SlideShare a Scribd company logo
1 of 6
Download to read offline
1. ส่วนของเฮดเดอร์ไฟล์(Header File or Processing Directive) ส่วนนี้จะขึ้นต้นด้วยเครื่องหมาย # เสมอ การทางาน ของคอมไพเลอร์จะทางานในส่วนนี้เป็นส่วนแรก จะเป็นส่วนที่ เก็บไลบราลีมาตรฐานของภาษา C ซึ่งจะถูกดึงเข้ามารวมกับ โปรแกรมในขณะแปลภาษาโปรแกรม (Compile) โดยใช้คาสั่ง # Include ซึ่งสามารถเขียนได้ 2 รูปแบบ คือ 
•รูปแบบที่ 1 #include<HeaderName> 
•รูปแบบที่ 2 #include“HeaderName” โครงสร้างของภาษา C 
ในโปรแกรมที่พัฒนาด้วยภาษา C ทุกโปรแกรมจะมีโครงสร้าง การพัฒนาไม่แตกต่างกัน ซึ่งประกอบด้วย 6 ส่วนหลัก ๆ โดยที่แต่ละ ส่วนมีหน้าที่แตกต่างกัน ดังนี้
แบบที่ใช้เครื่องหมาย <…> คอมไพเลอร์จะค้นหาเฮดเดอร์ จากไลบราลีของภาษา C เพียงที่เดียวเท่านั้น ส่วนที่ใช้ เครื่องหมาย “…” คอมไพเลอร์จะค้นหาเฮดเดอร์จากไลบราลีที่ เก็บ Source Code ของเราก่อน ถ้าหากไม่เจอก็จะไปค้นหาที่ไล บราลีของภาษา C และเฮดเดอร์ไฟล์นี้จะมีนามสกุลเป็น .h เท่านั้น 
ในการเขียนโปรแกรมภาษา C เฮดเดอร์ไฟล์ที่เก็บไลบราลี มาตรฐานในการจัดการเกี่ยวกับอินพุต และเอาต์พุตของ โปรแกรมก็คือ stdio.h ซึ่งถือว่าเป็นส่วนสาคัญที่ขาดไม่ได้ 
โครงสร้างของภาษา C
2. ส่วนของตัวแปร Global เป็นส่วนประกาศตัวแปรที่สามารถใช้ ร่วมกันได้ทั้งโปรแกรม ซึ่งส่วนนี้จะมีหรือไม่มีก็ได้ 
3. ส่วนของฟังก์ชัน (Function) เป็นส่วนการทางานของ โปรแกรม ในโครงสร้างภาษา C จะบังคับให้มีอย่างน้อย 1 ฟังก์ชัน คือ ฟังก์ชัน main() ซึ่งเป็นฟังก์ชันเริ่มการทางานของ โปรแกรม โดยในขอบเขตของฟังก์ชันจะเริ่มต้นด้วยเครื่องหมาย { และสิ้นสุดด้วยเครื่องหมาย }
5. ส่วนของตัวโปรแกรม เป็นส่วนคาสั่งการทางานของ โปรแกรม โดยที่แต่ละคาสั่งจะต้องจบด้วยเครื่องหมาย ; เสมอ 
6. ส่วนของตัวส่งค่ากลับ เป็นส่วนของการส่งค่ากลับเมื่อฟังก์ชัน จบการทางาน โดยค่าที่ส่งกลับนั้นจะต้องเป็นค่าที่มีชนิดของ ข้อมูลตรงกับชนิดของข้อมูลที่ฟังก์ชันคืนค่ากลับ (Return Type) ในกรณีไม่ต้องการให้ฟังก์ชันมีการส่งค่ากลับ สามารถกาหนดได้ โดยใช้คีย์เวิร์ด void 
4. ส่วนของตัวแปร Local เป็นส่วนประกาศตัวแปรที่สามารถ ใช้ได้เฉพาะภายในฟังก์ชันของตนเองเท่านั้น ซึ่งส่วนนี้จะมี หรือไม่มีก็ได้
ที่มา : คู่มืออบรมครูวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ คอมพิวเตอร์ โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย 
หนังสือเรียนรายวิชาเพิ่มเติม การเขียนโปรแกรมเบื้องต้นด้วยภาษา C บริษทซัคเซสมีเดีย 
คู่มือเรียนเขียนโปรแกรมภาษา สานักพิมพ์ IDC PREMIER

More Related Content

What's hot

งานนำเสนอ การเขียนคำสั่่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
งานนำเสนอ การเขียนคำสั่่งควบคุมขั้นพื้นฐานงานนำเสนอ การเขียนคำสั่่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
งานนำเสนอ การเขียนคำสั่่งควบคุมขั้นพื้นฐานNoTe Tumrong
 
บทที่ 6 การพัฒนาไมโครคอนดทรเลอร์ด้วยโปรแกรม keil pk51
บทที่ 6 การพัฒนาไมโครคอนดทรเลอร์ด้วยโปรแกรม keil pk51บทที่ 6 การพัฒนาไมโครคอนดทรเลอร์ด้วยโปรแกรม keil pk51
บทที่ 6 การพัฒนาไมโครคอนดทรเลอร์ด้วยโปรแกรม keil pk51Nattawut Kathaisong
 
การเขียนโปรแกรมภาษาซี
การเขียนโปรแกรมภาษาซีการเขียนโปรแกรมภาษาซี
การเขียนโปรแกรมภาษาซีchoco336
 
การเข้าใช้โปรแกรมซี Dev C++
การเข้าใช้โปรแกรมซี Dev C++การเข้าใช้โปรแกรมซี Dev C++
การเข้าใช้โปรแกรมซี Dev C++dechathon
 
การใช้สูตรหาพื้นที่ ด้วย Dev++
การใช้สูตรหาพื้นที่ ด้วย Dev++การใช้สูตรหาพื้นที่ ด้วย Dev++
การใช้สูตรหาพื้นที่ ด้วย Dev++Ooy's Patchaya
 
หน่วยที่ 2 โปรแกรมภาษา
หน่วยที่ 2 โปรแกรมภาษาหน่วยที่ 2 โปรแกรมภาษา
หน่วยที่ 2 โปรแกรมภาษาPhanupong Chanayut
 

What's hot (8)

งานนำเสนอ การเขียนคำสั่่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
งานนำเสนอ การเขียนคำสั่่งควบคุมขั้นพื้นฐานงานนำเสนอ การเขียนคำสั่่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
งานนำเสนอ การเขียนคำสั่่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
 
บทที่ 6 การพัฒนาไมโครคอนดทรเลอร์ด้วยโปรแกรม keil pk51
บทที่ 6 การพัฒนาไมโครคอนดทรเลอร์ด้วยโปรแกรม keil pk51บทที่ 6 การพัฒนาไมโครคอนดทรเลอร์ด้วยโปรแกรม keil pk51
บทที่ 6 การพัฒนาไมโครคอนดทรเลอร์ด้วยโปรแกรม keil pk51
 
การเขียนโปรแกรมภาษาซี
การเขียนโปรแกรมภาษาซีการเขียนโปรแกรมภาษาซี
การเขียนโปรแกรมภาษาซี
 
การเข้าใช้โปรแกรมซี Dev C++
การเข้าใช้โปรแกรมซี Dev C++การเข้าใช้โปรแกรมซี Dev C++
การเข้าใช้โปรแกรมซี Dev C++
 
vb.net
vb.netvb.net
vb.net
 
14 ธเนษฐ-3-7
14 ธเนษฐ-3-714 ธเนษฐ-3-7
14 ธเนษฐ-3-7
 
การใช้สูตรหาพื้นที่ ด้วย Dev++
การใช้สูตรหาพื้นที่ ด้วย Dev++การใช้สูตรหาพื้นที่ ด้วย Dev++
การใช้สูตรหาพื้นที่ ด้วย Dev++
 
หน่วยที่ 2 โปรแกรมภาษา
หน่วยที่ 2 โปรแกรมภาษาหน่วยที่ 2 โปรแกรมภาษา
หน่วยที่ 2 โปรแกรมภาษา
 

Similar to 3.1 โครงสร้างของภาษาซี

โครงสร้างโปรแกรมภาษาซี
โครงสร้างโปรแกรมภาษาซีโครงสร้างโปรแกรมภาษาซี
โครงสร้างโปรแกรมภาษาซีBipor Srila
 
โครงสร้างโปรแกรมภาษาซี
โครงสร้างโปรแกรมภาษาซีโครงสร้างโปรแกรมภาษาซี
โครงสร้างโปรแกรมภาษาซีBipor Srila
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2หน่วยการเรียนรู้ที่ 2
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2SubLt Masu
 
โครงสร้างโปรแกรมภาษาซี
โครงสร้างโปรแกรมภาษาซีโครงสร้างโปรแกรมภาษาซี
โครงสร้างโปรแกรมภาษาซีปณพล ดาดวง
 
การเขียนโปรแกรมภาษาซี
การเขียนโปรแกรมภาษาซีการเขียนโปรแกรมภาษาซี
การเขียนโปรแกรมภาษาซีchoco336
 
การเขียนโปรแกรมภาษาซี
การเขียนโปรแกรมภาษาซีการเขียนโปรแกรมภาษาซี
การเขียนโปรแกรมภาษาซีchoco336
 
การเขียนโปรแกรมภาษาซี
การเขียนโปรแกรมภาษาซีการเขียนโปรแกรมภาษาซี
การเขียนโปรแกรมภาษาซีchoco336
 

Similar to 3.1 โครงสร้างของภาษาซี (20)

โครงสร้างของโปรแกรมภาษา C
โครงสร้างของโปรแกรมภาษา Cโครงสร้างของโปรแกรมภาษา C
โครงสร้างของโปรแกรมภาษา C
 
โครงสร้างของโปรแกรมภาษา C
โครงสร้างของโปรแกรมภาษา Cโครงสร้างของโปรแกรมภาษา C
โครงสร้างของโปรแกรมภาษา C
 
Introduction Of C
Introduction Of CIntroduction Of C
Introduction Of C
 
3.1 โครงสร้างของภาษาซี
3.1 โครงสร้างของภาษาซี3.1 โครงสร้างของภาษาซี
3.1 โครงสร้างของภาษาซี
 
โครงสร้างของโปรแกรมภาษา C
โครงสร้างของโปรแกรมภาษา Cโครงสร้างของโปรแกรมภาษา C
โครงสร้างของโปรแกรมภาษา C
 
Introduction of C++
Introduction of C++Introduction of C++
Introduction of C++
 
3.1 โครงสร้างของภาษาซี
3.1 โครงสร้างของภาษาซี3.1 โครงสร้างของภาษาซี
3.1 โครงสร้างของภาษาซี
 
งานทำBlog บทที่ 1
งานทำBlog บทที่ 1งานทำBlog บทที่ 1
งานทำBlog บทที่ 1
 
งานทำBlog บทที่ 1
งานทำBlog บทที่ 1งานทำBlog บทที่ 1
งานทำBlog บทที่ 1
 
โครงสร้างโปรแกรมภาษาซี
โครงสร้างโปรแกรมภาษาซีโครงสร้างโปรแกรมภาษาซี
โครงสร้างโปรแกรมภาษาซี
 
โครงสร้างโปรแกรมภาษาซี
โครงสร้างโปรแกรมภาษาซีโครงสร้างโปรแกรมภาษาซี
โครงสร้างโปรแกรมภาษาซี
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2หน่วยการเรียนรู้ที่ 2
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2
 
งานทำBlog บทที่ 1
งานทำBlog บทที่ 1งานทำBlog บทที่ 1
งานทำBlog บทที่ 1
 
โครงสร้างโปรแกรมภาษาซี
โครงสร้างโปรแกรมภาษาซีโครงสร้างโปรแกรมภาษาซี
โครงสร้างโปรแกรมภาษาซี
 
การเขียนโปรแกรมภาษาซี
การเขียนโปรแกรมภาษาซีการเขียนโปรแกรมภาษาซี
การเขียนโปรแกรมภาษาซี
 
การเขียนโปรแกรมภาษาซี
การเขียนโปรแกรมภาษาซีการเขียนโปรแกรมภาษาซี
การเขียนโปรแกรมภาษาซี
 
การเขียนโปรแกรมภาษาซี
การเขียนโปรแกรมภาษาซีการเขียนโปรแกรมภาษาซี
การเขียนโปรแกรมภาษาซี
 
Learn 2
Learn 2Learn 2
Learn 2
 
โครงสร้างโปรแกรมภาษาซี
โครงสร้างโปรแกรมภาษาซีโครงสร้างโปรแกรมภาษาซี
โครงสร้างโปรแกรมภาษาซี
 
Pbl2
Pbl2Pbl2
Pbl2
 

More from รัสนา สิงหปรีชา

บทที่ 6-การใช้งานเทคโนโลยีสารสนเทศอย่างมีความรับผิดชอบ
บทที่ 6-การใช้งานเทคโนโลยีสารสนเทศอย่างมีความรับผิดชอบบทที่ 6-การใช้งานเทคโนโลยีสารสนเทศอย่างมีความรับผิดชอบ
บทที่ 6-การใช้งานเทคโนโลยีสารสนเทศอย่างมีความรับผิดชอบรัสนา สิงหปรีชา
 
บทที่ 1 เทคโนโลยีสมัยใหม่เอาลงบล๊อก
บทที่ 1 เทคโนโลยีสมัยใหม่เอาลงบล๊อกบทที่ 1 เทคโนโลยีสมัยใหม่เอาลงบล๊อก
บทที่ 1 เทคโนโลยีสมัยใหม่เอาลงบล๊อกรัสนา สิงหปรีชา
 
3.1 การทำงานขั้นพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
3.1 การทำงานขั้นพื้นฐานของคอมพิวเตอร์3.1 การทำงานขั้นพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
3.1 การทำงานขั้นพื้นฐานของคอมพิวเตอร์รัสนา สิงหปรีชา
 
3.1 การทำงานขั้นพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
3.1 การทำงานขั้นพื้นฐานของคอมพิวเตอร์3.1 การทำงานขั้นพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
3.1 การทำงานขั้นพื้นฐานของคอมพิวเตอร์รัสนา สิงหปรีชา
 
บทที่ 2 ข้อมูล สารสนเทศ และความรู้
บทที่ 2  ข้อมูล สารสนเทศ และความรู้บทที่ 2  ข้อมูล สารสนเทศ และความรู้
บทที่ 2 ข้อมูล สารสนเทศ และความรู้รัสนา สิงหปรีชา
 

More from รัสนา สิงหปรีชา (20)

บทที่ 6-การใช้งานเทคโนโลยีสารสนเทศอย่างมีความรับผิดชอบ
บทที่ 6-การใช้งานเทคโนโลยีสารสนเทศอย่างมีความรับผิดชอบบทที่ 6-การใช้งานเทคโนโลยีสารสนเทศอย่างมีความรับผิดชอบ
บทที่ 6-การใช้งานเทคโนโลยีสารสนเทศอย่างมีความรับผิดชอบ
 
บทที่ 1 เทคโนโลยีสมัยใหม่เอาลงบล๊อก
บทที่ 1 เทคโนโลยีสมัยใหม่เอาลงบล๊อกบทที่ 1 เทคโนโลยีสมัยใหม่เอาลงบล๊อก
บทที่ 1 เทคโนโลยีสมัยใหม่เอาลงบล๊อก
 
3.1 การทำงานขั้นพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
3.1 การทำงานขั้นพื้นฐานของคอมพิวเตอร์3.1 การทำงานขั้นพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
3.1 การทำงานขั้นพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
 
3.1 การทำงานขั้นพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
3.1 การทำงานขั้นพื้นฐานของคอมพิวเตอร์3.1 การทำงานขั้นพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
3.1 การทำงานขั้นพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
 
3.1 องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
3.1 องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์3.1 องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
3.1 องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
 
บทที่ 2 ข้อมูล สารสนเทศ และความรู้
บทที่ 2  ข้อมูล สารสนเทศ และความรู้บทที่ 2  ข้อมูล สารสนเทศ และความรู้
บทที่ 2 ข้อมูล สารสนเทศ และความรู้
 
3.8 การทำงานแบบลำดับ
3.8 การทำงานแบบลำดับ3.8 การทำงานแบบลำดับ
3.8 การทำงานแบบลำดับ
 
3.8 การทำงานตามลำดับ
3.8 การทำงานตามลำดับ3.8 การทำงานตามลำดับ
3.8 การทำงานตามลำดับ
 
3.3. ชนิดของข้อมูล
3.3. ชนิดของข้อมูล3.3. ชนิดของข้อมูล
3.3. ชนิดของข้อมูล
 
3.3. ชนิดของข้อมูล
3.3. ชนิดของข้อมูล3.3. ชนิดของข้อมูล
3.3. ชนิดของข้อมูล
 
3.3. ชนิดของข้อมูล
3.3. ชนิดของข้อมูล3.3. ชนิดของข้อมูล
3.3. ชนิดของข้อมูล
 
3.2 ตัวแปรและคำสงวน
3.2 ตัวแปรและคำสงวน3.2 ตัวแปรและคำสงวน
3.2 ตัวแปรและคำสงวน
 
คู่มือนักเรียน 3.1
คู่มือนักเรียน 3.1คู่มือนักเรียน 3.1
คู่มือนักเรียน 3.1
 
คู่มือครู
คู่มือครูคู่มือครู
คู่มือครู
 
3.8 การทำงานตามลำดับ
3.8 การทำงานตามลำดับ3.8 การทำงานตามลำดับ
3.8 การทำงานตามลำดับ
 
3.7 การเขียนผังงาน
3.7 การเขียนผังงาน3.7 การเขียนผังงาน
3.7 การเขียนผังงาน
 
3.6 ฟังก์ชัน
3.6 ฟังก์ชัน3.6 ฟังก์ชัน
3.6 ฟังก์ชัน
 
3.5 การแสดงผลและการรับข้อมูล
3.5 การแสดงผลและการรับข้อมูล3.5 การแสดงผลและการรับข้อมูล
3.5 การแสดงผลและการรับข้อมูล
 
3.4 ตัวดำเนินการและนิพจน์
3.4 ตัวดำเนินการและนิพจน์3.4 ตัวดำเนินการและนิพจน์
3.4 ตัวดำเนินการและนิพจน์
 
3.3 ชนิดของข้อมูล
3.3 ชนิดของข้อมูล3.3 ชนิดของข้อมูล
3.3 ชนิดของข้อมูล
 

3.1 โครงสร้างของภาษาซี

  • 1.
  • 2. 1. ส่วนของเฮดเดอร์ไฟล์(Header File or Processing Directive) ส่วนนี้จะขึ้นต้นด้วยเครื่องหมาย # เสมอ การทางาน ของคอมไพเลอร์จะทางานในส่วนนี้เป็นส่วนแรก จะเป็นส่วนที่ เก็บไลบราลีมาตรฐานของภาษา C ซึ่งจะถูกดึงเข้ามารวมกับ โปรแกรมในขณะแปลภาษาโปรแกรม (Compile) โดยใช้คาสั่ง # Include ซึ่งสามารถเขียนได้ 2 รูปแบบ คือ •รูปแบบที่ 1 #include<HeaderName> •รูปแบบที่ 2 #include“HeaderName” โครงสร้างของภาษา C ในโปรแกรมที่พัฒนาด้วยภาษา C ทุกโปรแกรมจะมีโครงสร้าง การพัฒนาไม่แตกต่างกัน ซึ่งประกอบด้วย 6 ส่วนหลัก ๆ โดยที่แต่ละ ส่วนมีหน้าที่แตกต่างกัน ดังนี้
  • 3. แบบที่ใช้เครื่องหมาย <…> คอมไพเลอร์จะค้นหาเฮดเดอร์ จากไลบราลีของภาษา C เพียงที่เดียวเท่านั้น ส่วนที่ใช้ เครื่องหมาย “…” คอมไพเลอร์จะค้นหาเฮดเดอร์จากไลบราลีที่ เก็บ Source Code ของเราก่อน ถ้าหากไม่เจอก็จะไปค้นหาที่ไล บราลีของภาษา C และเฮดเดอร์ไฟล์นี้จะมีนามสกุลเป็น .h เท่านั้น ในการเขียนโปรแกรมภาษา C เฮดเดอร์ไฟล์ที่เก็บไลบราลี มาตรฐานในการจัดการเกี่ยวกับอินพุต และเอาต์พุตของ โปรแกรมก็คือ stdio.h ซึ่งถือว่าเป็นส่วนสาคัญที่ขาดไม่ได้ โครงสร้างของภาษา C
  • 4. 2. ส่วนของตัวแปร Global เป็นส่วนประกาศตัวแปรที่สามารถใช้ ร่วมกันได้ทั้งโปรแกรม ซึ่งส่วนนี้จะมีหรือไม่มีก็ได้ 3. ส่วนของฟังก์ชัน (Function) เป็นส่วนการทางานของ โปรแกรม ในโครงสร้างภาษา C จะบังคับให้มีอย่างน้อย 1 ฟังก์ชัน คือ ฟังก์ชัน main() ซึ่งเป็นฟังก์ชันเริ่มการทางานของ โปรแกรม โดยในขอบเขตของฟังก์ชันจะเริ่มต้นด้วยเครื่องหมาย { และสิ้นสุดด้วยเครื่องหมาย }
  • 5. 5. ส่วนของตัวโปรแกรม เป็นส่วนคาสั่งการทางานของ โปรแกรม โดยที่แต่ละคาสั่งจะต้องจบด้วยเครื่องหมาย ; เสมอ 6. ส่วนของตัวส่งค่ากลับ เป็นส่วนของการส่งค่ากลับเมื่อฟังก์ชัน จบการทางาน โดยค่าที่ส่งกลับนั้นจะต้องเป็นค่าที่มีชนิดของ ข้อมูลตรงกับชนิดของข้อมูลที่ฟังก์ชันคืนค่ากลับ (Return Type) ในกรณีไม่ต้องการให้ฟังก์ชันมีการส่งค่ากลับ สามารถกาหนดได้ โดยใช้คีย์เวิร์ด void 4. ส่วนของตัวแปร Local เป็นส่วนประกาศตัวแปรที่สามารถ ใช้ได้เฉพาะภายในฟังก์ชันของตนเองเท่านั้น ซึ่งส่วนนี้จะมี หรือไม่มีก็ได้
  • 6. ที่มา : คู่มืออบรมครูวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ คอมพิวเตอร์ โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย หนังสือเรียนรายวิชาเพิ่มเติม การเขียนโปรแกรมเบื้องต้นด้วยภาษา C บริษทซัคเซสมีเดีย คู่มือเรียนเขียนโปรแกรมภาษา สานักพิมพ์ IDC PREMIER