SlideShare a Scribd company logo
1 of 12
Download to read offline
บทที่ 7
นวัตกรรมทางการศึกษา
ภารกิจที่ 1
อธิบายความหมายและจาแนกประเภท
ของสิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้
สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ตามแนวคอนสตรัคติวิสต์
หมายถึง การประสานงานร่วมกันระหว่าง “สื่อ(Media)”
กับ “วิธีการ(Methods)” ซึ่งสามารถจาแนกออกได้ดังนี้
1.สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้บนเครือข่ายตามแนวคอนสตรัคติวิสต์
เป็นพื้นฐานที่ประสานร่วมกับคุณลักษณะของสื่อบนเครือข่ายที่สนองต่อการ
สร้างความรู้ของผู้เรียน
2 มัลติมีเดียตามแนวคอนสตัคติวิสต์
- เป็นการประสานงานร่วมกับคุณลักษณะของมัลติมีเดียที่นาเสนอทั้ง
ข้อความ ภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหว และเสียง รวมทั้งการเชื่อมโยงหลาย
มิติ
(เกมสถานการณ์จาลอง)
3 ชุดสร้างความรู้
-เป็นการประสานงานร่วมกับการนาสื่อประเภทต่างๆ เช่น สื่อ
สิ่งพิมพ์ หนังสือ วีดิทัศน์ ภูมิปัญญาท้องถิ่น อุปกรณ์การทดลอง
รวมทั้งกิจกรรมต่างๆ
(อุปกรณ์ทดลอง)(สื่อสิ่งพิมพ์ หนังสือ)
ภารกิจที่ 2
วิเคราะห์เลือกใช้นวัตกรรมการเรียนรู้ให้
สอดคล้องกับบริบทของโรงเรียนทั้ง 3 แห่งนี้
จากการวิเคราะห์เลือกใช้นวัตรกรรมการเรียนรู้ให้สอดคล้อง
กับบริบทของโรงเรียนทั้ง 3 แห่งจะได้ว่า
โรงเรียนเปรมสวัสดิ์ เป็นโรงเรียนที่อยู่ห่างไกลความเจริญ ไม่มี
การเชื่อมโยงเครือข่ายอินเตอร์เน็ต แต่ยังพอมีคอมพิวเตอร์อยู่บ้าง
ดังนั้นการเลือกใช้นวัตรกรรมทางการศึกษาในช่วงก่อนปฏิรูป
การศึกษา คือการใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสอนซึ่งเป็นโปรแกรมการ
เรียนการสอนโดยใช้เครื่องคอมพิวเตอร์บันทึกเนื้อหาวิชา ที่มีทั้ง
อักษร ข้อความ ภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหว กราฟ แผนภูมิ
ภาพเคลื่อนไหวและเสียง ลาดับวิธีการเสนอองค์ความรู้ต่างๆ ที่จะ
ให้ผู้เรียนได้เรียนรู้เนื้อหาวิชา มีส่วนร่วมและสนองต่อการเรียนรู้
อย่างแข็งขันเพื่อบรรลุผลตามความมุ่งหมายของรายวิชา
โรงเรียนมหาชัยและโรงเรียนเทศบาลวัดธาตุ ควรเลือกใช้
นวัตกรรมทางการศึกษาในช่วงปฏิรูปการศึกษา คือ การเรียนรู้
บนเครือข่าย มัลติมิเดียE-Learningและสิ่งแวดล้อมทางการ
เรียนรู้ตามแนวคอนสตรัคติวิสต์เพราะทั้งสองโรงเรียนต้องการ
เน้นให้ผู้เรียนสามารถสร้างความรู้ได้ด้วยตนเอง เปิดโอกาสให้
เลือกเรียนได้ตามสะดวก สามารถ กาหนดกรอบเวลาในการ
เรียนรู้ได้เหมาะสมกับความสามารถในการเรียนรู้ของตนเอง
นอกจากนี้นวัตกรรมที่พัฒนาขึ้นต้องสามารถนามาใช้ได้ใน
หลายบริบทเนื่องจากผู้เรียนมีความแตกต่างกัน
ภารกิจที่ 3
จากประเภทของนวัตกรรมการเรียนรู้ในบทที่
7 ให้นักศึกษาเสนอนวัตกรรมการเรียนรู้ที่
สอดคล้องกับลักษณะวิชาเอกที่นักศึกษาจะ
ปฏิบัติหน้าที่สอน พร้อมทั้งอธิบายเหตุผล
สิ่งแวดล้อมการเรียนรู้ตามแนวคอนสตรัคติ
วิสต์
เนื่องจากเป็นการเน้นการสร้างความรู้ด้วยตนเอง โดย
การลงมือกระทา หรือปฏิบัติที่ผานกระบวนการคิด และอาศัย
ประสบการณ์เดิมหรือความรู้เดิมที่มีอยู่แล้วเชื่อมโยงกับ
ประสบการณ์ใหม่ หรือความรูใหม่ เพื่อขยายโครงสร้างทาง
ปัญญา (Schema) ซึ่งเชื่อวา ครูไม่สามารถขยายโครงสร้างทาง
ปัญญาให้แก่ผู้เรียนได้ ผู้เรียนต้องเป็นผู้สร้าง และขยาย
โครงสร้างทางปัญญาด้วยตนเอง
หลักการที่สาคัญในการออกแบบสิ่งแวดล้อมทางการ
เรียนรู้ตามแนวคอนสตรัคติวิสต์
สถานการณ์ปัญหา (Problem Base) ทาหน้าที่กระตุ้นให้
ผู้เรียน เกิดการเรียนรู้
แหล่งเรียนรู้ (Resource) เป็นที่รวบรวมข้อมูล เนื้อหาสารสนเทศ
ฐานความช่วยเหลือ (Scaffolding)
ให้คาแนะนา แนวทางตลอดจนกลยุทธ์ต่างๆในการแก้ปัญหาหรือ
ปฏิบัติภารกิจการเรียนรู้
การโค้ช (Coaching) ครูทาหน้าที่เป็น “ผู้ฝึกสอน”
การร่วมมือกันแก้ปัญหา (Collaboration)
สนับสนุนให้ผู้เรียนได้แลกเปลี่ยนประสบการณ์กับผู้อื่น เพื่อ
ขยายมุมมองให้สามารถแก้ปัญหาด้วยได้ตนเอง

More Related Content

Viewers also liked (6)

Chapter 7
Chapter 7Chapter 7
Chapter 7
 
นวัตกรรมบทที่ 7.1
นวัตกรรมบทที่ 7.1นวัตกรรมบทที่ 7.1
นวัตกรรมบทที่ 7.1
 
Lesson7
Lesson7Lesson7
Lesson7
 
Chapter 7
Chapter 7Chapter 7
Chapter 7
 
Powerpoint7
Powerpoint7Powerpoint7
Powerpoint7
 
Chapter 7
Chapter 7Chapter 7
Chapter 7
 

Similar to บท7

Chapter 7
Chapter 7Chapter 7
Chapter 7FerNews
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7Pari Za
 
นวัตกรรมบทที่ 7
นวัตกรรมบทที่ 7นวัตกรรมบทที่ 7
นวัตกรรมบทที่ 7Setthawut Ruangbun
 
บทที่ 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
บทที่ 7 นวัตกรรมทางการศึกษาบทที่ 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
บทที่ 7 นวัตกรรมทางการศึกษาSasitorn Seajew
 
บทที่ 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
บทที่ 7 นวัตกรรมทางการศึกษาบทที่ 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
บทที่ 7 นวัตกรรมทางการศึกษาpohn
 
บทที่7 นวัตกรรมทางการศึกษา
บทที่7 นวัตกรรมทางการศึกษาบทที่7 นวัตกรรมทางการศึกษา
บทที่7 นวัตกรรมทางการศึกษาAomJi Math-ed
 
บทท 7 นว_ตกรรมทางการศ_กษา
บทท  7 นว_ตกรรมทางการศ_กษาบทท  7 นว_ตกรรมทางการศ_กษา
บทท 7 นว_ตกรรมทางการศ_กษาN'Fern White-Choc
 
สถานการณ์ปัญหาบทที่ 7
สถานการณ์ปัญหาบทที่ 7สถานการณ์ปัญหาบทที่ 7
สถานการณ์ปัญหาบทที่ 7oraya-s
 
งานนำเสนอ Chapter 7
งานนำเสนอ Chapter 7งานนำเสนอ Chapter 7
งานนำเสนอ Chapter 7Markker Promma
 
งานบทที่เจ็ด
งานบทที่เจ็ดงานบทที่เจ็ด
งานบทที่เจ็ดVi Mengdie
 
งานกลุ่ม Chapter 7
งานกลุ่ม Chapter 7งานกลุ่ม Chapter 7
งานกลุ่ม Chapter 7Pronsawan Petklub
 
Office of Human Development
Office of Human DevelopmentOffice of Human Development
Office of Human Developmentpaiboonrat
 
Chapter7
Chapter7Chapter7
Chapter7Bee Bie
 
Chapter7
Chapter7Chapter7
Chapter7Bee Bie
 
Multimedia learning environment
Multimedia learning environmentMultimedia learning environment
Multimedia learning environmentTar Bt
 
ใบความรู้ที่1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับมัลติมิเดีย
ใบความรู้ที่1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับมัลติมิเดียใบความรู้ที่1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับมัลติมิเดีย
ใบความรู้ที่1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับมัลติมิเดียคีตะบลู รักคำภีร์
 

Similar to บท7 (20)

Chapter 7
Chapter 7Chapter 7
Chapter 7
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
นวัตกรรมบทที่ 7
นวัตกรรมบทที่ 7นวัตกรรมบทที่ 7
นวัตกรรมบทที่ 7
 
บทที่ 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
บทที่ 7 นวัตกรรมทางการศึกษาบทที่ 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
บทที่ 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
 
บทที่ 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
บทที่ 7 นวัตกรรมทางการศึกษาบทที่ 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
บทที่ 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
 
บทที่7 นวัตกรรมทางการศึกษา
บทที่7 นวัตกรรมทางการศึกษาบทที่7 นวัตกรรมทางการศึกษา
บทที่7 นวัตกรรมทางการศึกษา
 
บทท 7 นว_ตกรรมทางการศ_กษา
บทท  7 นว_ตกรรมทางการศ_กษาบทท  7 นว_ตกรรมทางการศ_กษา
บทท 7 นว_ตกรรมทางการศ_กษา
 
สถานการณ์ปัญหาบทที่ 7
สถานการณ์ปัญหาบทที่ 7สถานการณ์ปัญหาบทที่ 7
สถานการณ์ปัญหาบทที่ 7
 
งานนำเสนอ Chapter 7
งานนำเสนอ Chapter 7งานนำเสนอ Chapter 7
งานนำเสนอ Chapter 7
 
งานบทที่เจ็ด
งานบทที่เจ็ดงานบทที่เจ็ด
งานบทที่เจ็ด
 
Charpter7miii
Charpter7miiiCharpter7miii
Charpter7miii
 
1413315061 chapter7
1413315061 chapter71413315061 chapter7
1413315061 chapter7
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
งานกลุ่ม Chapter 7
งานกลุ่ม Chapter 7งานกลุ่ม Chapter 7
งานกลุ่ม Chapter 7
 
Office of Human Development
Office of Human DevelopmentOffice of Human Development
Office of Human Development
 
Chapter7
Chapter7Chapter7
Chapter7
 
Chapter7
Chapter7Chapter7
Chapter7
 
Multimedia learning environment
Multimedia learning environmentMultimedia learning environment
Multimedia learning environment
 
201704 open ended-research
201704 open ended-research201704 open ended-research
201704 open ended-research
 
ใบความรู้ที่1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับมัลติมิเดีย
ใบความรู้ที่1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับมัลติมิเดียใบความรู้ที่1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับมัลติมิเดีย
ใบความรู้ที่1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับมัลติมิเดีย
 

บท7