SlideShare a Scribd company logo
1 of 20
Download to read offline
อ.ดร.พาสน์ ปราโมกข์ชน
สาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์
คณวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้
1/5/20151
Knowledge Management
เรื่อง บทความวิจัยทางวิทยาการคอมพิวเตอร์
เพื่อการตีพิมพ์ผลงาน
หัวข้อการเสวนา
1/5/20152
ลักษณะของบทความวิจัย
ความหมายของการเผยแพร่และลักษณะคุณภาพของ
บทความทางวิชาการ
ขั้นตอนการเขียนบทความวิจัยเพื่อตีพิมพ์
 (เพิ่ม)โครงสร้างของบทความ
เคล็ดลับการเขียนบทความวิจัย
Demonstrate an example
ข้อควรและไม่ควรในการเขียนบทความวิจัย
อ้างอิง
1/5/20153
 การนําเสนอบทความทางวิชาการเพื่อตีพิมพ์ในระดับนานาชาติ, ปองปรารถน์ สุนทร
เภสัช
 สรุปรายงานการจัดการความรู้ เรื่อง การเขียนบทความวิจัยเพื่อการตีพิมพ์ใน
วารสารวิชาการระดับนานาชาติ, คณะพานิชยศาสตร์และการบัญชี
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2555
 การเผยแพร่ผลงานวิชาการ, สกอ., website: http://www.mua.go.th
 การเขียนบทความวิจัยเพื่อการตีพิมพ์ในวารสารวิชาการที่มีคุณภาพ, ผศ.ดร.อิศรา
ก้านจักร, KKU
 Writing a (Computer Science) Paper, Jakob E. Bardram, 2007
 How to write a quality Technical Paper and Where to publish within IEEE,
Jalyn Kelley, 2014
 การเขียนบทความวิจัยเพื่อตีพิมพ์ในวารสารวิชาการ, ศาสตราจารย์ ดร.อมรา ประสิทธิ์
รัฐสินธุ์, 27 ธันวาคม 2552
 การเขียนบทความวิจัยเพื่อตีพิมพ์ในวารสาร, ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. จิตราภา กุณฑล
บุตร, พฤษภาคม 2554
บทความทางวิชาการ
1/5/20154
 งานเขียนทางวิชาการซึ่งมีการกําหนดประเด็นที่ต้องการ อธิบายหรือ
วิเคราะห์อย่างชัดเจน
 มีหลักวิชาการสามารถสรุปผลการวิเคราะห์ในประเด็นนั้นได้
 เป็นการนําความรู้จากแหล่งต่างๆ มาประมวล ร้อยเรียงเพื่อ
วิเคราะห์อย่างเป็นระบบโดยที่ผู้เขียนแสดงทัศนะทางวิชาการของ
ตนไว้อย่างชัดเจน
 มีความยาวไม่มากนัก มีบทสรุป มีการอ้างอิงและบรรณานุกรมที่
ครบถ้วนและสมบูรณ
Ref. การนําเสนอบทความทางวิชาการเพื่อตีพิมพ์ในระดับนานาชาติ, ปองปรารถน์ สุนทรเภสัช
ความหมายของการเผยแพร่และลักษณะของบทความทาง
วิชาการ
1/5/20155
1. เผยแพร่ในรูปของบทความทางวิชาการในวารสารทางวิชาการ (Journal)
อาจเผยแพร่เป็นรูปเล่มสิ่งพิมพ์หรือเป็นสื่ออิเล็กทรอนิกส์ที่มีกําหนดการ
เผยแพร่อย่างแน่นอนชัดเจน
2. เผยแพร่ในหนังสือประมวลผลการประชุมทางวิชาการ (Proceedings)
ของการประชุมทางวิชาการในระดับชาติหรือระดับนานาชาติ ที่มีการ
บรรณาธิการประเมินและตรวจสอบคุณภาพของบทความต่างๆ ที่นําเสนอ
นั้นแล้ว
3. เผยแพร่ในหนังสือรวมบทความในรูปแบบอื่นที่มีการบรรณาธิการประเมิน
และตรวจสอบคุณภาพของ (peer review) บทความต่าง ๆ ในหนังสือ
นั้นแล้ว
Ref: หลักเกณฑ์และวิธีการพิจารณาแต่งตั้งบุคคลให้ดํารงตําแหน่งวิชาการ
ตามเอกสารแนบท้ายประกาศ ก.พ.อ. ฯ
หน้าแทรก
“วารสารวิชาการระดับนานาชาติ”
1/5/20156
ต้องมี
 การตรวจคัดคุณภาพผลงานโดยผู้ประเมินอิสระ (Peer Review) ไม่ว่าวารสาร
นั้นจะอยู่ในฐานข้อมูลสากลหรือไม่ก็ตาม
ฐานข้อมูลสากลอันเป็นที่ยอมรับในระดับนานาชาติ อาทิเช่น
 ฐานข้อมูล ISI (Thomson Reuters)
 ฐานข้อมูล Scopus
 ฐานข้อมูล Science Direct
 ฐานข้อมูล PUBMED
 ฐานข้อมูล Ei Compendex
 ฐานข้อมูล INSPEC
 ฐานข้อมูลAGRICOLA (AGRICultural Online Access)
 ฐานข้อมูล ERIC (Education Database)
 ฯลฯ
หน้าแทรก
ประเภทของบทความ
1/5/20157
 Review paper
– a survey of a specific area, technology, methods, etc.
– you need to do this anyway
– can be published
 Analysis paper
– workplace study
– theoretical analysis
– technical analysis, comparison, or review
  Design paper
– a new technical design
– user interface techniques / UI design / Interaction Design
– software architecture
A Review Paper
1/5/20158
 สรุปงานวิจัยที่ผ่านมากในรูปที่เข้าใจภาพรวมได้ง่าย
ประเภทของบทความ (ต่อ)
1/5/20159
• Systems paper
– describe a system / piece of technology
– Proff-of-Concept
• Theoretical paper
– Proves some properties ...
• Evaluation paper
– Technical evaluation
– Usability evaluation
– Pilot study
• Methods paper
– a new method / methodology for ...
– new process
• Position Paper
– a statement / critical message
– normally not considered a contribution
หน้าแทรก
ค่า Impact factor
1/5/201510
 หมายถึง ดัชนีชี้วัดคุณภาพของวารสารซึ่งวัดจํานวนครั้งโดยเฉลี่ยที่บทความในวารสารนั้น
จะได้รับการอ้างอิงในแต่ละปี
 บทความวิจัยที่ตีพิมพ์แล้วในวารสารวิชาการระดับนานาชาติที่อยู่ในฐาน ข้อมูลสากล และมี
ค่า Impact factor หรือสื่ออิเล็คทรอนิกส์ที่มีคุณภาพเทียบเท่า ได้รับการให้การ
สนับสนุนจากมหาวิทยาลัยมากกว่าบทความวิจัยที่ตีพิมพ์แล้วในวารสารวิชาการระดับ
นานาชาติที่อยู่ในฐานข้อมูลสากล แต่ไม่มีค่า Impact factor หรือสื่ออิเล็คทรอนิกส์ที่มี
คุณภาพเทียบเท่า
 Note. ฐานข้อมูล ISI = วารสารจะมี Impact factor (หรือกําลังอยู่ในช่วงการ
คํานวน) แน่นอน
ขั้นตอนการเขียนบทความวิจัยเพื่อตีพิมพ์
1/5/201511
 ขั้นตอนที่ 1 การเลือกวารสาร
โดยพิจารณาเลือกวารสารที่มีขอบข่าย (Scope) และวัตถุประสงค์ที่ตรง กับบทความของเรา ซึ่งโดย
ปกติจะปรากฏอยู่ด้านหน้าและหลังวารสารแต่ละฉบับ หรืออาจตรวจสอบได้จากเว็บ ไซด์ของวารสาร
ฉบับดังกล่าว ส่วนคุณภาพของวารสารพิจารณาจากค่า Impact factor ซึ่งเป็นดัชนีชี้วัดคุณภาพ ของ
วารสาร โดยการเลือกวารสารจะขึ้นอยู่กับปัจจัยเฉพาะของแต่ละบุคคลด้วย หมายถึง นักวิจัยที่มีชื่อเสียง
อาจเลือกวารสารที่มี Impact factor สูง ๆ แต่หากเป็นนักวิจัยหน้าใหม่ หรือเริ่มเขียนบทความส่ง
วารสารระดับนานาชาติครั้งแรกอาจพิจารณาวารสารที่มีคุณภาพรองลงมา
ขั้นตอนการเขียนบทความวิจัยเพื่อตีพิมพ์
1/5/201512
 ขั้นตอนที่ 2 การเตรียมต้นฉบับ (Manuscript)
ส่วนประกอบบทความ
ส่วนบทความวิจัย (Research article) เป็นบทความเสนอผลงานวิจัย หรือผลงานที่ได้ศึกษาวิจัยในด้าน ทฤษฎีหรือ
จากการทดลอง และเป็นข้อสนเทศที่ผู้อ่านที่มีความชํานาญด้านเดียวกับผู้เขียนสามารถที่จะ ทําการศึกษา/ทดลองแล้ว
ได้ผลเช่นเดียวกัน (ไพโรจน์ ตีรณธนากุล, 2545: 142) บทความวิจัยมักมีส่วนประกอบ ดังนี้
1. ชื่อเรื่อง (Title) และผู้เขียนบทความ (Author)
2. บทคัดย่อ (Abstract) หรือสาระสังเขป (Summary)
3. บทนําหรือความนํา (Introduction) ความเป็นมา วัตถุประสงค์ ขอบเขต บทความและทฤษฎีที่
สัมพันธ์)
4. วัสดุอุปกรณ์ และวิธีดําเนินการ (Methodologies)
5. ผลและการวิเคราะห์ผล (Results andAnalysis) (ในรูปข้อความ ตาราง กราฟ
หรือรูปภาพ)
6. วิจารณ์ผล (Discussion)
7. สรุป (Conclusion) และข้อเสนอแนะ (ถ้ามี)
8. คําขอบคุณ (Acknowledgement) (ถ้ามี)
9. เอกสารอ้างอิง (References)
การนําเสนอบทความทางวิชาการเพื่อตีพิมพ์ในระดับนานาชาติ
(ปองปรารถน์ สุนทรเภสัช, หน้า 3-4)
ขั้นตอนการเขียนบทความวิจัยเพื่อตีพิมพ์
1/5/201513
 ขั้นตอนการเขียนบทความ
Step 1 เตรียมสิ่งแวดล้อมเพื่อการเขียนบทความวิจัย
Step 2 เลือกวารสารที่จะลงและศึกษารูปแบบบทความหรือข้อกําหนดต่างๆ
Step 3 ศึกษาบทความวิจัยในวารสารที่จะส่งตีพิมพ
Step 4 กําหนดหัวข้อ หรือ ชื่อบทความ
Step 5 เขียนบทคัดย่อ และคําส าคัญ
Step 6 เขียนบทนํา และ วัตถุประสงค์การวิจัย
Step 7 เขียนกรอบแนวคิดเชิงทฤษฎ
Step 8 เขียนวิธีด าเนินการวิจัยและเครื่องมือ
Step 9 เขียนผลการวิจัย
Step 10 เขียนอภิปรายผลการวิจัย
Step 11 เขียนกิตติกรรมประกาศ
Step 12 เขียนอ้างอิงให้ถูกต้อง
การเขียนบทความวิจัยเพื่อการตีพิมพ์ในวารสารวิชาการที่มีคุณภาพ.pdf (-ผศ.ดร.อิศรา ก้านจักร page 6-18)
Demonstrate an example
(Research methodology)
1/5/201514
กรณีที่เรามีประเด็นปัญหาวิจัยคร่าวๆ อยู่แล้ว
 Step 1 ค้นหาเปเปอร์ที่มีความเกี่ยวข้อง อ่าน วิเคราะห์ สังเคราะห์ความรู้
Learn the “Game”
• What is the “standard” paper in our area?
• Systems papers
– needs an implementation and some evaluation
– good: used by others
– better: used by others to build something
• Theoretical papers
– a proof of something
 Step 2 ออกแบบการวิจัย ดําเนินการวิจัย เก็บผล และ สรุปผล
 Step 3 เขียนบทความ เลือกวารสาร หรือ การประชุมวิชาการเพื่อส่งบทความ
เลือกวารสาร หรือ การประชุมวิชาการเพื่อส่งบทความ
1/5/201515
 Workshops
 Good for practice
 Good for networking
 Not archival,
 Limited peer-review
 Conferences
 BEWARE! Quality varies a lot
 ACM, IEEE Conferences (Springer)
 Archival
 Peer-reviewed
 Journals
 Look for top-rated journals (ACM, IEEE, Elsevier, ...)
 ดูฐานข้อมูลอื่นๆ ใน ref: การเผยแพร่ผลงานวิชาการ, สกอ., website: http://www.mua.go.th
 National publication
 ฐานข้อมูลของศูนย์ดัชนีการอ้างอิงวารสารไทย (Thai-Journal Citation Index :TCI)
เคล็ดลับการเขียนบทความวิจัย
1/5/201516
 ทําอย่างไรถึงได้ตีพิมพ์
- หัวข้อวิจัยน่าสนใจหรือไม่
- เราเป็นส่วนหนึ่งของเครือข่ายหรือไม่ -> เข้าร่วมประชุมวิชาการ หรือการติดต่อนักวิจัยท่านอื่น ๆ
- ติดตาม Call for Paper สําหรับการประชุมวิชาการ หรือวารสารฉบับพิเศษ
 การสร้างเครือข่ายนักวิจัย
- การเข้าร่วมการประชุมวิชาการอย่างสม่ําเสมอ
- การทํา workshop ในการประชุมวิชาการ
- การติดต่อกับนักวิจัยหรืออาจารย์จากต่างประเทศ
- เครือข่ายที่ได้จากการศึกษา ฝึกอบรม
- เข้าร่วมสมาคมทางวิชาชีพต่าง ๆ
- เป็นส่วนหนึ่งของคณะกรรมการที่เกี่ยวข้อง
สรุปรายงานการจัดการความรู้ เรื่องการเขียนบทความวิจัยเพื่อการตีพิมพ์ในวารสารวิชาการระดับนานาชาติ
คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ปี พ.ศ.2555
เคล็ดลับการเขียนบทความวิจัย
1/5/201517
 การทําให้บทความมีโอกาสที่จะได้รับการตีพิมพ์มากขึ้น
- ทําให้ง่ายในการทําความเข้าใจ โดยพยายามอธิบายประเด็นใดประเด็นหนึ่งใน
รายละเอียด
- แสดงแนวคิดในบทคัดย่อ บทนํา และเชื่อมโยงให้เห็นอีกครั้งในบทสรุป รวมทั้งตั้ง
ชื่อบทความให้เหมาะสม
- ทําตามรูปแบบหรือโครงร่างที่กําหนดไว้ในวารสารที่เราต้องการตีพิมพ์
- ในกรณีที่มีความคิดใหม่ ๆ เกิดขึ้นมากมายในระหว่างเขียนบทความ อาจจะเก็บไว้
สําหรับบทความลําดับถัดไป
สรุปรายงานการจัดการความรู้ เรื่องการเขียนบทความวิจัยเพื่อการตีพิมพ์ในวารสารวิชาการระดับนานาชาติ
คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ปี พ.ศ.2555
จริยธรรมที่เกี่ยวข้องกับงานวิจัย
1/5/201518
- ให้เครดิตกับผู้ร่วมวิจัยหรือผู้ที่เรานําเอาผลงานวิจัยมาอ้างอิงเสมอ
- ควรให้คําแนะนําแก่ผู้อื่นที่ขอความคิดเห็นเกี่ยวกับงานวิจัยจากเรา
- พยายามยอมรับการอ่านหรือประเมินบทความจากวารสารอื่น ๆ ที่ส่งมาขอความร่วมมือ
จากเรา
- ทํางานทุกอย่างให้ทันตามกําหนด
- อย่าคิดว่างานเราเป็นงานที่สําคัญกว่างานคนอื่น
- มองโลกในแง่ดีและเป็นมิตรกับผู้อื่น
- ในฐานะผู้ประเมินคุณภาพบทความ พยายามให้ข้อคิดเห็นที่เป็นประโยชน์และสร้างสรรค์
- พยายามอย่าให้ข้อคิดเห็นที่เป็นการดูถูกหรือดูหมิ่นความสามารถนักวิจัยผู้เขียนบทความ
- อย่าใช้ข้อมูลของบทความที่ท่านได้อ่าน มาเป็นงานวิจัยของท่าน
สรุปรายงานการจัดการความรู้ เรื่องการเขียนบทความวิจัยเพื่อการตีพิมพ์ในวารสารวิชาการระดับนานาชาติ
คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ปี พ.ศ.2555
ข้อควรและไม่ควรในการเขียนบทความวิจัย
1/5/201519
 Avoid plagiarism
 Check Beall’s list
END
Thank you
1/5/201520

More Related Content

What's hot

การเขียนรายงานการวิจัย
การเขียนรายงานการวิจัยการเขียนรายงานการวิจัย
การเขียนรายงานการวิจัยnoinasang
 
ตัวอย่างการทำslide
ตัวอย่างการทำslideตัวอย่างการทำslide
ตัวอย่างการทำsliderubtumproject.com
 
แนวการเขียนรายงายเชิงวิจัย
แนวการเขียนรายงายเชิงวิจัยแนวการเขียนรายงายเชิงวิจัย
แนวการเขียนรายงายเชิงวิจัยwitthaya601
 
โครงงานคอม ใบท 6
โครงงานคอม ใบท  6โครงงานคอม ใบท  6
โครงงานคอม ใบท 6StampPamika
 
การนำเสนอผลการวิจัย
การนำเสนอผลการวิจัยการนำเสนอผลการวิจัย
การนำเสนอผลการวิจัยNU
 
Cแนะแนว
CแนะแนวCแนะแนว
Cแนะแนวyutict
 
คู่มือการเขียนรายงาน การอ้างอิง การประกวดโครงงานวิทยาศาสตร์ สมาคมวิทยาศาสตร์ ...
คู่มือการเขียนรายงาน การอ้างอิง การประกวดโครงงานวิทยาศาสตร์ สมาคมวิทยาศาสตร์ ...คู่มือการเขียนรายงาน การอ้างอิง การประกวดโครงงานวิทยาศาสตร์ สมาคมวิทยาศาสตร์ ...
คู่มือการเขียนรายงาน การอ้างอิง การประกวดโครงงานวิทยาศาสตร์ สมาคมวิทยาศาสตร์ ...Totsaporn Inthanin
 
กรอบแนวคิดการวิจัยกับตัวแปร
กรอบแนวคิดการวิจัยกับตัวแปรกรอบแนวคิดการวิจัยกับตัวแปร
กรอบแนวคิดการวิจัยกับตัวแปรPrachyanun Nilsook
 
หลักการและแนวทางในการกำหนดหัวข้อวิทยานิพนธ์#1
หลักการและแนวทางในการกำหนดหัวข้อวิทยานิพนธ์#1หลักการและแนวทางในการกำหนดหัวข้อวิทยานิพนธ์#1
หลักการและแนวทางในการกำหนดหัวข้อวิทยานิพนธ์#1Prachyanun Nilsook
 
การวิจัยเชิงสำรวจ
การวิจัยเชิงสำรวจการวิจัยเชิงสำรวจ
การวิจัยเชิงสำรวจkhuwawa2513
 
การสร้างกรอบแนวคิดและการกำหนดตัวแปร#1
การสร้างกรอบแนวคิดและการกำหนดตัวแปร#1การสร้างกรอบแนวคิดและการกำหนดตัวแปร#1
การสร้างกรอบแนวคิดและการกำหนดตัวแปร#1Prachyanun Nilsook
 
โครงงานที่6
โครงงานที่6โครงงานที่6
โครงงานที่6nay220
 
การทำผลงานทางวิชาการ เกณฑ์และการขอกำหนดตำแหน่งทางวิชาการ
การทำผลงานทางวิชาการ  เกณฑ์และการขอกำหนดตำแหน่งทางวิชาการการทำผลงานทางวิชาการ  เกณฑ์และการขอกำหนดตำแหน่งทางวิชาการ
การทำผลงานทางวิชาการ เกณฑ์และการขอกำหนดตำแหน่งทางวิชาการPrachyanun Nilsook
 
การสร้างกรอบแนวคิด
การสร้างกรอบแนวคิดการสร้างกรอบแนวคิด
การสร้างกรอบแนวคิดPrachyanun Nilsook
 

What's hot (20)

การเขียนรายงานการวิจัย
การเขียนรายงานการวิจัยการเขียนรายงานการวิจัย
การเขียนรายงานการวิจัย
 
ตัวอย่างการทำslide
ตัวอย่างการทำslideตัวอย่างการทำslide
ตัวอย่างการทำslide
 
แนวการเขียนรายงายเชิงวิจัย
แนวการเขียนรายงายเชิงวิจัยแนวการเขียนรายงายเชิงวิจัย
แนวการเขียนรายงายเชิงวิจัย
 
เทคนิคและการทบทวนวรรณกรรมและการพัฒนากรอบแนวคิดงานวิจัย (ผศ.ดร.กชพร นำมาผล)
เทคนิคและการทบทวนวรรณกรรมและการพัฒนากรอบแนวคิดงานวิจัย (ผศ.ดร.กชพร นำมาผล)เทคนิคและการทบทวนวรรณกรรมและการพัฒนากรอบแนวคิดงานวิจัย (ผศ.ดร.กชพร นำมาผล)
เทคนิคและการทบทวนวรรณกรรมและการพัฒนากรอบแนวคิดงานวิจัย (ผศ.ดร.กชพร นำมาผล)
 
โครงงานคอม ใบท 6
โครงงานคอม ใบท  6โครงงานคอม ใบท  6
โครงงานคอม ใบท 6
 
Review literature in nursing
Review literature in nursingReview literature in nursing
Review literature in nursing
 
Chapter2 literaturereview
Chapter2 literaturereviewChapter2 literaturereview
Chapter2 literaturereview
 
การนำเสนองานวิจัย
การนำเสนองานวิจัยการนำเสนองานวิจัย
การนำเสนองานวิจัย
 
การนำเสนอผลการวิจัย
การนำเสนอผลการวิจัยการนำเสนอผลการวิจัย
การนำเสนอผลการวิจัย
 
Cแนะแนว
CแนะแนวCแนะแนว
Cแนะแนว
 
คู่มือการเขียนรายงาน การอ้างอิง การประกวดโครงงานวิทยาศาสตร์ สมาคมวิทยาศาสตร์ ...
คู่มือการเขียนรายงาน การอ้างอิง การประกวดโครงงานวิทยาศาสตร์ สมาคมวิทยาศาสตร์ ...คู่มือการเขียนรายงาน การอ้างอิง การประกวดโครงงานวิทยาศาสตร์ สมาคมวิทยาศาสตร์ ...
คู่มือการเขียนรายงาน การอ้างอิง การประกวดโครงงานวิทยาศาสตร์ สมาคมวิทยาศาสตร์ ...
 
กรอบแนวคิดการวิจัยกับตัวแปร
กรอบแนวคิดการวิจัยกับตัวแปรกรอบแนวคิดการวิจัยกับตัวแปร
กรอบแนวคิดการวิจัยกับตัวแปร
 
หลักการและแนวทางในการกำหนดหัวข้อวิทยานิพนธ์#1
หลักการและแนวทางในการกำหนดหัวข้อวิทยานิพนธ์#1หลักการและแนวทางในการกำหนดหัวข้อวิทยานิพนธ์#1
หลักการและแนวทางในการกำหนดหัวข้อวิทยานิพนธ์#1
 
Km1
Km1Km1
Km1
 
Research1
Research1Research1
Research1
 
การวิจัยเชิงสำรวจ
การวิจัยเชิงสำรวจการวิจัยเชิงสำรวจ
การวิจัยเชิงสำรวจ
 
การสร้างกรอบแนวคิดและการกำหนดตัวแปร#1
การสร้างกรอบแนวคิดและการกำหนดตัวแปร#1การสร้างกรอบแนวคิดและการกำหนดตัวแปร#1
การสร้างกรอบแนวคิดและการกำหนดตัวแปร#1
 
โครงงานที่6
โครงงานที่6โครงงานที่6
โครงงานที่6
 
การทำผลงานทางวิชาการ เกณฑ์และการขอกำหนดตำแหน่งทางวิชาการ
การทำผลงานทางวิชาการ  เกณฑ์และการขอกำหนดตำแหน่งทางวิชาการการทำผลงานทางวิชาการ  เกณฑ์และการขอกำหนดตำแหน่งทางวิชาการ
การทำผลงานทางวิชาการ เกณฑ์และการขอกำหนดตำแหน่งทางวิชาการ
 
การสร้างกรอบแนวคิด
การสร้างกรอบแนวคิดการสร้างกรอบแนวคิด
การสร้างกรอบแนวคิด
 

Similar to Km การตีพิมพ์บทความวิจัย cs mju 05 01-58 v2

แนวทางการตีพิมพ์บทความวิจัยระดับนานาชาติ
แนวทางการตีพิมพ์บทความวิจัยระดับนานาชาติ แนวทางการตีพิมพ์บทความวิจัยระดับนานาชาติ
แนวทางการตีพิมพ์บทความวิจัยระดับนานาชาติ Prachyanun Nilsook
 
การเขียนโครงร่าง
การเขียนโครงร่างการเขียนโครงร่าง
การเขียนโครงร่างอรุณศรี
 
การเขียนบทความวิจัยระดับชาติและนานาชาติ #2
การเขียนบทความวิจัยระดับชาติและนานาชาติ #2การเขียนบทความวิจัยระดับชาติและนานาชาติ #2
การเขียนบทความวิจัยระดับชาติและนานาชาติ #2Prachyanun Nilsook
 
Slide บรรยายโครงการสัมมนา block course
Slide บรรยายโครงการสัมมนา block courseSlide บรรยายโครงการสัมมนา block course
Slide บรรยายโครงการสัมมนา block coursexcmmagic
 
การวิจัยแบบง่ายสู่ครูนักวิจัย
การวิจัยแบบง่ายสู่ครูนักวิจัยการวิจัยแบบง่ายสู่ครูนักวิจัย
การวิจัยแบบง่ายสู่ครูนักวิจัยsudaphud
 
การเรียนรู้แบบวิจัยเป็นฐาน
การเรียนรู้แบบวิจัยเป็นฐานการเรียนรู้แบบวิจัยเป็นฐาน
การเรียนรู้แบบวิจัยเป็นฐานPrachyanun Nilsook
 
วิธีการเขียนวิจัยในชั้นเรียน
วิธีการเขียนวิจัยในชั้นเรียนวิธีการเขียนวิจัยในชั้นเรียน
วิธีการเขียนวิจัยในชั้นเรียนAj Ob Panlop
 
การวิจัยในชั้นเรียน
การวิจัยในชั้นเรียนการวิจัยในชั้นเรียน
การวิจัยในชั้นเรียนsalinkarn sampim
 
การเขียนบทความวิจัยระดับนานาชาติ#1
การเขียนบทความวิจัยระดับนานาชาติ#1การเขียนบทความวิจัยระดับนานาชาติ#1
การเขียนบทความวิจัยระดับนานาชาติ#1Prachyanun Nilsook
 
การเขียนบทความวิจัย2
การเขียนบทความวิจัย2การเขียนบทความวิจัย2
การเขียนบทความวิจัย2Prachyanun Nilsook
 
การทำโครงงาน 5 ขั้น
การทำโครงงาน 5 ขั้นการทำโครงงาน 5 ขั้น
การทำโครงงาน 5 ขั้นPongtong Kannacham
 
นำเสนอการทำวิจัยวิทยฐานะใหม่
นำเสนอการทำวิจัยวิทยฐานะใหม่นำเสนอการทำวิจัยวิทยฐานะใหม่
นำเสนอการทำวิจัยวิทยฐานะใหม่Nitwadee Puiamtanatip
 
Strategies for reading journal articles 1
Strategies for reading journal articles 1Strategies for reading journal articles 1
Strategies for reading journal articles 1Sunee Suvanpasu
 
บทสรุป การวิจัย ภาพรวมทั้งหมด
บทสรุป การวิจัย ภาพรวมทั้งหมดบทสรุป การวิจัย ภาพรวมทั้งหมด
บทสรุป การวิจัย ภาพรวมทั้งหมดChowwalit Chookhampaeng
 
Computer project
Computer project Computer project
Computer project PondPoPZa
 

Similar to Km การตีพิมพ์บทความวิจัย cs mju 05 01-58 v2 (20)

แนวทางการตีพิมพ์บทความวิจัยระดับนานาชาติ
แนวทางการตีพิมพ์บทความวิจัยระดับนานาชาติ แนวทางการตีพิมพ์บทความวิจัยระดับนานาชาติ
แนวทางการตีพิมพ์บทความวิจัยระดับนานาชาติ
 
การเขียนโครงร่าง
การเขียนโครงร่างการเขียนโครงร่าง
การเขียนโครงร่าง
 
การเขียนบทความวิจัยระดับชาติและนานาชาติ #2
การเขียนบทความวิจัยระดับชาติและนานาชาติ #2การเขียนบทความวิจัยระดับชาติและนานาชาติ #2
การเขียนบทความวิจัยระดับชาติและนานาชาติ #2
 
โครงงานภาษาไทย
โครงงานภาษาไทยโครงงานภาษาไทย
โครงงานภาษาไทย
 
Slide บรรยายโครงการสัมมนา block course
Slide บรรยายโครงการสัมมนา block courseSlide บรรยายโครงการสัมมนา block course
Slide บรรยายโครงการสัมมนา block course
 
การวิจัยแบบง่ายสู่ครูนักวิจัย
การวิจัยแบบง่ายสู่ครูนักวิจัยการวิจัยแบบง่ายสู่ครูนักวิจัย
การวิจัยแบบง่ายสู่ครูนักวิจัย
 
การเรียนรู้แบบวิจัยเป็นฐาน
การเรียนรู้แบบวิจัยเป็นฐานการเรียนรู้แบบวิจัยเป็นฐาน
การเรียนรู้แบบวิจัยเป็นฐาน
 
Km1
Km1Km1
Km1
 
วิธีการเขียนวิจัยในชั้นเรียน
วิธีการเขียนวิจัยในชั้นเรียนวิธีการเขียนวิจัยในชั้นเรียน
วิธีการเขียนวิจัยในชั้นเรียน
 
2222
22222222
2222
 
การวิจัยในชั้นเรียน
การวิจัยในชั้นเรียนการวิจัยในชั้นเรียน
การวิจัยในชั้นเรียน
 
การเขียนบทความวิจัยระดับนานาชาติ#1
การเขียนบทความวิจัยระดับนานาชาติ#1การเขียนบทความวิจัยระดับนานาชาติ#1
การเขียนบทความวิจัยระดับนานาชาติ#1
 
โครงงานคอม ใบท 6
โครงงานคอม ใบท  6โครงงานคอม ใบท  6
โครงงานคอม ใบท 6
 
การเขียนบทความวิจัย2
การเขียนบทความวิจัย2การเขียนบทความวิจัย2
การเขียนบทความวิจัย2
 
การทำโครงงาน 5 ขั้น
การทำโครงงาน 5 ขั้นการทำโครงงาน 5 ขั้น
การทำโครงงาน 5 ขั้น
 
วิจัย
วิจัย วิจัย
วิจัย
 
นำเสนอการทำวิจัยวิทยฐานะใหม่
นำเสนอการทำวิจัยวิทยฐานะใหม่นำเสนอการทำวิจัยวิทยฐานะใหม่
นำเสนอการทำวิจัยวิทยฐานะใหม่
 
Strategies for reading journal articles 1
Strategies for reading journal articles 1Strategies for reading journal articles 1
Strategies for reading journal articles 1
 
บทสรุป การวิจัย ภาพรวมทั้งหมด
บทสรุป การวิจัย ภาพรวมทั้งหมดบทสรุป การวิจัย ภาพรวมทั้งหมด
บทสรุป การวิจัย ภาพรวมทั้งหมด
 
Computer project
Computer project Computer project
Computer project
 

Km การตีพิมพ์บทความวิจัย cs mju 05 01-58 v2

  • 1. อ.ดร.พาสน์ ปราโมกข์ชน สาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ 1/5/20151 Knowledge Management เรื่อง บทความวิจัยทางวิทยาการคอมพิวเตอร์ เพื่อการตีพิมพ์ผลงาน
  • 3. อ้างอิง 1/5/20153  การนําเสนอบทความทางวิชาการเพื่อตีพิมพ์ในระดับนานาชาติ, ปองปรารถน์ สุนทร เภสัช  สรุปรายงานการจัดการความรู้ เรื่อง การเขียนบทความวิจัยเพื่อการตีพิมพ์ใน วารสารวิชาการระดับนานาชาติ, คณะพานิชยศาสตร์และการบัญชี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2555  การเผยแพร่ผลงานวิชาการ, สกอ., website: http://www.mua.go.th  การเขียนบทความวิจัยเพื่อการตีพิมพ์ในวารสารวิชาการที่มีคุณภาพ, ผศ.ดร.อิศรา ก้านจักร, KKU  Writing a (Computer Science) Paper, Jakob E. Bardram, 2007  How to write a quality Technical Paper and Where to publish within IEEE, Jalyn Kelley, 2014  การเขียนบทความวิจัยเพื่อตีพิมพ์ในวารสารวิชาการ, ศาสตราจารย์ ดร.อมรา ประสิทธิ์ รัฐสินธุ์, 27 ธันวาคม 2552  การเขียนบทความวิจัยเพื่อตีพิมพ์ในวารสาร, ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. จิตราภา กุณฑล บุตร, พฤษภาคม 2554
  • 4. บทความทางวิชาการ 1/5/20154  งานเขียนทางวิชาการซึ่งมีการกําหนดประเด็นที่ต้องการ อธิบายหรือ วิเคราะห์อย่างชัดเจน  มีหลักวิชาการสามารถสรุปผลการวิเคราะห์ในประเด็นนั้นได้  เป็นการนําความรู้จากแหล่งต่างๆ มาประมวล ร้อยเรียงเพื่อ วิเคราะห์อย่างเป็นระบบโดยที่ผู้เขียนแสดงทัศนะทางวิชาการของ ตนไว้อย่างชัดเจน  มีความยาวไม่มากนัก มีบทสรุป มีการอ้างอิงและบรรณานุกรมที่ ครบถ้วนและสมบูรณ Ref. การนําเสนอบทความทางวิชาการเพื่อตีพิมพ์ในระดับนานาชาติ, ปองปรารถน์ สุนทรเภสัช
  • 5. ความหมายของการเผยแพร่และลักษณะของบทความทาง วิชาการ 1/5/20155 1. เผยแพร่ในรูปของบทความทางวิชาการในวารสารทางวิชาการ (Journal) อาจเผยแพร่เป็นรูปเล่มสิ่งพิมพ์หรือเป็นสื่ออิเล็กทรอนิกส์ที่มีกําหนดการ เผยแพร่อย่างแน่นอนชัดเจน 2. เผยแพร่ในหนังสือประมวลผลการประชุมทางวิชาการ (Proceedings) ของการประชุมทางวิชาการในระดับชาติหรือระดับนานาชาติ ที่มีการ บรรณาธิการประเมินและตรวจสอบคุณภาพของบทความต่างๆ ที่นําเสนอ นั้นแล้ว 3. เผยแพร่ในหนังสือรวมบทความในรูปแบบอื่นที่มีการบรรณาธิการประเมิน และตรวจสอบคุณภาพของ (peer review) บทความต่าง ๆ ในหนังสือ นั้นแล้ว Ref: หลักเกณฑ์และวิธีการพิจารณาแต่งตั้งบุคคลให้ดํารงตําแหน่งวิชาการ ตามเอกสารแนบท้ายประกาศ ก.พ.อ. ฯ
  • 6. หน้าแทรก “วารสารวิชาการระดับนานาชาติ” 1/5/20156 ต้องมี  การตรวจคัดคุณภาพผลงานโดยผู้ประเมินอิสระ (Peer Review) ไม่ว่าวารสาร นั้นจะอยู่ในฐานข้อมูลสากลหรือไม่ก็ตาม ฐานข้อมูลสากลอันเป็นที่ยอมรับในระดับนานาชาติ อาทิเช่น  ฐานข้อมูล ISI (Thomson Reuters)  ฐานข้อมูล Scopus  ฐานข้อมูล Science Direct  ฐานข้อมูล PUBMED  ฐานข้อมูล Ei Compendex  ฐานข้อมูล INSPEC  ฐานข้อมูลAGRICOLA (AGRICultural Online Access)  ฐานข้อมูล ERIC (Education Database)  ฯลฯ
  • 7. หน้าแทรก ประเภทของบทความ 1/5/20157  Review paper – a survey of a specific area, technology, methods, etc. – you need to do this anyway – can be published  Analysis paper – workplace study – theoretical analysis – technical analysis, comparison, or review   Design paper – a new technical design – user interface techniques / UI design / Interaction Design – software architecture
  • 8. A Review Paper 1/5/20158  สรุปงานวิจัยที่ผ่านมากในรูปที่เข้าใจภาพรวมได้ง่าย
  • 9. ประเภทของบทความ (ต่อ) 1/5/20159 • Systems paper – describe a system / piece of technology – Proff-of-Concept • Theoretical paper – Proves some properties ... • Evaluation paper – Technical evaluation – Usability evaluation – Pilot study • Methods paper – a new method / methodology for ... – new process • Position Paper – a statement / critical message – normally not considered a contribution
  • 10. หน้าแทรก ค่า Impact factor 1/5/201510  หมายถึง ดัชนีชี้วัดคุณภาพของวารสารซึ่งวัดจํานวนครั้งโดยเฉลี่ยที่บทความในวารสารนั้น จะได้รับการอ้างอิงในแต่ละปี  บทความวิจัยที่ตีพิมพ์แล้วในวารสารวิชาการระดับนานาชาติที่อยู่ในฐาน ข้อมูลสากล และมี ค่า Impact factor หรือสื่ออิเล็คทรอนิกส์ที่มีคุณภาพเทียบเท่า ได้รับการให้การ สนับสนุนจากมหาวิทยาลัยมากกว่าบทความวิจัยที่ตีพิมพ์แล้วในวารสารวิชาการระดับ นานาชาติที่อยู่ในฐานข้อมูลสากล แต่ไม่มีค่า Impact factor หรือสื่ออิเล็คทรอนิกส์ที่มี คุณภาพเทียบเท่า  Note. ฐานข้อมูล ISI = วารสารจะมี Impact factor (หรือกําลังอยู่ในช่วงการ คํานวน) แน่นอน
  • 11. ขั้นตอนการเขียนบทความวิจัยเพื่อตีพิมพ์ 1/5/201511  ขั้นตอนที่ 1 การเลือกวารสาร โดยพิจารณาเลือกวารสารที่มีขอบข่าย (Scope) และวัตถุประสงค์ที่ตรง กับบทความของเรา ซึ่งโดย ปกติจะปรากฏอยู่ด้านหน้าและหลังวารสารแต่ละฉบับ หรืออาจตรวจสอบได้จากเว็บ ไซด์ของวารสาร ฉบับดังกล่าว ส่วนคุณภาพของวารสารพิจารณาจากค่า Impact factor ซึ่งเป็นดัชนีชี้วัดคุณภาพ ของ วารสาร โดยการเลือกวารสารจะขึ้นอยู่กับปัจจัยเฉพาะของแต่ละบุคคลด้วย หมายถึง นักวิจัยที่มีชื่อเสียง อาจเลือกวารสารที่มี Impact factor สูง ๆ แต่หากเป็นนักวิจัยหน้าใหม่ หรือเริ่มเขียนบทความส่ง วารสารระดับนานาชาติครั้งแรกอาจพิจารณาวารสารที่มีคุณภาพรองลงมา
  • 12. ขั้นตอนการเขียนบทความวิจัยเพื่อตีพิมพ์ 1/5/201512  ขั้นตอนที่ 2 การเตรียมต้นฉบับ (Manuscript) ส่วนประกอบบทความ ส่วนบทความวิจัย (Research article) เป็นบทความเสนอผลงานวิจัย หรือผลงานที่ได้ศึกษาวิจัยในด้าน ทฤษฎีหรือ จากการทดลอง และเป็นข้อสนเทศที่ผู้อ่านที่มีความชํานาญด้านเดียวกับผู้เขียนสามารถที่จะ ทําการศึกษา/ทดลองแล้ว ได้ผลเช่นเดียวกัน (ไพโรจน์ ตีรณธนากุล, 2545: 142) บทความวิจัยมักมีส่วนประกอบ ดังนี้ 1. ชื่อเรื่อง (Title) และผู้เขียนบทความ (Author) 2. บทคัดย่อ (Abstract) หรือสาระสังเขป (Summary) 3. บทนําหรือความนํา (Introduction) ความเป็นมา วัตถุประสงค์ ขอบเขต บทความและทฤษฎีที่ สัมพันธ์) 4. วัสดุอุปกรณ์ และวิธีดําเนินการ (Methodologies) 5. ผลและการวิเคราะห์ผล (Results andAnalysis) (ในรูปข้อความ ตาราง กราฟ หรือรูปภาพ) 6. วิจารณ์ผล (Discussion) 7. สรุป (Conclusion) และข้อเสนอแนะ (ถ้ามี) 8. คําขอบคุณ (Acknowledgement) (ถ้ามี) 9. เอกสารอ้างอิง (References) การนําเสนอบทความทางวิชาการเพื่อตีพิมพ์ในระดับนานาชาติ (ปองปรารถน์ สุนทรเภสัช, หน้า 3-4)
  • 13. ขั้นตอนการเขียนบทความวิจัยเพื่อตีพิมพ์ 1/5/201513  ขั้นตอนการเขียนบทความ Step 1 เตรียมสิ่งแวดล้อมเพื่อการเขียนบทความวิจัย Step 2 เลือกวารสารที่จะลงและศึกษารูปแบบบทความหรือข้อกําหนดต่างๆ Step 3 ศึกษาบทความวิจัยในวารสารที่จะส่งตีพิมพ Step 4 กําหนดหัวข้อ หรือ ชื่อบทความ Step 5 เขียนบทคัดย่อ และคําส าคัญ Step 6 เขียนบทนํา และ วัตถุประสงค์การวิจัย Step 7 เขียนกรอบแนวคิดเชิงทฤษฎ Step 8 เขียนวิธีด าเนินการวิจัยและเครื่องมือ Step 9 เขียนผลการวิจัย Step 10 เขียนอภิปรายผลการวิจัย Step 11 เขียนกิตติกรรมประกาศ Step 12 เขียนอ้างอิงให้ถูกต้อง การเขียนบทความวิจัยเพื่อการตีพิมพ์ในวารสารวิชาการที่มีคุณภาพ.pdf (-ผศ.ดร.อิศรา ก้านจักร page 6-18)
  • 14. Demonstrate an example (Research methodology) 1/5/201514 กรณีที่เรามีประเด็นปัญหาวิจัยคร่าวๆ อยู่แล้ว  Step 1 ค้นหาเปเปอร์ที่มีความเกี่ยวข้อง อ่าน วิเคราะห์ สังเคราะห์ความรู้ Learn the “Game” • What is the “standard” paper in our area? • Systems papers – needs an implementation and some evaluation – good: used by others – better: used by others to build something • Theoretical papers – a proof of something  Step 2 ออกแบบการวิจัย ดําเนินการวิจัย เก็บผล และ สรุปผล  Step 3 เขียนบทความ เลือกวารสาร หรือ การประชุมวิชาการเพื่อส่งบทความ
  • 15. เลือกวารสาร หรือ การประชุมวิชาการเพื่อส่งบทความ 1/5/201515  Workshops  Good for practice  Good for networking  Not archival,  Limited peer-review  Conferences  BEWARE! Quality varies a lot  ACM, IEEE Conferences (Springer)  Archival  Peer-reviewed  Journals  Look for top-rated journals (ACM, IEEE, Elsevier, ...)  ดูฐานข้อมูลอื่นๆ ใน ref: การเผยแพร่ผลงานวิชาการ, สกอ., website: http://www.mua.go.th  National publication  ฐานข้อมูลของศูนย์ดัชนีการอ้างอิงวารสารไทย (Thai-Journal Citation Index :TCI)
  • 16. เคล็ดลับการเขียนบทความวิจัย 1/5/201516  ทําอย่างไรถึงได้ตีพิมพ์ - หัวข้อวิจัยน่าสนใจหรือไม่ - เราเป็นส่วนหนึ่งของเครือข่ายหรือไม่ -> เข้าร่วมประชุมวิชาการ หรือการติดต่อนักวิจัยท่านอื่น ๆ - ติดตาม Call for Paper สําหรับการประชุมวิชาการ หรือวารสารฉบับพิเศษ  การสร้างเครือข่ายนักวิจัย - การเข้าร่วมการประชุมวิชาการอย่างสม่ําเสมอ - การทํา workshop ในการประชุมวิชาการ - การติดต่อกับนักวิจัยหรืออาจารย์จากต่างประเทศ - เครือข่ายที่ได้จากการศึกษา ฝึกอบรม - เข้าร่วมสมาคมทางวิชาชีพต่าง ๆ - เป็นส่วนหนึ่งของคณะกรรมการที่เกี่ยวข้อง สรุปรายงานการจัดการความรู้ เรื่องการเขียนบทความวิจัยเพื่อการตีพิมพ์ในวารสารวิชาการระดับนานาชาติ คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ปี พ.ศ.2555
  • 17. เคล็ดลับการเขียนบทความวิจัย 1/5/201517  การทําให้บทความมีโอกาสที่จะได้รับการตีพิมพ์มากขึ้น - ทําให้ง่ายในการทําความเข้าใจ โดยพยายามอธิบายประเด็นใดประเด็นหนึ่งใน รายละเอียด - แสดงแนวคิดในบทคัดย่อ บทนํา และเชื่อมโยงให้เห็นอีกครั้งในบทสรุป รวมทั้งตั้ง ชื่อบทความให้เหมาะสม - ทําตามรูปแบบหรือโครงร่างที่กําหนดไว้ในวารสารที่เราต้องการตีพิมพ์ - ในกรณีที่มีความคิดใหม่ ๆ เกิดขึ้นมากมายในระหว่างเขียนบทความ อาจจะเก็บไว้ สําหรับบทความลําดับถัดไป สรุปรายงานการจัดการความรู้ เรื่องการเขียนบทความวิจัยเพื่อการตีพิมพ์ในวารสารวิชาการระดับนานาชาติ คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ปี พ.ศ.2555
  • 18. จริยธรรมที่เกี่ยวข้องกับงานวิจัย 1/5/201518 - ให้เครดิตกับผู้ร่วมวิจัยหรือผู้ที่เรานําเอาผลงานวิจัยมาอ้างอิงเสมอ - ควรให้คําแนะนําแก่ผู้อื่นที่ขอความคิดเห็นเกี่ยวกับงานวิจัยจากเรา - พยายามยอมรับการอ่านหรือประเมินบทความจากวารสารอื่น ๆ ที่ส่งมาขอความร่วมมือ จากเรา - ทํางานทุกอย่างให้ทันตามกําหนด - อย่าคิดว่างานเราเป็นงานที่สําคัญกว่างานคนอื่น - มองโลกในแง่ดีและเป็นมิตรกับผู้อื่น - ในฐานะผู้ประเมินคุณภาพบทความ พยายามให้ข้อคิดเห็นที่เป็นประโยชน์และสร้างสรรค์ - พยายามอย่าให้ข้อคิดเห็นที่เป็นการดูถูกหรือดูหมิ่นความสามารถนักวิจัยผู้เขียนบทความ - อย่าใช้ข้อมูลของบทความที่ท่านได้อ่าน มาเป็นงานวิจัยของท่าน สรุปรายงานการจัดการความรู้ เรื่องการเขียนบทความวิจัยเพื่อการตีพิมพ์ในวารสารวิชาการระดับนานาชาติ คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ปี พ.ศ.2555