SlideShare a Scribd company logo
1 of 41
Download to read offline
Terry Anderson
Athabasca University




                         เสนอ
                            1

             ผูชวยศาสตราจารย ดร.สุภาณี เส็งศรี
                                                 นางสาว วณิชชา แมนยํา
                            นิสิตปริญญาเอก สาขาเทคโนโลยีและเสื่อสารการศึกษา
การกระจายตัวของการใชงานและการประยุกตใช
 ระบบเครือขายเทคโนโลยี อยางมีนัยสําคัญ ทั้ง
 ดานสวนบุคคล, เชิงพาณิชย และ ดานสังคม.
โปรแกรมประยุกตเหลานี้ ยังไมไดรับการออกแบบ
 สําหรับเพื่อใชในการศึกษา


                                                 2
บรรณาธิการสํานักพิมพ Tim O’Rielly (2005) เปนผูที่ให
  ความหมายแรก อธิบายความหมายของ Web 2.0 วา
   o เปนแพลตฟอรมสําหรับโฮสตของเชิงพาณิชย, ความบันเทิง,
     และประยุกตในการเรียนรู.
   o ความสามารถโดยรวมในการควบคุม
     (ยกตัวอยาง คือ Wikipedia)
   o การใชงานขอมูลรวมกันโดยโปรแกรมประยุกตตางๆ
     (เชน, การใช Google maps รวมกับโปรแกรมประยุกตอื่นๆ),
                                                              3
เปนโปรแกรมที่ไมไดพัฒนาใหมีรูปแบบที่สมบูรณ
 เต็มที่แตก็ถูกปลอยออกมาใหทดลองใชอยาง
 รวดเร็ว
โดยรูปแบบโปรแกรมเปนโปรแกรมขนาดเล็ก ซึ่ง
 พัฒนาตอมาจากประสบการณของผูใชที่
 หลากหลาย

                                                  4
คํานิยามของ Web 2.0 มุงเนนไปที่หนาที่ของการทํางาน
  ในลักษณะชวยแนะนําการแกปญหาสําหรับการคิด
  เกี่ยวกับเว็บและเครือขายในแบบทั่วไป.




                                                        5
Hoegg, Meckel, Stanoevska-Slabeva, & Martignoni
 (2006) โตแยงวา Web 2.0 ไมใชเทคโนโลยี แตเปน
 ปรัชญา “วัตถุประสงคของบริการ Web 2.0 คือ การ
 รวมกันของกลุมขาวสารเพื่อใหเกิดประโยชนสูงสุดของ
 ผูใชงานรวมกัน”
Scholtz (2008) ไดแยงวา Web 2.0 เปนเพียงเหตุผลเชิง
 อุดมการณ (มากกวาการใชงานไดจริง) ในการทํางาน
 ขององคกร

                                                         6
การใชงานเว็บทั่วไป
 เก็บรายการของ “Bookmark” (ที่คั่นหนา) ไวในเว็บเบรา
   เซอรของตน.
 จัดรายการในสวนของขอมูลที่มาจากแหลงตางๆที่อยู
   บนอินเทอรเน็ต
 แตก็ไมมีขอมูลเชิงลึก, คําอธิบายประกอบ, หรือการ
   ประเมินผล จากรายการเหลานี้

                                                     7
Web 2.0 Aplications
คลายจะใหพื้นที่เพื่อสรางแหลงสะสมขอมูลของตนเอง,
แต เปนเพียงผูจัดเก็บและเพิ่มคําสําคัญ (Tags)
เพื่อระบุและเรียกขอมูลนั้นออกมาได,
โดยจะถูกรวมรายการไวรวมกับของผูอื่นๆที่สรางขึ้นมา
 ดวยเหมือนกัน
มูลคาของการประยุกตใชนี้จึงเพิ่มขึ้น เพราะขอมูลนั้น
 เปนการรวบรวมเพิ่มขึ้นจากผูอื่นดวย                     8
   เครื่องมือ Web 2.0 มีประสิทธิภาพมาก สําหรับ
    กลุมความรวมมือและการใชงานรวมกัน
   ผานทางการแสดงความคิดเห็น (Comment),
    การเพิ่มเติม, การแกไข, หรือ การลบ
    ของเนื้อหาที่ผิดพลาด
   อยูในรูปของขอความ, รูปแบบเสียง, วีดีโอ, กราฟก ฯลฯ


                                                       9
 ความสําเร็จของ Web 2.0 เปนทักษะและทัศนคติของผูเรียนที่ไดรับโดย
  การสรางและนําเสนอเนื้อหา
 เชน Wikipedia คือ ลักษณะของเว็บไซต์แบบหนึงทีอนุ ญาต ให้ผใช้ เพิมและ
                                                             ู้
  แก้ไขเนือหาได้โดยง่าย สามารถสร้างเนือหาบนเว็บได้โดยไม่จาเป็ นต้องมี
                                                          ํ
  ความรูในภาษา HTML โดยข้อมูลถูกเขียนร่วมกันผ่านเว็บเบราว์เซอร์
         ้
  ในแต่ละหน้าจะถูกเรียกว่า "หน้าวิก" และเนือหาภายในจะเชือมต่อกันผ่านทาง
                                     ิ
  ไฮเปอร์ลงก์ ซึงส่งผลให้ในแต่ละวิกสามารถทํางานผ่านระบบทีเรียบง่าย และ
           ิ                       ิ
  สามารถใช้เป็ นฐานข้อมูล สําหรับสืบค้น ดูแลรักษาทีง่าย
 เชน การเก็บทรัพยากรการศึกษาแบบเปด (open educational resource :
  OER) คือ แหล่งการเรียนรูดานการศึกษาทีผูใช้สามารถเข้าถึงโดยไม่มคาใช้จ่าย
                           ้ ้              ้                     ี่
  หรือ ค่าธรรมเนียมการใช้ ช่วยสนับสนุ นความเท่าเทียมในการเข้าถึง
                                                                        10
 เครื่องมือ Web 2.0 เปนการเปดการเรียนรู
  นอกเหนือไปจากการเรียนแตภายในหองเรียนเพียง
  อยางเดียว โดยมีการ อนุญาต, การนําเขา, ขอตกลง,
  การวิจารณ, และการแสดงความคิดเห็นโดยบุคคลอื่น
  นอกเหนือจากเพื่อนรวมชั้นเรียน
 เปดโอกาสใหการปอนขอมูลจากผูเชี่ยวชาญและจากคน
  อื่นๆ
 เปนการอภิปรายทางการศึกษาอยางเปนทางการ
                                                 11
 Web 2.0 as an Educational Platform-Pedagogical Implications

 ตัวอยางของ Web 2.0 ในการประยุกตใชงานในการศึกษา
  สังเกตวา สามารถจะ :
   o มีโอกาสใหมๆสําหรับผูเรียนในการควบคุมการเรียนรูและการ
     เขาถึงจัดการขอมูลของตนเอง, ทรัพยากร, เครื่องมือ และ บริการ
   o สงเสริมความสามารถในการแสดงออก
   o อํานวยความสะดวกในการทํางานรวมกัน, การสรางชุมชน, การ
     สนทนา และ การแบงปนองคความรู
   o เปนการกําหนดความสําเร็จของผูเรียนเพื่อดึงดูดความสนใจ
     (Crook & Harrison 2008, p. 11)                             12
เครื่องมือ Web 2.0 ชวยสรางแรงจูงใจและตองการ
 เทคนิคการสอนแบบใหม เพื่อเปนแนวทางในการทํางาน
 ที่มีประสิทธิภาพ.
หนังสือของ Jon Dron (2007) ชื่อวา “Control and
 Constraint in E-Learning”
ทฤษฎีที่สรางความสัมพันธของวิธีการเรียนรู



                                                   13
 ทฤษฎีของ Heutagogy [Theories of Heutagogy]
  (Hase & Kenyon, 2000) (การเรียนรูตลอดชีวิตในยุคของแหลง
  เรียนรูที่กวางใหญ)
 ศาสตรการสอนของความใกลชิด [the Pedagogy of Nearness ]
  (Mejías, 2007) (ผลของการเปลี่ยนแปลงระหวางการเรียนแบบ
  face-to-face และ การเรียนรูออนไลน),
 ทฤษฎีความซับซอนในการศึกษา [complexity theory in
  education]
  (Horn, 2008) (วิวัฒนาการ, ความไมแนนอน, และ การทํางานที่
  มีประสิทธิภาพ อยูใน "ชายขอบแหงความโกลาหล : the edge of
  chaos)
                                                          14
   สิ่งที่มีอิทธิพลมากที่สุดของศาสตรการสอนตาม
    ธรรมชาติแบบใหม คือ การพัฒนาไปเปน
    o ทฤษฎีการเรียนรูสําหรับยุคดิจิตอล (Connectivism) โดย
      George Siemens (2005)
    o และ พื้นฐานทาง ญาณวิทยา (Epistemological)
   มาจากทฤษฎีการเชื่อมตอองคความรูของ Stephen
    Downes (2007).
   Siemens ไดระบุหลักการที่เกี่ยวของกันไว 8 รายการ
                                                             15
 แนวคิดจากการวิเคราะหขอจํากัดจากทฤษฎีการเรียนรู 3 แบบ คือ
   o Behaviorism (ทฤษฎีการเรียนรูกลุมพฤติกรรมนิยม)
   o Cognitivism (ทฤษฎีการเรียนรูกลุมพุทธินิยม)
   o Constructivism (ทฤษฎีสรางความรูใหมโดยผูเรียนเอง)
 กลาวถึง ผลกระทบของเทคโนโลยีตอการดํารงชีวิต การ
  ติดตอสื่อสาร และการเรียนรู โดยสังเคราะหองคประกอบ
  โครงสรางและเทคโนโลยีของทฤษฎีการเรียนรู ดังกลาว
 สรางเปนการทฤษฎีการเรียนรูในยุคดิจิตอล ดวยกระบวนการสราง
  เครือขายจากการเชื่อมตอระหวาง Node มีการแลกเปลี่ยนและ
  แบงปนประสบการณ ขอมูล สารสนเทศ ความรู                 16
 เปนสาขาหนึ่งของปรัชญา
 ซึ่งเกี่ยวกับการสืบถามถึงกําเนิดของความรู
 โครงสรางของความรู
 วิธีการของความรู
 ความเที่ยงตรงถูกตองของความรู




                                               17
1. การเรียนรูและองคความรูควบคูกันในความหลากหลาย
   ของความคิดเห็น.
2. การเรียนรูเปนกระบวนการของการเชื่อมตอจุดเฉพาะ
   หรือแหลงที่มาของสารสนเทศ.
3. การเรียนรูอาจจะอยูในเครื่องมือที่ไมใชมนุษย.
4. ความสามารถในการเรียนรูเพิ่มเติมเปนสิ่งสําคัญ
   มากกวาสิ่งที่รูอยูในปจจุบัน.

                                                      18
5. การเชื่อมตอการบํารุงและรักษา เปนสิ่งที่จําเปนเพื่อ
   อํานวยความสะดวกในการเรียนรูอยางตอเนื่อง
6. ความสามารถที่จะมองเห็นความเชื่อมโยง ระหวางเขต
   ขอมูล, แนวคิด, และหลักการ เปนทักษะที่สําคัญ
7. ความเปนปจจุบัน (ความถูกตอง, องคความรูที่เปน
   ปจจุบัน) เปนความตั้งใจของกิจกรรมการเรียนแบบการ
   เรียนรูสําหรับยุคดิจิตอลทั้งหมด
8. การตัดสินใจทําใหเกิดกระบวนการเรียนรูดวยตัวเอง.
                                                           19
เครื่องมือ Web 2.0 สําหรับมุงเนนความมีปฏิสัมพันธ
 ระหวาง นักเรียนกับนักเรียน และ นักเรียนกับครูผูสอน
รูจักทั่วไปในนามซอฟแวรสังคม หรือซอฟแวรเครือขาย
 สังคม
ระบบเครือขายทางสังคม (e.g., Facebook, Ning, Elgg,)




                                                        20
ระบบเครือขายทางสังคม (e.g., Facebook, Ning, Elgg,)
เปนโปรแกรมประยุกตบนเว็บ ที่ "มีการใชงานทาง
 การศึกษา โดยนักเรียน, เพื่อนและเพื่อรวมงาน และ
 ครูผูสอน
สําหรับการสรางประวัติยอแบบสาธารณะและกึ่ง
 สาธารณะ ผานทางที่พวกเขาสามารถหาผูใชคนอื่นๆ
 ดวยการเชื่อมตอ และ การเชื่อมตอสําหรับการเรียนรู
 และสนับสนุนทางสังคม” (Boyd & Ellison, 2007).

                                                       21
 ในป 2007 ศึกษาจาก นักศึกษาระดับมหาวิทยาลัย ใน
 Texas จํานวน 2,603 คน (Sebastion, Namsu, and Kerk ,2009)
 พบวา “มีความสัมพันธเชิงบวก ระหวาง ความเขมขนใน
 การใช Facebook และ ความพึงพอใจในชีวิตของ
 นักเรียน, การไววางใจสังคม, ความผูกพันในสังคม, และ
 การมีสวนรวมทางการเมือง”


                                                        22
นักวิจัย (Ellison et al., 2007; Govani & Pashely, 2005;
 Sebastion et al., 2009) พบวา
Facebook ใชความสัมพันธกับการพัฒนาที่เพิ่มขึ้นของ
 ตนทุนทางสังคมโดยความผูกพันของนักเรียนในสถาบัน
 เดียวกัน.



                                                           23
ในป 2007 ศึกษาจาก นักศึกษาระดับปริญญาตรี ใน
 สหรัฐอเมริกา (Caruso and Nelson) พบวา
10% ใช Facebook เปนสวนหนึ่งในการมอบหมาย
 แบบฝกหัดในบทเรียน
50% ใช จัดกลุมการศึกษาหรือประชุม และมากกวาครึ่ง
 ใชเพื่อหารือเกี่ยวกับชั้นเรียน หรือการบาน


                                                      24
 ป 2009 ศึกษาจาก นักศึกษาระดับปริญญาตรี ในสหราช
 อาณาจักร (Slewyn, 2009) พบวา
 จากนักศึกษา กวา 900 คน สํารวจจาก ปฏิสัมพันธทาง
 สังคม, ขอคิดเห็น, และการซักถามสวนบุคคล
 Facebook ปรากฏขึ้นเพื่อใหมีพื้นที่ที่พรอมที่จะ “แสดง
 บทบาทที่ขัดแยง” ที่ผูเรียนจะไดรับประสบการณใน
 ความสัมพันธกับการทํางานในมหาวิทยาลัย, อาจารย
 ผูสอน, การประชุมทางวิชาการ และ ความคาดหวังที่
 สามารถทํางานผานบริเวณพื้นที่ที่คอนขางปด
                                                           25
 Web 2.0 ที่ทํางานเกี่ยวกับผูเรียนจํานวนมาก ซึ่งสนับสนุน
  ธรรมชาติความอยากรูของผูเรียนดวยการทําใหการแสดงออก
  ผานสื่อและความรูสึกของผูชมที่แตกตางกัน
 ใหการเขาถึงทรัพยากรและสงเสริมความสามารถในการที่จะ
  ไดรับความเชื่อมั่นในทักษะที่เกี่ยวกับการพูดและการนําเสนอ.
 "ทุกเวลา-ทุกที่" เปนความสะดวกของเว็บที่สามารถเปน
  แรงจูงใจอยางสูง, และสามารถเพิ่มความเปนอิสระของผูเรียน
  และสงเสริมการขยายการเรียนรูผานกิจกรรมปลายเปด.

                                                             26
ความเปนสวนตัว (Privacy)
เครื่องมือ Web 2.0 อยูบนพื้นฐานการเขาถึงขอมูลจาก
  หลายๆแหลง เกิดการแบงปนทรัพยากรทั้งสวนตัวและ
  สวนรวม
สิทธิสวนบุคคล เกิดไมสะดวกในในการกระจายหรือ
  แบงปนใดๆ
มีการสรางความปลอดภัยในการเขาถึงขอมูล กําหนด
  ระดับที่เหมาะสมในการเขาถึงของกิจกรรมบน Web 2.0
                                                       27
การคงอยู (Persistence)
ประเด็นของความเปนเจาของลิขสิทธิ์ ดวย Creative
  Commons
 เปนเครื่องมือที่ทําใหผูเรียนสามารถใสความเปนเจาของ
  ในงานของเขาได และคงความเปนเจาของ
สามารถแชรผลงานกับผูอื่นไดยืดหยุนมากยิ่งขึ้น รวมทั้ง
  ชิ้นงานดังกลาวอาจถูกนําไปตอยอดไดโดยไมตองแจงขอ
  อนุญาตเจาของงานกอน
                                                        28
สัญลักษณ                                 ความหมาย
            แสดงที่มา (Attribution: by)
            คุณต้องแสดงทีมาของงานดังกล่าวตามรูปแบบทีผูสร้างสรรค์หรือผูอนุญาตกําหนด
                                                        ้              ้
            (แต่ไม่ใช่ในลักษณะทีว่าพวกเขาสนับสนุนคุณหรือสนับสนุ นการทีคุณนํางานไปใช้)
            ไมใชเพื่อการคา (Noncommercial: nc)
            คุณไม่อาจใช้งานนีเพือวัตถุประสงค์ทางการค้า
            ไมดัดแปลง (No Derivative Works: nd)
            คุณไม่อาจแก้ไขเปลียนแปลงหรือสร้างงานของคุณจากงานนี
            อนุญาตแบบเดียวกัน (Share Alike: sa)
            หากคุณดัดแปลง เปลียนรูป หรือต่อเติมงานนีคุณต้องใช้สญญาอนุญาตแบบเดียวกัน
                                                               ั
            หรือแบบทีเหมือนกับหรือทีเข้ากันได้กบสัญญาอนุญาตทีใช้กบงานนีเท่านัน
                                               ั                 ั

                                                                                        29
ทั้งนี้สัญลักษณดังกลาวสามารถนํามาใชรวมกันเชน

                หมายถึง สามารถใชชิ้นงานดังกลาวไดโดยตอง
                แสดงที่มา และหากมีการดัดแปลงชิ้นแปลงก็จะตอง
                เผยแพรงานโดยใชสัญญาอนุญาตในแบบเดียวกันนี้
                ตอไป
                หมายถึง สามารถใชงานดังกลาวไดโดยตองแสดง
                ที่มา เวนแตไมใชเพื่อวัตถุประสงคทางดานการคา
                และไมใหดัดแปลงชิ้นงานดังกลาวดวย


                                                                    30
การสนับสนุน (Support)
ความยุงยากในการติดตอเจาหนาที่ระบบ สําหรับ
  สอบถามการแกปญหา
บางเว็บไซตตองมีบริการชวยเหลือ ตลอด 24 ชั่วโมง ทั้ง
  7 วัน (เชน Help หรือ Contact Us)
 แตบางเว็บไซตก็ไมมี เชน Google หรือ Faceboo แตใช
  การ Upgrade ปรับรุนอัตโนมัติ แทน

                                                          31
Dron & Anderson (2007, 2009) สรางแบบจําลองแนวคิด
  เพื่อชวยนักการศึกษาและผูดูแลระบบ
             กลุม                            เครือขาย
 - จิตสํานึกของสมาชิก                      - ความสนใจร่วมกัน / ปฏิบติ
                                                                   ั
 - ความเป็ นผูนํา & องค์กร
              ้                            - ความไม่แน่ นอนของสมาชิก
 - ผูร่วมงาน และ ก้าวเดิน
     ้                                     - เพือนของเพือน
 - กฎระเบียบ และ แนวทาง                    - แรงผลักดัน ชือเสียง
                                                    0
 - การควบคุมการเข้าถึง และ                    และไม่เห็นแก่ตวั
    ความเป็ นส่วนตัว                       - การแสดงบรรทัดฐาน,
 - มุงเน้น และ
       ่                                   โครงสร้าง
    ระยะเวลาทีจํากัด                             - การไหลของกิจกรรม

                             ความรวมมือ
                      - ‘การรวมกับสิงอืนๆ’
                      - Unconscious ‘ความฉลาดของกลุมชน’
                                                   ่                    อนุกรมวิธานของสิ่งตางๆ
                      - ส่วนประกอบของการสือสารทางอ้อม
                      - ไม่มสมาชิกหรือกฎ
                            ี                                           (Taxonomy of the Many)
                      - การเพิมขึนและบันทึกย่อ
                      - การทําเหมืองข้อมูล
                                                                                                  32
กลุม                            เครือขาย
- จิตสํานึกของสมาชิก                      - ความสนใจรวมกัน / ปฏิบัติ
- ความเปนผูนํา & องคกร                 - ความไมแนนอนของสมาชิก
- ผูรวมงาน และ กาวเดิน                 - เพื่อนของเพื่อน
- กฎระเบียบ และ แนวทาง                    - แรงผลักดัน ชื่อเสียง
- การควบคุมการเขาถึง และ                    และไมเ0 นแกตัว
                                                      ห็
  ความเปนสวนตัว                         - การแสดงบรรทัดฐาน, โครงสราง
- มุงเนน และ                                   - การไหลของกิจกรรม
  ระยะเวลาที่จํากัด


                            ความรวมมือ
                     - ‘การรวมกับสิ่งอื่นๆ’
                     - Unconscious ‘ความฉลาดของกลุมชน’
                     - สวนประกอบของการสื่อสารทางออม
                     - ไมมีสมาชิกหรือกฎ
                     - การเพิ่มขึ้นและบันทึกยอ
                     - การทําเหมืองขอมูล
                                                                          33
ลําดับแรก คือ โลกที่คุนเคยของกลุมที่ผูเรียนและ
 ครูผูสอนทํางานดวยความเขาใจที่ชัดเจนของความเปน
 สวนตัว (ควบคุมดวยรหัสผาน), การเปนสมาชิก (ควบคุม
 ดวยการลงทะเบียน), และ ตําแหนงหนาที่ (แตงตั้งโดย
 ครูผูสอน).
รูปแบบนี้ เปนหลักสําคัญของการศึกษาอยางเปน
 ทางการในปจจุบัน และไดรับการสนับสนุนอยางมี
 ประสิทธิภาพ โดยระบบการจัดการการเรียนรู.
                                                     34
ลําดับที่สอง คือ เปนเครือขายและลักษณะเฉพาะดวย
 ความไมแนนอนของสมาชิก, การควบคุมฉุกเฉิน, ความ
 ตอเนื่อง, และการมีสวนรวมที่ชัดเจน ดวยการติดตาม
 การเกิดขึ้นทันที โดยเกี่ยวของกับระดับลางของการมี
 ปฏิสัมพันธ.
เครื่องมือ Web 2.0 สวนใหญ สามารถถูกจัดอยูใน
 โปรแกรมประยุกตเครือขาย

                                                      35
ลําดับสุดทาย คือ ผูเขียนไดอธิบายการใชเครื่องมือ
 โดยรวม, ซึ่งผานรวบรวม, “stigmergic signaling”
 [สัญญาณการสื่อสารทางออม]
และ การทําเหมืองขอมูล
เรียนรูจากรองรอยที่เราใชสืบคนขอมูลผานเครือขาย
 อินเทอรเน็ต มีสวนในการตรวจสอบการซ้ําของเนื้อหา


                                                        36
Web 2.0 สามารถใชงานไดดี, เขาถึงไดอยางงายดาย เปน
 เครื่องมือและการประยุกตใชในการศึกษาที่มีตนทุนต่ํา.
นักออกแบบจะถูกทาทายในการสรางกิจกรรมและบริบท
 ในการพัฒนาผูเรียน, การกําหนดและประสิทธิภาพ ที่จะ
 ใชสิ่งแวดลอมการเรียนรูสวนบุคคล (personal learning
 environments : PLEs)
มักถูกมองแยกเปน 2 ทาง ระหวาง การเรียนรูสวนบุคคล
 และ การศึกษาอยางเปนทางการ
                                                      37
การใชอินเทอรเน็ตเพื่อสนับสนุนการเรียนรู ในทั้ง
 รูปแบบทางไกล, รูปแบบผสม, และ รูปแบบในสถาบัน
 เพิ่มขึ้นอยางรวดเร็ว
มักจะอยูในสภาพแวดลอมแบบปด
แต การประยุกตใชงาน Web 2.0 ซึ่งมักจะเปนระบบเปด
สรางผลกระทบกอกวนการเรียนรูได
จึงตองมี การกํากับดูแล, การควบคุม, และการเพิ่ม
 ขอจํากัดสวนตัว
                                                       38
1. เครื่องมือ Web 2.0 และโดยเฉพาะอยางยิ่งการจัดประเภท
เปนเครื่องมือเครือขายสังคม ไดกลายเปนที่แพรหลายกับ
การใชงานปกติโดยสวนใหญของประชาชนในประเทศที่
พัฒนาแลว
2. เครื่องมือ Web 2.0 ชวยทําใหเกิดการเรียนรูนอก
หองเรียน ชวยใหกิจกรรมการเรียนรูที่แทจริงเพิ่มขึ้นและ
ผูชมที่มีความหลากหลายและการมีสวนรวมในการศึกษา

                                                        39
3. เปดโอกาสใหบุคคลอื่นๆ เขามามีสวนรวมในขอมูล
เดียวกัน เกิดความหลากหลายทางความคิด
4. การประยุกต Web 2.0 ถูกสรางขึ้นในรูปแบบองคกร
เครือขาย ชวยใหเกิดการสรางการแสดงตัวตนและตนทุน
ทางสังคม
5. ความสามารถในการสนับสนุนการเรียนรู ศาสตรการ
สอนตางๆ กลายเปนหลักสําคัญของการเรียนรูตลอดชีวิต

                                                     40
ขอบคุณคะ
            41

More Related Content

Viewers also liked

Tablet pc สื่อการศึกษาไทยในศตวรรษที่ 21
Tablet pc สื่อการศึกษาไทยในศตวรรษที่ 21Tablet pc สื่อการศึกษาไทยในศตวรรษที่ 21
Tablet pc สื่อการศึกษาไทยในศตวรรษที่ 21
KruBeeKa
 

Viewers also liked (8)

โซเชียลมีเดียกับการศึกษาไทย
โซเชียลมีเดียกับการศึกษาไทยโซเชียลมีเดียกับการศึกษาไทย
โซเชียลมีเดียกับการศึกษาไทย
 
Mis_hrcc
Mis_hrccMis_hrcc
Mis_hrcc
 
โซเชียลมีเดียกับการศึกษาไทย
โซเชียลมีเดียกับการศึกษาไทยโซเชียลมีเดียกับการศึกษาไทย
โซเชียลมีเดียกับการศึกษาไทย
 
Tablet pc สื่อการศึกษาไทยในศตวรรษที่ 21
Tablet pc สื่อการศึกษาไทยในศตวรรษที่ 21Tablet pc สื่อการศึกษาไทยในศตวรรษที่ 21
Tablet pc สื่อการศึกษาไทยในศตวรรษที่ 21
 
13 the fourth generation of instructional system development model
13 the fourth generation of instructional system development model13 the fourth generation of instructional system development model
13 the fourth generation of instructional system development model
 
Book v9.1
Book v9.1Book v9.1
Book v9.1
 
ครูในศตวรรษที่ 21
ครูในศตวรรษที่ 21ครูในศตวรรษที่ 21
ครูในศตวรรษที่ 21
 
12 chapter33-games … and … learning
12 chapter33-games … and … learning12 chapter33-games … and … learning
12 chapter33-games … and … learning
 

Similar to 11 chapter31-network, web 2.0, and the connected learner

ICt For School & Reading Promotion
ICt For School & Reading PromotionICt For School & Reading Promotion
ICt For School & Reading Promotion
decnun
 
Social media use in higher education
Social  media  use  in  higher educationSocial  media  use  in  higher education
Social media use in higher education
oajirapa
 
Social media use in higher education
Social  media  use  in  higher educationSocial  media  use  in  higher education
Social media use in higher education
oajirapa
 
บทที่ 11
บทที่ 11บทที่ 11
บทที่ 11
benty2443
 

Similar to 11 chapter31-network, web 2.0, and the connected learner (20)

ICt For School & Reading Promotion
ICt For School & Reading PromotionICt For School & Reading Promotion
ICt For School & Reading Promotion
 
Pegagogy-based Hybrid Learning : จากแนวคิดสู่การปฏิบัติ
Pegagogy-based Hybrid Learning : จากแนวคิดสู่การปฏิบัติPegagogy-based Hybrid Learning : จากแนวคิดสู่การปฏิบัติ
Pegagogy-based Hybrid Learning : จากแนวคิดสู่การปฏิบัติ
 
Social media use in higher education
Social  media  use  in  higher educationSocial  media  use  in  higher education
Social media use in higher education
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
Social media use in higher education
Social  media  use  in  higher educationSocial  media  use  in  higher education
Social media use in higher education
 
บทที่ 11
บทที่ 11บทที่ 11
บทที่ 11
 
บทที่ 11
บทที่ 11บทที่ 11
บทที่ 11
 
11 170819173826
11 17081917382611 170819173826
11 170819173826
 
11 170819173826
11 17081917382611 170819173826
11 170819173826
 
11 170819173826
11 17081917382611 170819173826
11 170819173826
 
บทที่ 11
บทที่ 11บทที่ 11
บทที่ 11
 
บทที่ 11
บทที่ 11บทที่ 11
บทที่ 11
 
11 170819173826
11 17081917382611 170819173826
11 170819173826
 
บทที่ 11
บทที่ 11บทที่ 11
บทที่ 11
 
11 170819173826
11 17081917382611 170819173826
11 170819173826
 
บทที่ 11
บทที่ 11บทที่ 11
บทที่ 11
 
11 170819173826
11 17081917382611 170819173826
11 170819173826
 
575050184-1 _201701-learning environment analysis
575050184-1 _201701-learning environment analysis575050184-1 _201701-learning environment analysis
575050184-1 _201701-learning environment analysis
 

More from KruBeeKa

More from KruBeeKa (12)

10 chapter29-e-learning and instructional design
10 chapter29-e-learning and instructional design10 chapter29-e-learning and instructional design
10 chapter29-e-learning and instructional design
 
09.chapter6 the learning sciences
09.chapter6 the learning sciences09.chapter6 the learning sciences
09.chapter6 the learning sciences
 
08 chapter2-characteristics of instructional design models
08 chapter2-characteristics of instructional design models08 chapter2-characteristics of instructional design models
08 chapter2-characteristics of instructional design models
 
07 final exam
07 final exam07 final exam
07 final exam
 
06 mini thesis-การศีกษาพฤติกรรมการใช้เฟสบุค
06 mini thesis-การศีกษาพฤติกรรมการใช้เฟสบุค06 mini thesis-การศีกษาพฤติกรรมการใช้เฟสบุค
06 mini thesis-การศีกษาพฤติกรรมการใช้เฟสบุค
 
05 แผนงานวิจัยรวม-full
05 แผนงานวิจัยรวม-full05 แผนงานวิจัยรวม-full
05 แผนงานวิจัยรวม-full
 
04 แบบ ว-1ย-1ด-วณิชชา-แผนย่อย
04 แบบ ว-1ย-1ด-วณิชชา-แผนย่อย04 แบบ ว-1ย-1ด-วณิชชา-แผนย่อย
04 แบบ ว-1ย-1ด-วณิชชา-แผนย่อย
 
03 แบบ ว-1ด-วณิชชาv3
03 แบบ ว-1ด-วณิชชาv303 แบบ ว-1ด-วณิชชาv3
03 แบบ ว-1ด-วณิชชาv3
 
02 เครื่องมือในการวิจัย
02 เครื่องมือในการวิจัย02 เครื่องมือในการวิจัย
02 เครื่องมือในการวิจัย
 
01 มองอนาคตด้วยเดลฟาย
01 มองอนาคตด้วยเดลฟาย01 มองอนาคตด้วยเดลฟาย
01 มองอนาคตด้วยเดลฟาย
 
ผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
การโปรแกรมภาษาซีชาร์ป
การโปรแกรมภาษาซีชาร์ปการโปรแกรมภาษาซีชาร์ป
การโปรแกรมภาษาซีชาร์ป
 

11 chapter31-network, web 2.0, and the connected learner

  • 1. Terry Anderson Athabasca University เสนอ 1 ผูชวยศาสตราจารย ดร.สุภาณี เส็งศรี นางสาว วณิชชา แมนยํา นิสิตปริญญาเอก สาขาเทคโนโลยีและเสื่อสารการศึกษา
  • 2. การกระจายตัวของการใชงานและการประยุกตใช ระบบเครือขายเทคโนโลยี อยางมีนัยสําคัญ ทั้ง ดานสวนบุคคล, เชิงพาณิชย และ ดานสังคม. โปรแกรมประยุกตเหลานี้ ยังไมไดรับการออกแบบ สําหรับเพื่อใชในการศึกษา 2
  • 3. บรรณาธิการสํานักพิมพ Tim O’Rielly (2005) เปนผูที่ให ความหมายแรก อธิบายความหมายของ Web 2.0 วา o เปนแพลตฟอรมสําหรับโฮสตของเชิงพาณิชย, ความบันเทิง, และประยุกตในการเรียนรู. o ความสามารถโดยรวมในการควบคุม (ยกตัวอยาง คือ Wikipedia) o การใชงานขอมูลรวมกันโดยโปรแกรมประยุกตตางๆ (เชน, การใช Google maps รวมกับโปรแกรมประยุกตอื่นๆ), 3
  • 5. คํานิยามของ Web 2.0 มุงเนนไปที่หนาที่ของการทํางาน ในลักษณะชวยแนะนําการแกปญหาสําหรับการคิด เกี่ยวกับเว็บและเครือขายในแบบทั่วไป. 5
  • 6. Hoegg, Meckel, Stanoevska-Slabeva, & Martignoni (2006) โตแยงวา Web 2.0 ไมใชเทคโนโลยี แตเปน ปรัชญา “วัตถุประสงคของบริการ Web 2.0 คือ การ รวมกันของกลุมขาวสารเพื่อใหเกิดประโยชนสูงสุดของ ผูใชงานรวมกัน” Scholtz (2008) ไดแยงวา Web 2.0 เปนเพียงเหตุผลเชิง อุดมการณ (มากกวาการใชงานไดจริง) ในการทํางาน ขององคกร 6
  • 7. การใชงานเว็บทั่วไป  เก็บรายการของ “Bookmark” (ที่คั่นหนา) ไวในเว็บเบรา เซอรของตน.  จัดรายการในสวนของขอมูลที่มาจากแหลงตางๆที่อยู บนอินเทอรเน็ต  แตก็ไมมีขอมูลเชิงลึก, คําอธิบายประกอบ, หรือการ ประเมินผล จากรายการเหลานี้ 7
  • 8. Web 2.0 Aplications คลายจะใหพื้นที่เพื่อสรางแหลงสะสมขอมูลของตนเอง, แต เปนเพียงผูจัดเก็บและเพิ่มคําสําคัญ (Tags) เพื่อระบุและเรียกขอมูลนั้นออกมาได, โดยจะถูกรวมรายการไวรวมกับของผูอื่นๆที่สรางขึ้นมา ดวยเหมือนกัน มูลคาของการประยุกตใชนี้จึงเพิ่มขึ้น เพราะขอมูลนั้น เปนการรวบรวมเพิ่มขึ้นจากผูอื่นดวย 8
  • 9. เครื่องมือ Web 2.0 มีประสิทธิภาพมาก สําหรับ กลุมความรวมมือและการใชงานรวมกัน  ผานทางการแสดงความคิดเห็น (Comment), การเพิ่มเติม, การแกไข, หรือ การลบ ของเนื้อหาที่ผิดพลาด  อยูในรูปของขอความ, รูปแบบเสียง, วีดีโอ, กราฟก ฯลฯ 9
  • 10.  ความสําเร็จของ Web 2.0 เปนทักษะและทัศนคติของผูเรียนที่ไดรับโดย การสรางและนําเสนอเนื้อหา  เชน Wikipedia คือ ลักษณะของเว็บไซต์แบบหนึงทีอนุ ญาต ให้ผใช้ เพิมและ ู้ แก้ไขเนือหาได้โดยง่าย สามารถสร้างเนือหาบนเว็บได้โดยไม่จาเป็ นต้องมี ํ ความรูในภาษา HTML โดยข้อมูลถูกเขียนร่วมกันผ่านเว็บเบราว์เซอร์ ้ ในแต่ละหน้าจะถูกเรียกว่า "หน้าวิก" และเนือหาภายในจะเชือมต่อกันผ่านทาง ิ ไฮเปอร์ลงก์ ซึงส่งผลให้ในแต่ละวิกสามารถทํางานผ่านระบบทีเรียบง่าย และ ิ ิ สามารถใช้เป็ นฐานข้อมูล สําหรับสืบค้น ดูแลรักษาทีง่าย  เชน การเก็บทรัพยากรการศึกษาแบบเปด (open educational resource : OER) คือ แหล่งการเรียนรูดานการศึกษาทีผูใช้สามารถเข้าถึงโดยไม่มคาใช้จ่าย ้ ้ ้ ี่ หรือ ค่าธรรมเนียมการใช้ ช่วยสนับสนุ นความเท่าเทียมในการเข้าถึง 10
  • 11.  เครื่องมือ Web 2.0 เปนการเปดการเรียนรู นอกเหนือไปจากการเรียนแตภายในหองเรียนเพียง อยางเดียว โดยมีการ อนุญาต, การนําเขา, ขอตกลง, การวิจารณ, และการแสดงความคิดเห็นโดยบุคคลอื่น นอกเหนือจากเพื่อนรวมชั้นเรียน  เปดโอกาสใหการปอนขอมูลจากผูเชี่ยวชาญและจากคน อื่นๆ  เปนการอภิปรายทางการศึกษาอยางเปนทางการ 11
  • 12.  Web 2.0 as an Educational Platform-Pedagogical Implications  ตัวอยางของ Web 2.0 ในการประยุกตใชงานในการศึกษา สังเกตวา สามารถจะ : o มีโอกาสใหมๆสําหรับผูเรียนในการควบคุมการเรียนรูและการ เขาถึงจัดการขอมูลของตนเอง, ทรัพยากร, เครื่องมือ และ บริการ o สงเสริมความสามารถในการแสดงออก o อํานวยความสะดวกในการทํางานรวมกัน, การสรางชุมชน, การ สนทนา และ การแบงปนองคความรู o เปนการกําหนดความสําเร็จของผูเรียนเพื่อดึงดูดความสนใจ (Crook & Harrison 2008, p. 11) 12
  • 13. เครื่องมือ Web 2.0 ชวยสรางแรงจูงใจและตองการ เทคนิคการสอนแบบใหม เพื่อเปนแนวทางในการทํางาน ที่มีประสิทธิภาพ. หนังสือของ Jon Dron (2007) ชื่อวา “Control and Constraint in E-Learning” ทฤษฎีที่สรางความสัมพันธของวิธีการเรียนรู 13
  • 14.  ทฤษฎีของ Heutagogy [Theories of Heutagogy] (Hase & Kenyon, 2000) (การเรียนรูตลอดชีวิตในยุคของแหลง เรียนรูที่กวางใหญ)  ศาสตรการสอนของความใกลชิด [the Pedagogy of Nearness ] (Mejías, 2007) (ผลของการเปลี่ยนแปลงระหวางการเรียนแบบ face-to-face และ การเรียนรูออนไลน),  ทฤษฎีความซับซอนในการศึกษา [complexity theory in education] (Horn, 2008) (วิวัฒนาการ, ความไมแนนอน, และ การทํางานที่ มีประสิทธิภาพ อยูใน "ชายขอบแหงความโกลาหล : the edge of chaos) 14
  • 15. สิ่งที่มีอิทธิพลมากที่สุดของศาสตรการสอนตาม ธรรมชาติแบบใหม คือ การพัฒนาไปเปน o ทฤษฎีการเรียนรูสําหรับยุคดิจิตอล (Connectivism) โดย George Siemens (2005) o และ พื้นฐานทาง ญาณวิทยา (Epistemological)  มาจากทฤษฎีการเชื่อมตอองคความรูของ Stephen Downes (2007).  Siemens ไดระบุหลักการที่เกี่ยวของกันไว 8 รายการ 15
  • 16.  แนวคิดจากการวิเคราะหขอจํากัดจากทฤษฎีการเรียนรู 3 แบบ คือ o Behaviorism (ทฤษฎีการเรียนรูกลุมพฤติกรรมนิยม) o Cognitivism (ทฤษฎีการเรียนรูกลุมพุทธินิยม) o Constructivism (ทฤษฎีสรางความรูใหมโดยผูเรียนเอง)  กลาวถึง ผลกระทบของเทคโนโลยีตอการดํารงชีวิต การ ติดตอสื่อสาร และการเรียนรู โดยสังเคราะหองคประกอบ โครงสรางและเทคโนโลยีของทฤษฎีการเรียนรู ดังกลาว  สรางเปนการทฤษฎีการเรียนรูในยุคดิจิตอล ดวยกระบวนการสราง เครือขายจากการเชื่อมตอระหวาง Node มีการแลกเปลี่ยนและ แบงปนประสบการณ ขอมูล สารสนเทศ ความรู 16
  • 17.  เปนสาขาหนึ่งของปรัชญา  ซึ่งเกี่ยวกับการสืบถามถึงกําเนิดของความรู  โครงสรางของความรู  วิธีการของความรู  ความเที่ยงตรงถูกตองของความรู 17
  • 18. 1. การเรียนรูและองคความรูควบคูกันในความหลากหลาย ของความคิดเห็น. 2. การเรียนรูเปนกระบวนการของการเชื่อมตอจุดเฉพาะ หรือแหลงที่มาของสารสนเทศ. 3. การเรียนรูอาจจะอยูในเครื่องมือที่ไมใชมนุษย. 4. ความสามารถในการเรียนรูเพิ่มเติมเปนสิ่งสําคัญ มากกวาสิ่งที่รูอยูในปจจุบัน. 18
  • 19. 5. การเชื่อมตอการบํารุงและรักษา เปนสิ่งที่จําเปนเพื่อ อํานวยความสะดวกในการเรียนรูอยางตอเนื่อง 6. ความสามารถที่จะมองเห็นความเชื่อมโยง ระหวางเขต ขอมูล, แนวคิด, และหลักการ เปนทักษะที่สําคัญ 7. ความเปนปจจุบัน (ความถูกตอง, องคความรูที่เปน ปจจุบัน) เปนความตั้งใจของกิจกรรมการเรียนแบบการ เรียนรูสําหรับยุคดิจิตอลทั้งหมด 8. การตัดสินใจทําใหเกิดกระบวนการเรียนรูดวยตัวเอง. 19
  • 20. เครื่องมือ Web 2.0 สําหรับมุงเนนความมีปฏิสัมพันธ ระหวาง นักเรียนกับนักเรียน และ นักเรียนกับครูผูสอน รูจักทั่วไปในนามซอฟแวรสังคม หรือซอฟแวรเครือขาย สังคม ระบบเครือขายทางสังคม (e.g., Facebook, Ning, Elgg,) 20
  • 21. ระบบเครือขายทางสังคม (e.g., Facebook, Ning, Elgg,) เปนโปรแกรมประยุกตบนเว็บ ที่ "มีการใชงานทาง การศึกษา โดยนักเรียน, เพื่อนและเพื่อรวมงาน และ ครูผูสอน สําหรับการสรางประวัติยอแบบสาธารณะและกึ่ง สาธารณะ ผานทางที่พวกเขาสามารถหาผูใชคนอื่นๆ ดวยการเชื่อมตอ และ การเชื่อมตอสําหรับการเรียนรู และสนับสนุนทางสังคม” (Boyd & Ellison, 2007). 21
  • 22.  ในป 2007 ศึกษาจาก นักศึกษาระดับมหาวิทยาลัย ใน Texas จํานวน 2,603 คน (Sebastion, Namsu, and Kerk ,2009)  พบวา “มีความสัมพันธเชิงบวก ระหวาง ความเขมขนใน การใช Facebook และ ความพึงพอใจในชีวิตของ นักเรียน, การไววางใจสังคม, ความผูกพันในสังคม, และ การมีสวนรวมทางการเมือง” 22
  • 23. นักวิจัย (Ellison et al., 2007; Govani & Pashely, 2005; Sebastion et al., 2009) พบวา Facebook ใชความสัมพันธกับการพัฒนาที่เพิ่มขึ้นของ ตนทุนทางสังคมโดยความผูกพันของนักเรียนในสถาบัน เดียวกัน. 23
  • 24. ในป 2007 ศึกษาจาก นักศึกษาระดับปริญญาตรี ใน สหรัฐอเมริกา (Caruso and Nelson) พบวา 10% ใช Facebook เปนสวนหนึ่งในการมอบหมาย แบบฝกหัดในบทเรียน 50% ใช จัดกลุมการศึกษาหรือประชุม และมากกวาครึ่ง ใชเพื่อหารือเกี่ยวกับชั้นเรียน หรือการบาน 24
  • 25.  ป 2009 ศึกษาจาก นักศึกษาระดับปริญญาตรี ในสหราช อาณาจักร (Slewyn, 2009) พบวา  จากนักศึกษา กวา 900 คน สํารวจจาก ปฏิสัมพันธทาง สังคม, ขอคิดเห็น, และการซักถามสวนบุคคล  Facebook ปรากฏขึ้นเพื่อใหมีพื้นที่ที่พรอมที่จะ “แสดง บทบาทที่ขัดแยง” ที่ผูเรียนจะไดรับประสบการณใน ความสัมพันธกับการทํางานในมหาวิทยาลัย, อาจารย ผูสอน, การประชุมทางวิชาการ และ ความคาดหวังที่ สามารถทํางานผานบริเวณพื้นที่ที่คอนขางปด 25
  • 26.  Web 2.0 ที่ทํางานเกี่ยวกับผูเรียนจํานวนมาก ซึ่งสนับสนุน ธรรมชาติความอยากรูของผูเรียนดวยการทําใหการแสดงออก ผานสื่อและความรูสึกของผูชมที่แตกตางกัน  ใหการเขาถึงทรัพยากรและสงเสริมความสามารถในการที่จะ ไดรับความเชื่อมั่นในทักษะที่เกี่ยวกับการพูดและการนําเสนอ.  "ทุกเวลา-ทุกที่" เปนความสะดวกของเว็บที่สามารถเปน แรงจูงใจอยางสูง, และสามารถเพิ่มความเปนอิสระของผูเรียน และสงเสริมการขยายการเรียนรูผานกิจกรรมปลายเปด. 26
  • 27. ความเปนสวนตัว (Privacy) เครื่องมือ Web 2.0 อยูบนพื้นฐานการเขาถึงขอมูลจาก หลายๆแหลง เกิดการแบงปนทรัพยากรทั้งสวนตัวและ สวนรวม สิทธิสวนบุคคล เกิดไมสะดวกในในการกระจายหรือ แบงปนใดๆ มีการสรางความปลอดภัยในการเขาถึงขอมูล กําหนด ระดับที่เหมาะสมในการเขาถึงของกิจกรรมบน Web 2.0 27
  • 28. การคงอยู (Persistence) ประเด็นของความเปนเจาของลิขสิทธิ์ ดวย Creative Commons  เปนเครื่องมือที่ทําใหผูเรียนสามารถใสความเปนเจาของ ในงานของเขาได และคงความเปนเจาของ สามารถแชรผลงานกับผูอื่นไดยืดหยุนมากยิ่งขึ้น รวมทั้ง ชิ้นงานดังกลาวอาจถูกนําไปตอยอดไดโดยไมตองแจงขอ อนุญาตเจาของงานกอน 28
  • 29. สัญลักษณ ความหมาย แสดงที่มา (Attribution: by) คุณต้องแสดงทีมาของงานดังกล่าวตามรูปแบบทีผูสร้างสรรค์หรือผูอนุญาตกําหนด ้ ้ (แต่ไม่ใช่ในลักษณะทีว่าพวกเขาสนับสนุนคุณหรือสนับสนุ นการทีคุณนํางานไปใช้) ไมใชเพื่อการคา (Noncommercial: nc) คุณไม่อาจใช้งานนีเพือวัตถุประสงค์ทางการค้า ไมดัดแปลง (No Derivative Works: nd) คุณไม่อาจแก้ไขเปลียนแปลงหรือสร้างงานของคุณจากงานนี อนุญาตแบบเดียวกัน (Share Alike: sa) หากคุณดัดแปลง เปลียนรูป หรือต่อเติมงานนีคุณต้องใช้สญญาอนุญาตแบบเดียวกัน ั หรือแบบทีเหมือนกับหรือทีเข้ากันได้กบสัญญาอนุญาตทีใช้กบงานนีเท่านัน ั ั 29
  • 30. ทั้งนี้สัญลักษณดังกลาวสามารถนํามาใชรวมกันเชน หมายถึง สามารถใชชิ้นงานดังกลาวไดโดยตอง แสดงที่มา และหากมีการดัดแปลงชิ้นแปลงก็จะตอง เผยแพรงานโดยใชสัญญาอนุญาตในแบบเดียวกันนี้ ตอไป หมายถึง สามารถใชงานดังกลาวไดโดยตองแสดง ที่มา เวนแตไมใชเพื่อวัตถุประสงคทางดานการคา และไมใหดัดแปลงชิ้นงานดังกลาวดวย 30
  • 31. การสนับสนุน (Support) ความยุงยากในการติดตอเจาหนาที่ระบบ สําหรับ สอบถามการแกปญหา บางเว็บไซตตองมีบริการชวยเหลือ ตลอด 24 ชั่วโมง ทั้ง 7 วัน (เชน Help หรือ Contact Us)  แตบางเว็บไซตก็ไมมี เชน Google หรือ Faceboo แตใช การ Upgrade ปรับรุนอัตโนมัติ แทน 31
  • 32. Dron & Anderson (2007, 2009) สรางแบบจําลองแนวคิด เพื่อชวยนักการศึกษาและผูดูแลระบบ กลุม เครือขาย - จิตสํานึกของสมาชิก - ความสนใจร่วมกัน / ปฏิบติ ั - ความเป็ นผูนํา & องค์กร ้ - ความไม่แน่ นอนของสมาชิก - ผูร่วมงาน และ ก้าวเดิน ้ - เพือนของเพือน - กฎระเบียบ และ แนวทาง - แรงผลักดัน ชือเสียง 0 - การควบคุมการเข้าถึง และ และไม่เห็นแก่ตวั ความเป็ นส่วนตัว - การแสดงบรรทัดฐาน, - มุงเน้น และ ่ โครงสร้าง ระยะเวลาทีจํากัด - การไหลของกิจกรรม ความรวมมือ - ‘การรวมกับสิงอืนๆ’ - Unconscious ‘ความฉลาดของกลุมชน’ ่ อนุกรมวิธานของสิ่งตางๆ - ส่วนประกอบของการสือสารทางอ้อม - ไม่มสมาชิกหรือกฎ ี (Taxonomy of the Many) - การเพิมขึนและบันทึกย่อ - การทําเหมืองข้อมูล 32
  • 33. กลุม เครือขาย - จิตสํานึกของสมาชิก - ความสนใจรวมกัน / ปฏิบัติ - ความเปนผูนํา & องคกร - ความไมแนนอนของสมาชิก - ผูรวมงาน และ กาวเดิน - เพื่อนของเพื่อน - กฎระเบียบ และ แนวทาง - แรงผลักดัน ชื่อเสียง - การควบคุมการเขาถึง และ และไมเ0 นแกตัว ห็ ความเปนสวนตัว - การแสดงบรรทัดฐาน, โครงสราง - มุงเนน และ - การไหลของกิจกรรม ระยะเวลาที่จํากัด ความรวมมือ - ‘การรวมกับสิ่งอื่นๆ’ - Unconscious ‘ความฉลาดของกลุมชน’ - สวนประกอบของการสื่อสารทางออม - ไมมีสมาชิกหรือกฎ - การเพิ่มขึ้นและบันทึกยอ - การทําเหมืองขอมูล 33
  • 34. ลําดับแรก คือ โลกที่คุนเคยของกลุมที่ผูเรียนและ ครูผูสอนทํางานดวยความเขาใจที่ชัดเจนของความเปน สวนตัว (ควบคุมดวยรหัสผาน), การเปนสมาชิก (ควบคุม ดวยการลงทะเบียน), และ ตําแหนงหนาที่ (แตงตั้งโดย ครูผูสอน). รูปแบบนี้ เปนหลักสําคัญของการศึกษาอยางเปน ทางการในปจจุบัน และไดรับการสนับสนุนอยางมี ประสิทธิภาพ โดยระบบการจัดการการเรียนรู. 34
  • 35. ลําดับที่สอง คือ เปนเครือขายและลักษณะเฉพาะดวย ความไมแนนอนของสมาชิก, การควบคุมฉุกเฉิน, ความ ตอเนื่อง, และการมีสวนรวมที่ชัดเจน ดวยการติดตาม การเกิดขึ้นทันที โดยเกี่ยวของกับระดับลางของการมี ปฏิสัมพันธ. เครื่องมือ Web 2.0 สวนใหญ สามารถถูกจัดอยูใน โปรแกรมประยุกตเครือขาย 35
  • 36. ลําดับสุดทาย คือ ผูเขียนไดอธิบายการใชเครื่องมือ โดยรวม, ซึ่งผานรวบรวม, “stigmergic signaling” [สัญญาณการสื่อสารทางออม] และ การทําเหมืองขอมูล เรียนรูจากรองรอยที่เราใชสืบคนขอมูลผานเครือขาย อินเทอรเน็ต มีสวนในการตรวจสอบการซ้ําของเนื้อหา 36
  • 37. Web 2.0 สามารถใชงานไดดี, เขาถึงไดอยางงายดาย เปน เครื่องมือและการประยุกตใชในการศึกษาที่มีตนทุนต่ํา. นักออกแบบจะถูกทาทายในการสรางกิจกรรมและบริบท ในการพัฒนาผูเรียน, การกําหนดและประสิทธิภาพ ที่จะ ใชสิ่งแวดลอมการเรียนรูสวนบุคคล (personal learning environments : PLEs) มักถูกมองแยกเปน 2 ทาง ระหวาง การเรียนรูสวนบุคคล และ การศึกษาอยางเปนทางการ 37
  • 38. การใชอินเทอรเน็ตเพื่อสนับสนุนการเรียนรู ในทั้ง รูปแบบทางไกล, รูปแบบผสม, และ รูปแบบในสถาบัน เพิ่มขึ้นอยางรวดเร็ว มักจะอยูในสภาพแวดลอมแบบปด แต การประยุกตใชงาน Web 2.0 ซึ่งมักจะเปนระบบเปด สรางผลกระทบกอกวนการเรียนรูได จึงตองมี การกํากับดูแล, การควบคุม, และการเพิ่ม ขอจํากัดสวนตัว 38
  • 39. 1. เครื่องมือ Web 2.0 และโดยเฉพาะอยางยิ่งการจัดประเภท เปนเครื่องมือเครือขายสังคม ไดกลายเปนที่แพรหลายกับ การใชงานปกติโดยสวนใหญของประชาชนในประเทศที่ พัฒนาแลว 2. เครื่องมือ Web 2.0 ชวยทําใหเกิดการเรียนรูนอก หองเรียน ชวยใหกิจกรรมการเรียนรูที่แทจริงเพิ่มขึ้นและ ผูชมที่มีความหลากหลายและการมีสวนรวมในการศึกษา 39
  • 40. 3. เปดโอกาสใหบุคคลอื่นๆ เขามามีสวนรวมในขอมูล เดียวกัน เกิดความหลากหลายทางความคิด 4. การประยุกต Web 2.0 ถูกสรางขึ้นในรูปแบบองคกร เครือขาย ชวยใหเกิดการสรางการแสดงตัวตนและตนทุน ทางสังคม 5. ความสามารถในการสนับสนุนการเรียนรู ศาสตรการ สอนตางๆ กลายเปนหลักสําคัญของการเรียนรูตลอดชีวิต 40