจัยการเขียนรายงานการวิจัย
การเขียนรายงานการวิจัยnoinasang
 
การเขียนรายงานการวิจัย
การเขียนรายงานการวิจัยการเขียนรายงานการวิจัย
การเขียนรายงานการวิจัยnoinasang
 
แนวทางการตีพิมพ์บทความวิจัยระดับนานาชาติ
แนวทางการตีพิมพ์บทความวิจัยระดับนานาชาติ แนวทางการตีพิมพ์บทความวิจัยระดับนานาชาติ
แนวทางการตีพิมพ์บทความวิจัยระดับนานาชาติ Prachyanun Nilsook
 
การจัดทำรายงาน
การจัดทำรายงานการจัดทำรายงาน
การจัดทำรายงานChainarong Maharak
 
การเขียนบทความวิจัย
การเขียนบทความวิจัยการเขียนบทความวิจัย
การเขียนบทความวิจัยPrachyanun Nilsook
 
การเขียนบทความวิจัย
การเขียนบทความวิจัยการเขียนบทความวิจัย
การเขียนบทความวิจัยsanya111
 
การเขียนบทความวิจัย2
การเขียนบทความวิจัย2การเขียนบทความวิจัย2
การเขียนบทความวิจัย2Prachyanun Nilsook
 
การเขียนบทความวิจัย บุรีรัมย์ ๙ พค ๒๕๕๔
การเขียนบทความวิจัย บุรีรัมย์ ๙  พค ๒๕๕๔การเขียนบทความวิจัย บุรีรัมย์ ๙  พค ๒๕๕๔
การเขียนบทความวิจัย บุรีรัมย์ ๙ พค ๒๕๕๔บรรลุ ช่อชู
 

Similar to Academic article (20)

Km การตีพิมพ์บทความวิจัย cs mju 05 01-58 v2
Km การตีพิมพ์บทความวิจัย cs mju 05 01-58 v2Km การตีพิมพ์บทความวิจัย cs mju 05 01-58 v2
Km การตีพิมพ์บทความวิจัย cs mju 05 01-58 v2
 
Ppt1ความเรียงขั้นสูง
Ppt1ความเรียงขั้นสูงPpt1ความเรียงขั้นสูง
Ppt1ความเรียงขั้นสูง
 
01
0101
01
 
01
0101
01
 
การนำเสนองานวิจัย
การนำเสนองานวิจัยการนำเสนองานวิจัย
การนำเสนองานวิจัย
 
แนวการเขียนรายงายเชิงวิจัย
แนวการเขียนรายงายเชิงวิจัยแนวการเขียนรายงายเชิงวิจัย
แนวการเขียนรายงายเชิงวิจัย
 
วิจัย
วิจัย วิจัย
วิจัย
 
การเขียนโครงร่าง
การเขียนโครงร่างการเขียนโครงร่าง
การเขียนโครงร่าง
 
การเขียนบทความวิจัยระดับชาติและนานาชาติ #2
การเขียนบทความวิจัยระดับชาติและนานาชาติ #2การเขียนบทความวิจัยระดับชาติและนานาชาติ #2
การเขียนบทความวิจัยระดับชาติและนานาชาติ #2
 
Research9 writing research_report
Research9 writing research_reportResearch9 writing research_report
Research9 writing research_report
 
การเขียนรายงานการวิจัย
การเขียนรายงานการวิจัยการเขียนรายงานการวิจัย
การเขียนรายงานการวิจัย
 
การเขียนรายงานการวิจัย
การเขียนรายงานการวิจัยการเขียนรายงานการวิจัย
การเขียนรายงานการวิจัย
 
แนวทางการตีพิมพ์บทความวิจัยระดับนานาชาติ
แนวทางการตีพิมพ์บทความวิจัยระดับนานาชาติ แนวทางการตีพิมพ์บทความวิจัยระดับนานาชาติ
แนวทางการตีพิมพ์บทความวิจัยระดับนานาชาติ
 
Km1
Km1Km1
Km1
 
การจัดทำรายงาน
การจัดทำรายงานการจัดทำรายงาน
การจัดทำรายงาน
 
Citation Search
Citation SearchCitation Search
Citation Search
 
การเขียนบทความวิจัย
การเขียนบทความวิจัยการเขียนบทความวิจัย
การเขียนบทความวิจัย
 
การเขียนบทความวิจัย
การเขียนบทความวิจัยการเขียนบทความวิจัย
การเขียนบทความวิจัย
 
การเขียนบทความวิจัย2
การเขียนบทความวิจัย2การเขียนบทความวิจัย2
การเขียนบทความวิจัย2
 
การเขียนบทความวิจัย บุรีรัมย์ ๙ พค ๒๕๕๔
การเขียนบทความวิจัย บุรีรัมย์ ๙  พค ๒๕๕๔การเขียนบทความวิจัย บุรีรัมย์ ๙  พค ๒๕๕๔
การเขียนบทความวิจัย บุรีรัมย์ ๙ พค ๒๕๕๔
 

Academic article