SlideShare a Scribd company logo
1 of 16
Download to read offline
Flowchart เป็นผังงานที่ใช้แสดงแนวคิด
หรื อ ขั้ น ตอนการท างานของโปรแกรม และเป็ น
เครื่องมือที่ช่วยให้มองเห็นภาพรวมของโปรแกรมที่
ทาให้เราเขียนโปรแกรมได้ง่ายยิ่งขึ้น เนื่องจากเรา
สามารถมองเห็นแนวคิด และทิศทางการทางานของ
โปรแกรมนั่นเอง โดยใช้สัญลักษณ์แทนคาอธิบาย ไม่
ว่า จะเป็น การใช้ ก รอบสี่เ หลี่ย มเป็ น สั ญ ลั ก ษณ์แ ทน
การประมวลผล หรื อ จะเป็ น การใช้ ลู ก ศรแทนทิ ศ
ทางการทางานของโปรแกรม
สัญลักษณ์       ชื่อสัญลักษณ์                    คาอธิบาย
                   เทอร์มินัล        แสดงจุ ด เริ่ ม ต้ น และจุ ด จบการ
                  (Terminal)         ทางาน
            การนาข้อมูลเข้าด้วยมือ   แสดงการน าข้ อ มู ล เข้ า ด้ ว ยมื อ
            (Manual Input Symbol)    มนุษย์ เช่น ใช้แผงแป้นอักขระหรือ
                                     เมาส์
             การรับเข้าหรือแสดงผล    แสดงการรั บ ข้ อ มู ล เข้ า หรื อ แสดง
            (Input/Output Symbol)    ผลลัพธ์โดยไม่ระบุชนิดของอุปกรณ์
                                     ที่ใช้
                 การแสดงผล           แสดงผลลั พ ธ์ ใ นขณะประมวลผล
              (Display Symbol)       เช่น การแสดงผลลัพธ์ทางหน้าจอ
สัญลักษณ์        ชื่อสัญลักษณ์                        คาอธิบาย
                 เทปแม่เหล็ก       แ ส ด ง ก า ร รั บ ข้ อ มู ล เ ข้ า ห รื อ
            (Magnetic Tape Symbol) แสดงผลโดยใช้เทปแม่เหล็กเป็นสื่อ
                 จามแม่เหล็ก             แ ส ด ง ก า ร รั บ ข้ อ มู ล เ ข้ า ห รื อ
             (Magnetic Disk Tape)        แสดงผลโดยใช้จานแม่เหล็กเป็นสื่อ
                 ดรัมแม่เหล็ก      แ ส ด ง ก า ร รั บ ข้ อ มู ล เ ข้ า ห รื อ
            (Magnetic Drum Symbol) แสดงผลโดยใช้ดรัมแม่เหล็กเป็นสื่อ
                   บัตรเจาะรู            แ ส ด ง ก า ร รั บ ข้ อ มู ล เ ข้ า ห รื อ
             (Punched Card Sybol)        แสดงผลโดยใช้บัตรเจาะรูเป็นสื่อ
สัญลักษณ์       ชื่อสัญลักษณ์                 คาอธิบาย
               เทปกระดาษเจาะรู    แสดงการรับข้อมูลเข้าหรือแสดงผล
            (Punched Tape Symbol) โดยใช้เทปกระดาษเจาะรูเป็นสื่อ
                 แกนแม่เหล็ก       แสดงการรับข้อมูลเข้าหรือแสดงผล
                (Core Symbol)      โดยใช้แกนแม่เหล็กเป็นสื่อ
             เอกสารหรือสิ่งพิมพ์   แสดงผลลั พ ธ์ บ นกระดาษโดย
             (Document Symbol)     เครื่องพิมพ์
                 การเตรียม         แสดงการก าหนดข้ อ มู ล ล่ ว งหน้ า
            (Preparation Symbol)   เพื่อทางานหนึ่ง ๆ ที่มีการทางาน
                                   ซ้า ๆ
สัญลักษณ์        ชื่อสัญลักษณ์                   คาอธิบาย
                 การประมวลผล          ประมวลผลการทางานของ
               (Process Symbol)       โปรแกรม
                  การตัดสินใจ         ตรวจสอบเงื่ อ นไขเพื่ อ เลื อ กการ
               (Decision Symbol)      ทางานอย่างใดอย่างหนึ่ง
            จุดต่อเนื่องในหน้าเดียวกัน จุดเชื่อมต่อของแผนงาน
              (On –page Connector
                       Symbol)
            จุดต่อเนื่องที่อยู่คนละหน้า ขึ้นหน้าใหม่
              (Off –page Connector
                       Symbol)
สัญลักษณ์      ชื่อสัญลักษณ์                   คาอธิบาย
             ลูกศรแสดงลาดับการ      แสดงทิ ศ ทางการท างานของ
              ทางาน (Flow Line)     โปรแกรม
              การเชื่อมโยงสื่อสาร   แสดงการส่ ง ข้ อ มู ล ผ่ า นระบบ
             (Communication Link    โทรคมนา คม เช่ น โท รศั พท์
                   Symbol)          โทรสาร ฯลฯ
                 การอธิบาย          แสดงการอธิบายส่วนใด ๆ ของผัง
            (Comment or Annotion    งานเพิ่มเติม เพื่อให้เกิดความเข้าใจ
                   Symbol)          มากขึ้น
                   การรวม           แสดงการนาข้อมูลตั้งแต่ 2 ชุดขึ้นไป
               (Mergr Symbol)       มารวมเป็นชุดเดียวกัน
สัญลักษณ์    ชื่อสัญลักษณ์               คาอธิบาย
                การแยก         แสดงการแยกข้ อ มู ล 1        ชุ ด
            (Extract Symbol)   ออกเป็นหลาย ๆ ชุด
            การรวมการแยก       แสดงให้เห็นถึงการได้มาของข้อมูล
                  ()           ตั้งแต่ 2 ชุดขึ้นไป
                การเรียง       แสดงการเรียงลาดับข้อมูลให้เป็นไป
             (Sort Symbol)     ตามลาดับที่ต้องการ
หลักการเขียน Flowchart
1   Flowchart ต้องมีจดเริ่มต้นและจุดสิ้นสุดเสมอ
                     ุ
2   เลือกใช้สัญลักษณ์เพื่อสื่อความหมายให้ถูกต้อง
3   ใช้ลูกศรกาหนดทิศทางการทางานของโปรแกรมจากบนลงล่าง จากซ้ายไปขวา
    โดยเรียงตามลาดับการทางานของคาสั่ง ไม่ควรสลับการทางานขึ้นบ้างลงบ้าง
4   แผนภาพทุกตัวต้องมีลูกศรเข้าและออก ยกเว้นจุดเริ่มต้นและจุดสิ้นสุดการ
    ทางานเท่านั้น
5   ลูกศรทุกตัวต้องออกจากแผนภาพและชี้ที่แผนภาพเสมอ
6   คาอธิบายในแผนภาพควรสั้น ๆ เข้าใจง่าย
7   ไม่ควรใช้ลูกศรชี้ไกลเกินไป หากจาเป็นให้ใช้การเชื่อมต่อแทน
การทางานแบบตามลาดับ (Sequence)


หลักการเขียน        การเลือกกระทาตามเงื่อนไข (Decision)
 Flowchart
                   การทาซ้า (Loop)


                            ง่ายจุงเบย
การทางานแบบตามลาดับ (Sequence)
• การทางานแบบตามลาดับ (Sequence) เป็นรูปแบบการเขียน
โปรแกรมที่ง่ายที่สุด มีลาดับการทางานจากบนลงล่าง มีการทางาน
ทีละคาสั่งจนจบการทางาน มีรูปแบบการทางาน ดังรูป
                           เริ่มต้น


                          ประมวลผล


                          ประมวลผล


                             จบ
ตัวอย่างการเขียน Flowchart การทางานแบบตามลาดับ (Sequence)
              ขั้นตอนการทาฝนหลวง
                                   เริ่มต้น


                                   ก่อกวน


                                 เลี้ยงให้อ้วน


                                    โจมตี


                                     จบ
การเลือกทางานตามเงื่อนไข (Decision)
• การเลือกทางานตามเงื่อนไข (Decision) เป็นรูปแบบการเขียน
โปรแกรมที่ มี ท างเลื อ กเพื่ อ ตั ด สิ น ใจ ซึ่ ง โปรแกรมจะตรวจสอบ
เงื่ อ นไขเพื่ อ เลื อ กทิ ศ ทางการท างานของโปรแกรม โดยเลื อ ก
ทางเลือกใดทางเลือกหนึ่งจากสองทางเลือกเท่านั้นคือ
       ทางานในทางเลือกหนึ่งเมื่อเงื่อนไขเป็นจริง (True)

       ทางานในทางเลือกหนึ่งเมื่อเงื่อนไขเป็นจริง (False)
 • เมื่อทางานในแต่ละทางเลือกเสร็จแล้ว โปรแกรมก็จะทางานใน
 ขั้นตอนต่อไป
การเลือกทางานตามเงื่อนไข (Decision)
                เริ่มต้น


              ประมวลผล

       จริง                     เท็จ
              ตรวจสอบเงื่อนไข


ประมวลผล                          ประมวลผล




                  จบ
การทาซ้า (Loop)
           การทาซ้า (Loop) เป็นรูปแบบการเขียนโปรแกรมที่มีการทางานใน
ขั้น ตอนเดิมซ้า ๆ กัน หลาย ๆ รอบ ซึ่งการทางานของโปรแกรมจะมีการ
ตรวจสอบเงื่อนไขเพื่อกาหนดให้เข้าทางานในลูป หรือออกจากลูปการทางาน
ซึ่งมีรูปแบบการทางาน ดังรูป เริ่มต้น

                            ประมวลผล
                                              เท็จ
                            ตรวจสอบเงื่อนไข
                                     จริง
                            ประมวลผล


                            ประมวลผล
                                 จบ
ที่มา : คู่มืออบรมครูวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ คอมพิวเตอร์ โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย
        หนังสือเรียนรายวิชาเพิ่มเติม การเขียนโปรแกรมเบื้องต้นด้วยภาษา C บริษทซัคเซสมีเดีย
        คู่มือเรียนเขียนโปรแกรมภาษา สานักพิมพ์ IDC PREMIER

More Related Content

What's hot

การเขียนผังงาน(Flowchart)
การเขียนผังงาน(Flowchart)การเขียนผังงาน(Flowchart)
การเขียนผังงาน(Flowchart)
Kroopop Su
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 การเขียนโปรแกรม
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 การเขียนโปรแกรมหน่วยการเรียนรู้ที่ 2 การเขียนโปรแกรม
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 การเขียนโปรแกรม
Fon Edu Com-sci
 
การเขียนผังงาน (Flowchart)
การเขียนผังงาน (Flowchart)การเขียนผังงาน (Flowchart)
การเขียนผังงาน (Flowchart)
Fair Kung Nattaput
 
Doc 40720.914467592650
Doc 40720.914467592650Doc 40720.914467592650
Doc 40720.914467592650
Jakkree Eiei
 
การเขียนผังงานเบื้องต้น
การเขียนผังงานเบื้องต้นการเขียนผังงานเบื้องต้น
การเขียนผังงานเบื้องต้น
พัน พัน
 
การเขียนผังงาน
การเขียนผังงานการเขียนผังงาน
การเขียนผังงาน
Amanda Mam
 
ความหมายของผังงาน
ความหมายของผังงานความหมายของผังงาน
ความหมายของผังงาน
9inglobin
 
การเขียนผังงาน
การเขียนผังงานการเขียนผังงาน
การเขียนผังงาน
Isaku JuJu
 
อัลกอริทึมและการวิเคราะห์ปัญหา
อัลกอริทึมและการวิเคราะห์ปัญหาอัลกอริทึมและการวิเคราะห์ปัญหา
อัลกอริทึมและการวิเคราะห์ปัญหา
skiats
 
การเขียนผังงาน
การเขียนผังงานการเขียนผังงาน
การเขียนผังงาน
Cai Ubru
 
การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐานการเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
Nookky Anapat
 

What's hot (20)

การเขียนผังงาน(Flowchart)
การเขียนผังงาน(Flowchart)การเขียนผังงาน(Flowchart)
การเขียนผังงาน(Flowchart)
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 การเขียนโปรแกรม
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 การเขียนโปรแกรมหน่วยการเรียนรู้ที่ 2 การเขียนโปรแกรม
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 การเขียนโปรแกรม
 
การเขียนผังงาน (Flowchart)
การเขียนผังงาน (Flowchart)การเขียนผังงาน (Flowchart)
การเขียนผังงาน (Flowchart)
 
1 3สัญลักษณ์ผังงาน
1 3สัญลักษณ์ผังงาน1 3สัญลักษณ์ผังงาน
1 3สัญลักษณ์ผังงาน
 
Doc 40720.914467592650
Doc 40720.914467592650Doc 40720.914467592650
Doc 40720.914467592650
 
3.8 การทำงานแบบลำดับ
3.8 การทำงานแบบลำดับ3.8 การทำงานแบบลำดับ
3.8 การทำงานแบบลำดับ
 
การเขียนผังงานเบื้องต้น
การเขียนผังงานเบื้องต้นการเขียนผังงานเบื้องต้น
การเขียนผังงานเบื้องต้น
 
Chapter05
Chapter05Chapter05
Chapter05
 
การเขียนผังงาน
การเขียนผังงานการเขียนผังงาน
การเขียนผังงาน
 
1122
11221122
1122
 
ความหมายของผังงาน
ความหมายของผังงานความหมายของผังงาน
ความหมายของผังงาน
 
การเขียนผังงาน
การเขียนผังงานการเขียนผังงาน
การเขียนผังงาน
 
Chapter1.1
Chapter1.1Chapter1.1
Chapter1.1
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
อัลกอริทึมและการวิเคราะห์ปัญหา
อัลกอริทึมและการวิเคราะห์ปัญหาอัลกอริทึมและการวิเคราะห์ปัญหา
อัลกอริทึมและการวิเคราะห์ปัญหา
 
Ppt 02-flowchart
Ppt 02-flowchartPpt 02-flowchart
Ppt 02-flowchart
 
การเขียนผังงาน
การเขียนผังงานการเขียนผังงาน
การเขียนผังงาน
 
ภาษา C#
ภาษา C#ภาษา C#
ภาษา C#
 
Vb6 5 ข้อมูลและตัวแปร
Vb6 5 ข้อมูลและตัวแปร Vb6 5 ข้อมูลและตัวแปร
Vb6 5 ข้อมูลและตัวแปร
 
การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐานการเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
 

Similar to 3.7 การเขียนผังงาน

Programming
ProgrammingProgramming
Programming
sa
 
การเขียนแผนภาพ DFD
การเขียนแผนภาพ DFDการเขียนแผนภาพ DFD
การเขียนแผนภาพ DFD
skiats
 
ผังงาน ปฏิพัทธ์ สคพ.2 เลขที่4
ผังงาน ปฏิพัทธ์ สคพ.2 เลขที่4ผังงาน ปฏิพัทธ์ สคพ.2 เลขที่4
ผังงาน ปฏิพัทธ์ สคพ.2 เลขที่4
Patipat04
 
หลักการออกแบบโปรแกรม
หลักการออกแบบโปรแกรมหลักการออกแบบโปรแกรม
หลักการออกแบบโปรแกรม
Inam Chatsanova
 
งานนำเสนอ1 คอม
งานนำเสนอ1 คอมงานนำเสนอ1 คอม
งานนำเสนอ1 คอม
Passawan' Koohar
 
Algorithm flow chart
Algorithm flow chartAlgorithm flow chart
Algorithm flow chart
bbgunner47
 
หลักการเบื้องต้นในการเขียนโปรแกรม3
หลักการเบื้องต้นในการเขียนโปรแกรม3หลักการเบื้องต้นในการเขียนโปรแกรม3
หลักการเบื้องต้นในการเขียนโปรแกรม3
sup11
 
งานนำเสนอ1 คอม
งานนำเสนอ1 คอมงานนำเสนอ1 คอม
งานนำเสนอ1 คอม
nuknook
 
ใบความรู้ที่ 2 หลักการพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 2 หลักการพื้นฐานของคอมพิวเตอร์ใบความรู้ที่ 2 หลักการพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 2 หลักการพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
Tay Chaloeykrai
 

Similar to 3.7 การเขียนผังงาน (20)

Programming
ProgrammingProgramming
Programming
 
Chapter02
Chapter02Chapter02
Chapter02
 
การเขียนแผนภาพ DFD
การเขียนแผนภาพ DFDการเขียนแผนภาพ DFD
การเขียนแผนภาพ DFD
 
Ppt 01
Ppt 01Ppt 01
Ppt 01
 
ผังงาน ปฏิพัทธ์ สคพ.2 เลขที่4
ผังงาน ปฏิพัทธ์ สคพ.2 เลขที่4ผังงาน ปฏิพัทธ์ สคพ.2 เลขที่4
ผังงาน ปฏิพัทธ์ สคพ.2 เลขที่4
 
Chapter1.1
Chapter1.1Chapter1.1
Chapter1.1
 
หลักการออกแบบโปรแกรม
หลักการออกแบบโปรแกรมหลักการออกแบบโปรแกรม
หลักการออกแบบโปรแกรม
 
งานนำเสนอ1 คอม
งานนำเสนอ1 คอมงานนำเสนอ1 คอม
งานนำเสนอ1 คอม
 
การเขียนโปรแกรมเบื้องต้น
การเขียนโปรแกรมเบื้องต้นการเขียนโปรแกรมเบื้องต้น
การเขียนโปรแกรมเบื้องต้น
 
11
1111
11
 
Lesson5 devenlopment-program
Lesson5 devenlopment-programLesson5 devenlopment-program
Lesson5 devenlopment-program
 
การเขียนผังงาน (290653)
การเขียนผังงาน (290653)การเขียนผังงาน (290653)
การเขียนผังงาน (290653)
 
การเขียนผังงาน (290653)
การเขียนผังงาน (290653)การเขียนผังงาน (290653)
การเขียนผังงาน (290653)
 
ภาษาซี
ภาษาซีภาษาซี
ภาษาซี
 
ผังงาน
ผังงานผังงาน
ผังงาน
 
Algorithm flow chart
Algorithm flow chartAlgorithm flow chart
Algorithm flow chart
 
หลักการเบื้องต้นในการเขียนโปรแกรม3
หลักการเบื้องต้นในการเขียนโปรแกรม3หลักการเบื้องต้นในการเขียนโปรแกรม3
หลักการเบื้องต้นในการเขียนโปรแกรม3
 
Computer system
Computer systemComputer system
Computer system
 
งานนำเสนอ1 คอม
งานนำเสนอ1 คอมงานนำเสนอ1 คอม
งานนำเสนอ1 คอม
 
ใบความรู้ที่ 2 หลักการพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 2 หลักการพื้นฐานของคอมพิวเตอร์ใบความรู้ที่ 2 หลักการพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 2 หลักการพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
 

More from รัสนา สิงหปรีชา

More from รัสนา สิงหปรีชา (20)

บทที่ 6-การใช้งานเทคโนโลยีสารสนเทศอย่างมีความรับผิดชอบ
บทที่ 6-การใช้งานเทคโนโลยีสารสนเทศอย่างมีความรับผิดชอบบทที่ 6-การใช้งานเทคโนโลยีสารสนเทศอย่างมีความรับผิดชอบ
บทที่ 6-การใช้งานเทคโนโลยีสารสนเทศอย่างมีความรับผิดชอบ
 
บทที่ 1 เทคโนโลยีสมัยใหม่เอาลงบล๊อก
บทที่ 1 เทคโนโลยีสมัยใหม่เอาลงบล๊อกบทที่ 1 เทคโนโลยีสมัยใหม่เอาลงบล๊อก
บทที่ 1 เทคโนโลยีสมัยใหม่เอาลงบล๊อก
 
3.1 การทำงานขั้นพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
3.1 การทำงานขั้นพื้นฐานของคอมพิวเตอร์3.1 การทำงานขั้นพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
3.1 การทำงานขั้นพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
 
3.1 การทำงานขั้นพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
3.1 การทำงานขั้นพื้นฐานของคอมพิวเตอร์3.1 การทำงานขั้นพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
3.1 การทำงานขั้นพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
 
3.1 องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
3.1 องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์3.1 องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
3.1 องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
 
บทที่ 2 ข้อมูล สารสนเทศ และความรู้
บทที่ 2  ข้อมูล สารสนเทศ และความรู้บทที่ 2  ข้อมูล สารสนเทศ และความรู้
บทที่ 2 ข้อมูล สารสนเทศ และความรู้
 
3.8 การทำงานตามลำดับ
3.8 การทำงานตามลำดับ3.8 การทำงานตามลำดับ
3.8 การทำงานตามลำดับ
 
3.3. ชนิดของข้อมูล
3.3. ชนิดของข้อมูล3.3. ชนิดของข้อมูล
3.3. ชนิดของข้อมูล
 
3.3. ชนิดของข้อมูล
3.3. ชนิดของข้อมูล3.3. ชนิดของข้อมูล
3.3. ชนิดของข้อมูล
 
3.3. ชนิดของข้อมูล
3.3. ชนิดของข้อมูล3.3. ชนิดของข้อมูล
3.3. ชนิดของข้อมูล
 
3.2 ตัวแปรและคำสงวน
3.2 ตัวแปรและคำสงวน3.2 ตัวแปรและคำสงวน
3.2 ตัวแปรและคำสงวน
 
คู่มือนักเรียน 3.1
คู่มือนักเรียน 3.1คู่มือนักเรียน 3.1
คู่มือนักเรียน 3.1
 
คู่มือครู
คู่มือครูคู่มือครู
คู่มือครู
 
3.1 โครงสร้างของภาษาซี
3.1 โครงสร้างของภาษาซี3.1 โครงสร้างของภาษาซี
3.1 โครงสร้างของภาษาซี
 
3.8 การทำงานตามลำดับ
3.8 การทำงานตามลำดับ3.8 การทำงานตามลำดับ
3.8 การทำงานตามลำดับ
 
3.6 ฟังก์ชัน
3.6 ฟังก์ชัน3.6 ฟังก์ชัน
3.6 ฟังก์ชัน
 
3.5 การแสดงผลและการรับข้อมูล
3.5 การแสดงผลและการรับข้อมูล3.5 การแสดงผลและการรับข้อมูล
3.5 การแสดงผลและการรับข้อมูล
 
3.4 ตัวดำเนินการและนิพจน์
3.4 ตัวดำเนินการและนิพจน์3.4 ตัวดำเนินการและนิพจน์
3.4 ตัวดำเนินการและนิพจน์
 
3.3 ชนิดของข้อมูล
3.3 ชนิดของข้อมูล3.3 ชนิดของข้อมูล
3.3 ชนิดของข้อมูล
 
3.1 โครงสร้างของภาษาซี
3.1 โครงสร้างของภาษาซี3.1 โครงสร้างของภาษาซี
3.1 โครงสร้างของภาษาซี
 

3.7 การเขียนผังงาน

  • 1.
  • 2. Flowchart เป็นผังงานที่ใช้แสดงแนวคิด หรื อ ขั้ น ตอนการท างานของโปรแกรม และเป็ น เครื่องมือที่ช่วยให้มองเห็นภาพรวมของโปรแกรมที่ ทาให้เราเขียนโปรแกรมได้ง่ายยิ่งขึ้น เนื่องจากเรา สามารถมองเห็นแนวคิด และทิศทางการทางานของ โปรแกรมนั่นเอง โดยใช้สัญลักษณ์แทนคาอธิบาย ไม่ ว่า จะเป็น การใช้ ก รอบสี่เ หลี่ย มเป็ น สั ญ ลั ก ษณ์แ ทน การประมวลผล หรื อ จะเป็ น การใช้ ลู ก ศรแทนทิ ศ ทางการทางานของโปรแกรม
  • 3. สัญลักษณ์ ชื่อสัญลักษณ์ คาอธิบาย เทอร์มินัล แสดงจุ ด เริ่ ม ต้ น และจุ ด จบการ (Terminal) ทางาน การนาข้อมูลเข้าด้วยมือ แสดงการน าข้ อ มู ล เข้ า ด้ ว ยมื อ (Manual Input Symbol) มนุษย์ เช่น ใช้แผงแป้นอักขระหรือ เมาส์ การรับเข้าหรือแสดงผล แสดงการรั บ ข้ อ มู ล เข้ า หรื อ แสดง (Input/Output Symbol) ผลลัพธ์โดยไม่ระบุชนิดของอุปกรณ์ ที่ใช้ การแสดงผล แสดงผลลั พ ธ์ ใ นขณะประมวลผล (Display Symbol) เช่น การแสดงผลลัพธ์ทางหน้าจอ
  • 4. สัญลักษณ์ ชื่อสัญลักษณ์ คาอธิบาย เทปแม่เหล็ก แ ส ด ง ก า ร รั บ ข้ อ มู ล เ ข้ า ห รื อ (Magnetic Tape Symbol) แสดงผลโดยใช้เทปแม่เหล็กเป็นสื่อ จามแม่เหล็ก แ ส ด ง ก า ร รั บ ข้ อ มู ล เ ข้ า ห รื อ (Magnetic Disk Tape) แสดงผลโดยใช้จานแม่เหล็กเป็นสื่อ ดรัมแม่เหล็ก แ ส ด ง ก า ร รั บ ข้ อ มู ล เ ข้ า ห รื อ (Magnetic Drum Symbol) แสดงผลโดยใช้ดรัมแม่เหล็กเป็นสื่อ บัตรเจาะรู แ ส ด ง ก า ร รั บ ข้ อ มู ล เ ข้ า ห รื อ (Punched Card Sybol) แสดงผลโดยใช้บัตรเจาะรูเป็นสื่อ
  • 5. สัญลักษณ์ ชื่อสัญลักษณ์ คาอธิบาย เทปกระดาษเจาะรู แสดงการรับข้อมูลเข้าหรือแสดงผล (Punched Tape Symbol) โดยใช้เทปกระดาษเจาะรูเป็นสื่อ แกนแม่เหล็ก แสดงการรับข้อมูลเข้าหรือแสดงผล (Core Symbol) โดยใช้แกนแม่เหล็กเป็นสื่อ เอกสารหรือสิ่งพิมพ์ แสดงผลลั พ ธ์ บ นกระดาษโดย (Document Symbol) เครื่องพิมพ์ การเตรียม แสดงการก าหนดข้ อ มู ล ล่ ว งหน้ า (Preparation Symbol) เพื่อทางานหนึ่ง ๆ ที่มีการทางาน ซ้า ๆ
  • 6. สัญลักษณ์ ชื่อสัญลักษณ์ คาอธิบาย การประมวลผล ประมวลผลการทางานของ (Process Symbol) โปรแกรม การตัดสินใจ ตรวจสอบเงื่ อ นไขเพื่ อ เลื อ กการ (Decision Symbol) ทางานอย่างใดอย่างหนึ่ง จุดต่อเนื่องในหน้าเดียวกัน จุดเชื่อมต่อของแผนงาน (On –page Connector Symbol) จุดต่อเนื่องที่อยู่คนละหน้า ขึ้นหน้าใหม่ (Off –page Connector Symbol)
  • 7. สัญลักษณ์ ชื่อสัญลักษณ์ คาอธิบาย ลูกศรแสดงลาดับการ แสดงทิ ศ ทางการท างานของ ทางาน (Flow Line) โปรแกรม การเชื่อมโยงสื่อสาร แสดงการส่ ง ข้ อ มู ล ผ่ า นระบบ (Communication Link โทรคมนา คม เช่ น โท รศั พท์ Symbol) โทรสาร ฯลฯ การอธิบาย แสดงการอธิบายส่วนใด ๆ ของผัง (Comment or Annotion งานเพิ่มเติม เพื่อให้เกิดความเข้าใจ Symbol) มากขึ้น การรวม แสดงการนาข้อมูลตั้งแต่ 2 ชุดขึ้นไป (Mergr Symbol) มารวมเป็นชุดเดียวกัน
  • 8. สัญลักษณ์ ชื่อสัญลักษณ์ คาอธิบาย การแยก แสดงการแยกข้ อ มู ล 1 ชุ ด (Extract Symbol) ออกเป็นหลาย ๆ ชุด การรวมการแยก แสดงให้เห็นถึงการได้มาของข้อมูล () ตั้งแต่ 2 ชุดขึ้นไป การเรียง แสดงการเรียงลาดับข้อมูลให้เป็นไป (Sort Symbol) ตามลาดับที่ต้องการ
  • 9. หลักการเขียน Flowchart 1 Flowchart ต้องมีจดเริ่มต้นและจุดสิ้นสุดเสมอ ุ 2 เลือกใช้สัญลักษณ์เพื่อสื่อความหมายให้ถูกต้อง 3 ใช้ลูกศรกาหนดทิศทางการทางานของโปรแกรมจากบนลงล่าง จากซ้ายไปขวา โดยเรียงตามลาดับการทางานของคาสั่ง ไม่ควรสลับการทางานขึ้นบ้างลงบ้าง 4 แผนภาพทุกตัวต้องมีลูกศรเข้าและออก ยกเว้นจุดเริ่มต้นและจุดสิ้นสุดการ ทางานเท่านั้น 5 ลูกศรทุกตัวต้องออกจากแผนภาพและชี้ที่แผนภาพเสมอ 6 คาอธิบายในแผนภาพควรสั้น ๆ เข้าใจง่าย 7 ไม่ควรใช้ลูกศรชี้ไกลเกินไป หากจาเป็นให้ใช้การเชื่อมต่อแทน
  • 10. การทางานแบบตามลาดับ (Sequence) หลักการเขียน การเลือกกระทาตามเงื่อนไข (Decision) Flowchart การทาซ้า (Loop) ง่ายจุงเบย
  • 11. การทางานแบบตามลาดับ (Sequence) • การทางานแบบตามลาดับ (Sequence) เป็นรูปแบบการเขียน โปรแกรมที่ง่ายที่สุด มีลาดับการทางานจากบนลงล่าง มีการทางาน ทีละคาสั่งจนจบการทางาน มีรูปแบบการทางาน ดังรูป เริ่มต้น ประมวลผล ประมวลผล จบ
  • 12. ตัวอย่างการเขียน Flowchart การทางานแบบตามลาดับ (Sequence) ขั้นตอนการทาฝนหลวง เริ่มต้น ก่อกวน เลี้ยงให้อ้วน โจมตี จบ
  • 13. การเลือกทางานตามเงื่อนไข (Decision) • การเลือกทางานตามเงื่อนไข (Decision) เป็นรูปแบบการเขียน โปรแกรมที่ มี ท างเลื อ กเพื่ อ ตั ด สิ น ใจ ซึ่ ง โปรแกรมจะตรวจสอบ เงื่ อ นไขเพื่ อ เลื อ กทิ ศ ทางการท างานของโปรแกรม โดยเลื อ ก ทางเลือกใดทางเลือกหนึ่งจากสองทางเลือกเท่านั้นคือ ทางานในทางเลือกหนึ่งเมื่อเงื่อนไขเป็นจริง (True) ทางานในทางเลือกหนึ่งเมื่อเงื่อนไขเป็นจริง (False) • เมื่อทางานในแต่ละทางเลือกเสร็จแล้ว โปรแกรมก็จะทางานใน ขั้นตอนต่อไป
  • 14. การเลือกทางานตามเงื่อนไข (Decision) เริ่มต้น ประมวลผล จริง เท็จ ตรวจสอบเงื่อนไข ประมวลผล ประมวลผล จบ
  • 15. การทาซ้า (Loop) การทาซ้า (Loop) เป็นรูปแบบการเขียนโปรแกรมที่มีการทางานใน ขั้น ตอนเดิมซ้า ๆ กัน หลาย ๆ รอบ ซึ่งการทางานของโปรแกรมจะมีการ ตรวจสอบเงื่อนไขเพื่อกาหนดให้เข้าทางานในลูป หรือออกจากลูปการทางาน ซึ่งมีรูปแบบการทางาน ดังรูป เริ่มต้น ประมวลผล เท็จ ตรวจสอบเงื่อนไข จริง ประมวลผล ประมวลผล จบ
  • 16. ที่มา : คู่มืออบรมครูวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ คอมพิวเตอร์ โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย หนังสือเรียนรายวิชาเพิ่มเติม การเขียนโปรแกรมเบื้องต้นด้วยภาษา C บริษทซัคเซสมีเดีย คู่มือเรียนเขียนโปรแกรมภาษา สานักพิมพ์ IDC PREMIER