SlideShare a Scribd company logo
1 of 64
การเขียนผัง
งานเบื้องต้น
Basic FlowchartingBasic Flowcharting
การเขียนผัง
งาน(Flowcharting)
 ผังงาน หมายถึง เครื่องมือที่ช่วยในการเขียน
โปรแกรม โดยเขียนเป็นเครื่องหมายภาพสัญลักษณ์
แสดงลำาดับขั้นตอนการทำางาน
 การเขียนผังงาน เป็นการถ่ายทอดความเข้าใจที่ได้
จากการวิเคราะห์งานให้อยู่ในรูปภาพหรือ
สัญลักษณ์
 ผู้เขียนโปรแกรมจะสามารถเข้าใจลำาดับขั้นตอนการ
เขียนโปรแกรมได้อย่างรวดเร็วและง่ายขึ้น และง่าย
ต่อการตรวจสอบความถูกต้องของลำาดับขั้นตอนใน
วิธีการประมวลผล
การเขียนผัง
งาน(Flowcharting)
 งานทุกชนิดที่มีการวิเคราะห์เป็นลำาดับขั้นตอนแล้ว
เราสามารถนำามาเขียนผังงานได้ แม้กระทั่งงานที่
เกี่ยวข้องกับชีวิตประจำาวันของเราเอง
ตัวอย่างผังงาน
ทั่วไป(1/3) แสดงการโยนเหรียญ 3
ครั้ง ถ้าออกหัว ผู้โยนจะได้
เงิน 10 บาท ถ้าออกก้อย ผู้
โยนจะเสียเงิน 10 บาท
เริ่มต้น
โยนเหรียญ
ผลการโยน
ได้เงิน 10 บาทเสียเงิน 10 บาท
ครบ 3 ครั้ง
หรือยัง?
หยุด
หัวก้อย
ยัง
ครบ
ตัวอย่างผังงาน
ทั่วไป(2/3) ผังงานแสดงการเดินข้าม
ถนนที่มีสัญญาณไฟ
จราจร
เริ่มต้น
รอสัญญาณไฟ
ไฟแดง
หรือไม่
เดินข้ามถนน
หยุด
ใช่
ไม่ใช่
ตัวอย่างผังงาน
ทั่วไป(3/3) ผังงานพิจารณาการใช้ยาตาม
ฉลากยาที่ปิดข้างขวด แยก
ตามขนาดการใช้ดังนี้
 อายุตำ่ากว่า 5 ปี ห้ามรับ
ประทาน
 อายุ 5 - 7 ปี ครั้งละ 1 เม็ด
 อายุ 8 - 14 ปี ครั้งละ 2 เม็ด
 อายุ 15 ปีขึ้นไป ครั้งละ 3 เม็ด
เริ่มต้น
อายุตำ่ากว่า
5 ปี
ห้ามรับประทาน
อายุ 5 ปีขั้นไป
แต่ไม่ถึง 8 ปี
ครั้งละ 1 เม็ด
อายุ 8 ปีขั้นไป
แต่ไม่ถึง 15 ปี
ครั้งละ 2 เม็ด
ครั้งละ 3 เม็ด
หยุด
ใช่
ใช่
ใช่
ไม่ใช่
ไม่ใช่
ไม่ใช่
ผังงานทาง
คอมพิวเตอร์
ผังงานทางคอมพิวเตอร์แบ่ง
ออกเป็น 2 ประเภท ได้แก่
ผังงานระบบ (System
flowchart)
ผังงานโปรแกรม (Program
flowchart)
ผังงานระบบ(System
flowchart)
 เป็นผังงานที่ใช้แสดงขั้นตอนการทำางานของระบบ
งานอย่างกว้าง ๆ ทั้งระบบ โดยแสดงให้เห็นถึงความ
สัมพันธ์ของส่วนสำาคัญต่าง ๆ ในระบบนั้น
 เช่น เอกสารเบื้องต้น หรือสื่อบันทึกที่ใช้อยู่เป็นอะไร
และผ่านไปยังหน่วยงานใด มีกิจกรรมอะไรใน
หน่วยงานนั้น ๆ แล้วส่งต่อไปยังหน่วยงานใด
เป็นต้น
 ดังนั้น ผังงานระบบ จะเกี่ยวข้องกับ คน วัสดุ และ
เครื่องจักร โดยแสดงการนำาข้อมูลเข้า ประมวลผล
แสดงผลลัพธ์ ว่ามาจากที่ใดกว้าง ๆ
ตัวอย่างผังงานระบบ ผังงานแสดงการคำานวณ
พื้นที่สามเหลี่ยมจำานวน 100
รูป
เริ่มต้น
บันทึกความสูงและความยาวฐาน
ลงในดิสก์
รับความสูง และความยาวฐาน
ของสามเหลี่ยม 100 รูป
ดิสก์ที่
บันทึกแล้ว
คำานวณพื้นที่ของสามเหลี่ยม
พิมพ์รายงานของ
พื้นที่สามเหลี่ยม
จบ
ผังงาน
โปรแกรม(Program
flowchart)
 เป็นผังงานที่แสดงขั้นตอนของคำาสั่งที่ใช้ใน
โปรแกรม
 ผังงานนี้แยกย่อยมาจากผังงานระบบ โดยผู้เขียน
โปรแกรมจะดึงเอาแต่ละจุดที่เกี่ยวข้องกับการ
ประมวลผลในคอมพิวเตอร์ที่ปรากฏในผังงานระบบ
มาเขียนแสดงรายละเอียดในการประมวลผลอย่าง
เป็นลำาดับขั้นตอน เพื่อนำาไปประกอบการเขียน
โปรแกรมต่อไป
ตัวอย่างผังงาน
โปรแกรม ผังงานแสดงการคำานวณ
พื้นที่สามเหลี่ยมจำานวน 100
รูป
เริ่มต้น
รับความสูง และ
ความยาวฐานทีละรูป
ครบ 100 รูปแล้ว
ใช่หรือไม่
คำานวณพื้นที่= 0.5 * ฐาน * สูง
พิมพ์พื้นที่สามเหลี่ยม
ทีละรูป
จบ
ไม่ใช่
ใช่
เปรียบเทียบผังงานระบบ
และผังงานโปรแกรม
เริ่มต้น
บันทึกความสูงและความยาวฐาน
ลงในดิสก์
รับความสูง และความยาวฐาน
ของสามเหลี่ยม 100 รูป
ดิสก์ที่
บันทึกแล้ว
คำานวณพื้นที่ของสามเหลี่ยม
พิมพ์รายงานของ
พื้นที่สามเหลี่ยม
จบ
เริ่มต้น
รับความสูง และ
ความยาวฐานทีละรูป
ครบ 100 รูปแล้ว
ใช่หรือไม่
คำานวณพื้นที่= 0.5 * ฐาน * สูง
พิมพ์พื้นที่สามเหลี่ยม
ทีละรูป
จบ
ไม่ใช่
ใช่
ผังงานระบบ
ผังงานโปรแกรม
ประโยชน์ของการ
เขียนผังงาน
เราสามารถเรียนรู้และเข้าใจผังงานได้
ง่าย เพราะผังงานไม่ขึ้นอยู่กับภาษา
คอมพิวเตอร์ภาษาใดภาษาหนึ่ง
ผังงานเป็นการสื่อความหมายด้วยภาพ
ทำาให้ง่ายและสะดวกต่อการพิจารณา
ลำาดับขั้นตอนในการทำางานดีกว่าการ
บรรยายเป็นตัวอักษร
ช่วยให้การค้นหาความผิดพลาดของ
ลำาดับการทำางานได้รวดเร็ว และ
ข้อจำากัดของการเขียน
ผังงาน
การเขียนผังงานไม่เหมาะกับ
งานที่มีวิธีการซับซ้อน เช่น มี
การที่เงื่อนไขในการทอสอบ
มากมาย ซึ่งมักจะใช้ตารางการ
ตัดสินใจ(decision table)
เข้ามาช่วยมากกว่า
สัญลักษณ์ในการ
เขียนผังงาน(1/13)
การเขียนผังงานเป็นการนำาเอา
ภาพสัญลักษณ์ต่าง ๆ มาเรียง
ต่อกัน เพื่อแสดงลำาดับขั้นตอน
การทำางาน โดยมีเส้นลูกศร
เชื่อมระหว่างภาพต่างๆ
สัญลักษณ์ในการเขียนผังงาน
ที่นิยมใช้กันนั้น เป็นสัญลักษณ์
สัญลักษณ์ในการเขียนผัง
งาน(2/13)
สัญลักษ
ณ์
ความหมาย ตัวอย่าง
การใช้
คำาอธิบาย
การเริ่มต้น
หรือสิ้นสุด
การเขียน
ผังงาน
(Terminal
)
1. เริ่มต้น
ผังงาน
2. จบผัง
งาน
รับข้อมูล
หรือแสดง
1. รับค่าใส่
ใน
ตัวแปร
START
STOP
read name
display area
สัญลักษณ์ในการเขียนผัง
งาน(3/13)
สัญลักษ
ณ์
ความ
หมาย
ตัวอย่าง
การใช้
คำาอธิบาย
การ
ประมวล
ผล
(Process)
1. คำานวณ A
+ B และ
เก็บไว้ใน
C
2. กำาหนดค่า
sum
เท่ากับ 0
การเปรียบ
เทียบหรือ
เปรียบเทียบถ้า i
มีค่า
น้อยกว่าหรือ
C = A + B
Sum = 0
i <= 10
true
false
แสดง i
สัญลักษณ์ในการเขียนผัง
งาน(4/13)
สัญลักษ
ณ์
ความหมาย ตัวอย่าง
การใช้
คำาอธิบาย
การแสดง
ผลลัพธ์
ทาง
เครื่องพิมพ์
(Documen
t)
พิมพ์ค่า A
ทาง
เครื่องพิมพ์
การแสดง
ผลลัพธ์
แสดงค่า A,
B
print A
display A , B
สัญลักษณ์ในการเขียนผัง
งาน(5/13)
สัญลักษ
ณ์
ความหมาย ตัวอย่าง
การใช้
คำาอธิบาย
หมายเหตุ
(Commen
t)
รับค่า
ทางการกด
แป้นพิมพ์
(Manual
Input)
รับค่า A
ทาง
แป้นพิมพ์
read A A = Age
read A
สัญลักษณ์ในการเขียนผัง
งาน(6/13)
สัญลักษ
ณ์
ความหมาย ตัวอย่าง
การใช้
คำาอธิบาย
การ
กำาหนดค่า
ต่างๆ ไว้
ล่วงหน้า
(Preparati
on)
กำาหนดให้ i มี
ค่าเท่ากับ
1 และเพิ่มค่าที
ละ 1
จนมีค่าเป็น
100 จึง
ออก
จากการทำางาน
ซำ้า
โดยแต่ละรอบ
บวกค่า
sum ด้วยค่า i
for i =1 to 100
sum = sum + i
i
สัญลักษณ์ในการเขียนผัง
งาน(7/13)
สัญลักษ
ณ์
ความหมาย ตัวอย่าง
การใช้
คำาอธิบาย
จุดต่อเนื่อง
ในหน้า
เดียวกัน
(In-Page
connector
)
หลังจากพิมพ์
ค่า A
แล้วให้ทำา
ตามที่จุด
ต่อเนื่อง A
ซึ่งอยู่ใน
หน้าเดียวกัน
จุดต่อเนื่อง
ที่อยู่คนละ
หลังจาก
กำาหนด
A
write A
A = 3
1
สัญลักษณ์ในการเขียนผัง
งาน(8/13)
สัญลักษ
ณ์
ความหมาย ตัวอย่าง
การใช้
คำาอธิบาย
การรับหรือ
แสดง
ข้อมูลโดย
ใช้บัตร
เจาะรู
(Punch
card)
1. อ่านค่า A
ที่บัตร
เจาะรู 1
ใบ
2. เจาะค่า
B,C บน
บัตร 1
ใบ
ชุดของ
บัตรเจาะรู
เจาะค่า B1 ,
B2 , Bn
read A
punch B , C
punch
bi b=1 ,
…n
สัญลักษณ์ในการเขียนผัง
งาน(9/13)
สัญลักษ
ณ์
ความหมาย ตัวอย่าง
การใช้
คำาอธิบาย
การรับหรือ
แสดง
ข้อมูลโดย
ใช้เทป
กระดาษ
(Punched
tape)
อ่านค่า ID ,
name
บนเทป
กระดาษ
การรับหรือ
read ID ,
name
สัญลักษณ์ในการเขียนผัง
งาน(10/13)
สัญลักษ
ณ์
ความหมาย ตัวอย่าง
การใช้
คำาอธิบาย
การรับหรือ
แสดง
ข้อมูลโดย
ใช้จานแม่
เหล็กเป็น
สื่อ
(Magnatic
disk)
สัญลักษณ์ในการเขียนผัง
งาน(11/13)
สัญลักษ
ณ์
ความหมาย ตัวอย่าง
การใช้
คำาอธิบาย
การทำางานที่
กำาหนดไว้
แล้ว เช่น
โปรแกรม
ย่อย
(Predefine
Process)
เรียก
โปรแกร
ม
ย่อยชื่อ
findGra
de
ให้ทำางาน
การควบคุม
การทำางาน
ด้วยมนุษย์
findGrade
สัญลักษณ์ในการเขียนผัง
งาน(12/13)
สัญลักษ
ณ์
ความหมาย ตัวอย่าง
การใช้
คำาอธิบาย
การทำางาน
แบบออฟไลน์
ของอุปกรณ์ที่
ไม่ได้ถูก
ควบคุมจาก
หน่วยประมวล
ผลกลาง
โดยตรง
(Auxiliary
Operation)
การจัดเรียง
สัญลักษณ์ในการเขียนผัง
งาน(13/13)
สัญลักษ
ณ์
ความหมาย ตัวอย่าง
การใช้
คำาอธิบาย
การส่งข้อมูล
ทางสาย
สื่อสาร
(Communic
ation Link)
หลักการจัดภาพผัง
งาน(1/2)ทิศทางของผังงาน
จะเริ่มจากส่วนบน
ของหน้ากระดาษ
ลงมายังส่วนล่าง
และจากซ้ายมือไป
ของหน้ากระดาษ
และควรเขียน
เครื่องหมายลูกศร
กำากับทิศทางไว้
ด้วย
START
STOP
read age
age > 60
“You are old”
true
false
บน
ล่าง
ทิศทางของเส้น
หลักการจัดภาพผัง
งาน(2/2)สัญลักษณ์หรือ
ภาพที่ใช้ในการ
เขียนผังงานมี
ขนาดต่าง ๆ กันได้
แต่จะต้องมีรูป
มาตรฐานตาม
ความหมายที่
กำาหนด
START
sum =
0
i = 1 to 10
sum = sum
+ i
i
sum
STOP
ขนาดของ
สัญลักษณ์
ปรับให้เหมาะ
สมกับ
ข้อความใน
สัญลักษณ์
หลักการจัดภาพผัง
งาน(3/2)
การเขียนทิศทางของผังงาน
ควรเป็นไปอย่างมีระเบียบ และ
หลีกเลี่ยงการขีดโยงไปโยงมา
ในทิศทางตัดกัน ถ้าจำาเป็นต้อง
โยงถึงกัน ควรใช้เครื่องหมาย
จุดต่อเนื่องแทนและถ้าเป็นไป
ได้ควรเขียนผังงานให้จบใน
หน้าเดียวกัน
รูปแบบการเขียนผัง
งาน
แบบตามลำาดับ
(Sequence)
แบบการเลือก/ตัดสิน
ใจ/เงื่อนไข
(Selection/Decision/C
ondition)
รูปแบบตาม
ลำาดับ(1/3)
 เป็นรูปแบบการเขียนโปรแกรมที่ง่ายที่สุด ทำางานที
ละอย่างจากบนลงล่าง แสดงลำาดับการทำางานจาก
บนลงล่างตามลูกศร
งานที่ 1
งานที่ 2
งานที่ 3
อ่านข้อมูล
คำานวณข้อมูล
พิมพ์ผลลัพธ์
คำานวณ
คำานวณ
คำานวณ
รูปแบบตาม
ลำาดับ(2/3)START
STOP
A = 5
B = 3
C = A + B
print C
เริ่มต้น
กำาหนดค่าตัวแปร A มีค่าเป็น 5
กำาหนดค่าตัวแปร B มีค่าเป็น 3
เอาค่า A บวกกับ B แล้วเก็บไว้ใน C
พิมพ์ค่า C
จบการทำางาน
รูปแบบตาม
ลำาดับ(3/3)เริ่มต้น
รับข้อมูลมาเก็บไว้ใน
ตัวแปร A, B ทางแป้นพิมพ์
เอาค่า A บวกกับ B แล้วเก็บไว้ใน C
พิมพ์ค่า C
จบการทำางาน
START
STOP
C = A + B
print C
A , B
ตัวอย่างการเขียนผังงานแบบตาม
ลำาดับ
จงเขียนโปรแกรมคำานวณค่าไฟฟ้า
โดยรับค่ามิเตอร์จำานวนการใช้ไฟฟ้า
ของเดือนที่แล้ว และค่ามิเตอร์การใช้
ไฟฟ้าของเดือนปัจจุบัน คำานวณค่า
ไฟฟ้า โดยคิดอัตรา 2.5 บาท /1
หน่วยมิเตอร์
1.สิ่งที่โจทย์ต้องการ
ค่าไฟฟ้า
ป้อนเลขมิเตอร์เดือนที่แล้ว --> <รอรับเลขมิเตอร์เดือนที่
แล้ว>
ป้อนเลขมิเตอร์เดือนปัจจุบัน--> <รอรับเลขมิเตอร์เดือน
ปัจจุบัน>
-----------------------------------------------------
จำานวนหน่วยไฟฟ้าที่ใช้ : <แสดงจำานวนหน่วยไฟฟ้าที่
ตัวอย่างการเขียนผังงานแบบตาม
ลำาดับ
3. ข้อมูลนำาเข้า
 เลขมิเตอร์เดือนที่แล้ว
 เลขมิเตอร์เดือนปัจจุบัน
4. ตัวแปรที่ใช้ในการประมวลผล
 Last_meter แทน เลขมิเตอร์
เดือนที่แล้ว
 Curr_meter แทน เลขมิเตอร์
เดือนปัจจุบัน
 Num_meter แทน จำานวนหน่วย
ตัวอย่างการเขียนผังงานแบบตาม
ลำาดับ
5. ขั้นตอนวิธีการประมวลผล
1. เริ่มต้น
2. รับค่าใส่ตัวแปร last_meter และ
curr_meter จากผู้ใช้ทางแป้นพิมพ์
3. คำานวณ num_meter = curr_meter
– last_meter
4. คำานวณ electric_fee = num_meter
* 2.5
5. แสดงค่า num_meter , electric_fee
Flow chart
START
STOP
Num_meter = Curr_meter – Last_meter
Last_meter ,
Curr_meter
Electric_fee = Num_meter * 2.5
Num_meter , Electric_fee
แบบการเลือก
เป็นการเขียนโปรแกรมแบบมีการเปรียบเทียบเงื่อนไข
และทำางานตามคำาสั่งอย่างใดอย่างหนึ่งตามเงื่อนไข
ที่กำาหนด ผลจากการเปรียบเทียบเงื่อนไข จะให้
ผลลัพธ์เป็นจริงหรือเท็จ ถ้าผลเป็นจริง ให้ทำางาน
ตามคำาสั่งด้านที่เงื่อนไขเป็นจริง ถ้าเป็นเท็จให้ทำา
ตามคำาสั่งด้านที่เงื่อนไขเป็นเท็จ
 แบบทางเลือกเดียว (IF - THEN)
 แบบสองทางเลือก (IF – THEN - ELSE)
 แบบหลายทางเลือก (IF – THEN – ELSE IF |
CASE)
แบบทางเลือก
เดียว(1/5)
เงื่อนไข
ประโยคงาน
งานลำาดับถัดไป
จริง
เท็จ
เงื่อนไข
ประโยคงาน 1
งานลำาดับถัดไป
จริง
เท็จ
ประโยคงาน 2
แบบทางเลือก
เดียว(2/5)START
STOP
read age
age > 60
“You are old”
true
false
เริ่มต้น
รับค่าใส่ตัวแปร age
ถ้าเป็นจริง พิมพ์ข้อความ You ar
ถ้าเป็นเท็จ ไม่ต้องทำาอะไร
จบการทำางาน
เปรียบเทียบค่า age มากกว่า 60
แบบทางเลือก
เดียว(3/5)รับค่า รหัสผ่านจาก
ผู้ใช้ ถ้ารหัสผ่านที่
ป้อนมีค่า
GoodLuck ให้แสดง
ข้อว่า Welcome
Manager และ
ข้อความ Exit
Password System
เริ่ม
รับค่า ans
ans = “GoodLuck”
พิมพ์ Welcome
Manager
พิมพ์ Exit Password
System
จบ
จริง
เท็จ
แบบทางเลือก
เดียว(4/5)
 บริษัทแห่งหนึ่งต้องการเพิ่มเงินเดือนให้พนักงานที่มี
เงินเดือนตำ่ากว่า 5000 อีกคนละ 10% และให้
พนักงานทุกคนได้รับโบนัสคนละ 3 เท่าของเงิน
เดือน
 ขั้นตอนการประมวลผล
1. รับค่าชื่อพนักงาน . เงินเดือน
2. เปรียบเทียบค่า เงินเดือน
- ถ้าน้อยกว่า 5000 ให้เงินเดือน = เงินเดือน + (เงินเดือน *
10/100)
1. คำานวณโบนัส = เงินเดือน * 3
2. แสดงผลลัพธ์
3. จบการทำางาน
แบบทางเลือก
เดียว(5/5)START
STOP
read
name ,salary
salary < 5000 Name , salary ,
bonus
true
false
salary = salary + (salary*10/100)
A
A
bonus = salary * 3
แต่ไม่ต้องเขียนเส้นเชื่อมนี้
ข้อควรจำา
 ในการเปรียบเทียบเงื่อนไขแบบ IF – THEN นิยมให้
ทำางานตามคำาสั่งเมื่อเงื่อนไขมีค่าเป็นจริง ไม่นิยมให้
ทำางามตามคำาสั่งเป็นเท็จ
เงื่อนไข
ประโยคงาน 1
งานลำาดับถัดไป
จริง
เท็จ
ประโยคงาน 2
เงื่อนไข
ประโยคงาน 1
งานลำาดับถัดไป
จริง
เท็จ
ประโยคงาน 2
เงื่อนไข
ประโยคงาน 1
งานลำาดับถัดไป
จริง
เท็จ
ประโยคงาน 2
IF เงื่อนไข THEN
BEGIN
ประโยคงาน 1 ;
ประโยคงาน 2 ;
END;
เงื่อนไข
ประโยคงาน 1
งานลำาดับถัดไป
เท็จ
จริง
ประโยคงาน 2
IF เงื่อนไข THEN
ELSE
BEGIN
ประโยคงาน 1 ;
ประโยคงาน 2 ;
END;
แบบสองทาง
เลือก(1/6)
 การทำางานขึ้นอยู่กับเงื่อนไข ถ้าเป็นจริงไปทำางาน
ด้านหนึ่ง ถ้าเป็นเท็จก็จะไปทำางานอีกอย่างหนึ่ง
เงื่อนไข
ประโยคงาน2
งานลำาดับถัดไป
จริงเท็จ
ประโยคงาน1
แบบสองทาง
เลือก(2/6)  ถ้า sex =1 เงื่อนไขเป็น
จริง จะเพิ่มค่าตัวแปร
Male ขึ้นอีก 1
 ถ้า sex =1 เงื่อนไขเป็น
เท็จ จะเพิ่มค่าตัวแปร
Female ขึ้นอีก 1
Sex = 1
Male = Male +1Female = Female + 1
TrueFalse
แบบสองทาง
เลือก(3/6)START
STOP
read age
age > 60
“You are old”
truefalse
“You are young”
เริ่มต้น
รับค่าใส่ตัวแปร age
ถ้าเป็นจริง พิมพ์ข้อความ You are
ถ้าเป็นเท็จ พิมพ์ข้อความ You are
จบการทำางาน
เปรีบเทียบค่า age มากกว่า 6
แบบสองทาง
เลือก(4/6)
เริ่ม
รับค่า ans
ans = ‘y’ OR ans=‘Y’
พิมพ์ Thank Youพิมพ์ I’m sorry to hear that
จริงเท็จ
พิมพ์ Do you like Pascal
พิมพ์ Good Bye
จบ
แสดงข้อความ Do you like Pascal
รับค่าใส่ตัวแปร ans
เริ่มการทำางาน
เปรียบเทียบค่า ans เท่ากับ y หรือ
- ถ้าเป็นจริง พิมพ์
Thank you
-ถ้าเป็นเท็จ พิมพ์
I’m sorry to hear that
พิมพ์คำาว่า Goodbye
จบการทำางาน
แบบสองทาง
เลือก(5/6)
บริษัทแห่งหนึ่งต้องการเพิ่มเงินเดือน
ให้พนักงานที่มีเงินเดือนตำ่ากว่า 5000
อีกคนละ 10% และพนักงานที่มีเงิน
เดือนตั้งแต่ 5000 เพิ่ม 5% ให้พนักงาน
ทุกคนได้รับโบนัสคนละ 3 เท่าของเงิน
เดือน
ขั้นตอนการประมวลผล
1. รับค่าชื่อพนักงาน . เงินเดือน
2. เปรียบเทียบค่า เงินเดือน < 5000
- ถ้าเป็นจริง ให้อัตราเพิ่มเงินเดือน = 10/100
- ถ้าเป็นเท็จให้อัตราเพิ่มเงินเดือน = 5/100
แบบทางเลือก
เดียว(6/6)START
STOP
read
name ,salary
salary < 5000
Name , salary ,
bonus
truefalse
rate = 10 / 100
A
A
bonus = salary * 3
แต่ไม่ต้องเขียนเส้นเชื่อมนี้
rate = 5 / 100
salary = salary+(salary * rate)
การเลือกหลาย
ทาง(แบบ IF) เป็นรูปแบบการเลือกการทำางาน
ที่มีทางเลือกมากกว่า 2 ทางขึ้น
ไป เงื่อนไข 1
คำาสั่งที่ 1
TrueFalse
เงื่อนไข 2
คำาสั่งที่ 2
TrueFalse
เงื่อนไข 3
คำาสั่งที่ 3
TrueFalse
คำาสั่งที่ 4
การเลือกหลาย
ทาง(แบบ IF)
Score >=80
Grade = ‘A’
truefalse
Score >=70
Grade = ‘B’
truefalse
Score >=60
Grade = ‘C’
truefalse
Score >=50
Grade = ‘D’
truefalse
Grade = ‘F’
Score = mid + final
การเลือกหลาย
ทาง(แบบ CASE)
 เป็นรูปแบบการเลือกการทำางานที่มีทางเลือก
มากกว่า 2 ทางขึ้นไป
เงื่อนไข
คำาสั่งที่ 2คำาสั่งที่ 1 คำาสั่งที่ 4คำาสั่งที่ 3
กรณี 1 กรณี 2 กรณี 3 กรณี 4
การเลือกหลาย
ทาง(แบบ CASE)
score
Grade = ‘B’Grade = ‘A’ Grade = ‘D’Grade = ‘C’
80..100 70..79 60..69 50..59
Grade = ‘F’
0..49
Score = mid + final
แบบวนซ้ำ้า
แบบกำาหนดรอบไว้ล่วง
หน้า(Controlled Loop)
แบบตรวจสอบเงื่อนไข
ก่อน(Pre-Test Condition)
แบบตรวจสอบเงื่อนไข
ทีหลัง(Post-Test Condition)
แบบกำาหนดรอบการทำางานเอาไว้
ล่วงหน้า
 มีการกำาหนดรอบการทำางานซ้ำ้าไว้ล่วงหน้า เมื่อครบ
ตามจำานวนรอบจึงหยุดทำางานซ้ำ้าแล้วทำาคำาสั่งต่อไป
กำาหนดรอบการทำางาน
คำาสั่งทำาซ้ำ้า 1
คำาสั่งทำาซ้ำ้า 2
Next
แบบกำาหนดรอบการทำางานเอาไว้
ล่วงหน้า
 ค่า N จะเริ่มต้นที่ 1 และเพิ่มค่าทีละ 1 จนกระทั่ง
มากกว่า 5 จึงหยุดการทำางานซ้ำ้า และทำาคำาสั่งถัด
จาก Next ในแต่ละรอบของงานที่ให้ทำาซ้ำ้าคือ พิมพ์
ค่าในตัวแปร N ทีละรอบFor N =1 , 5
Next
Print N
แบบตรวจสอบเงื่อนไขก่อนถ้า
เป็นจริงแล้วค่อยทำาซ้ำ้า
 แบบตรวจสอบเงื่อนไขก่อน ถ้าเงื่อนไขยังเป็นจริงให้
ทำางานซ้ำ้า จนกระทั่งเงื่อนไขเป็นเท็จจึงหยุดทำางาน
ซ้ำ้า แล้วไปทำางานคำาสั่งอื่นถัดไป
เงื่อนไข
คำาสั่งงานซ้ำ้า 1
True
False
คำาสั่งงานซ้ำ้า 2
แบบตรวจสอบเงื่อนไขก่อนถ้า
เป็นจริงแล้วค่อยทำาซ้ำ้า
 ตรวจสอบเงื่อนไขถ้า N <= 5
 ให้พิมพ์ ค่า N
 เพิ่มค่า N อีก 1 (N=N+1)
 กลับไปตรวจสอบเงื่อนไขอีก
จนกว่าเงื่อนจะเป็นเท็จ จึงหยุด
ทำางานซ้ำ้า แล้วไปทำางานคำาสั่ง
อื่น
N <=5
N = N+1
True
False
Print N
N = 1
แบบทำาซ้ำ้าก่อนแล้วค่อยตรวจ
เงื่อนไข
 แบบให้ทำางานในคำาสั่งทำาซ้ำ้าก่อน แล้ว
ค่อยตรวจสอบเงื่อนไข ถ้าเงื่อนไขยังเป็น
เท็จให้กลับไปทำางานในคำาสั่งทำาซ้ำ้าอีก
จนกระทั่งตรวจสอบแล้วเงื่อนเป็นจริง จึง
หยุด แล้วไปทำางานคำาสั่งอื่น
เงื่อนไข
คำาสั่งงานซ้ำ้า 1
True
False
คำาสั่งงานซ้ำ้า 2
แบบทำาซ้ำ้าก่อนแล้วค่อยตรวจ
เงื่อนไข
 ให้พิมพ์ค่าในตัวแปร N
 เพิ่มค่าให้ตัวแปร N อีก 1
 ตรวจสอบเงื่อนไข ถ้า N > 5
เป็นจริงให้หยุดทำางานซ้ำ้า ถ้า
เป็นเท็จให้กลับไปทำางานคำา
สั่งซ้ำ้าอีกรอบ
N > 5
True
False
N = N+1
Print N
N = 1

More Related Content

What's hot

การเขียนโปรแกรมเบื้องต้น
การเขียนโปรแกรมเบื้องต้นการเขียนโปรแกรมเบื้องต้น
การเขียนโปรแกรมเบื้องต้นเสย ๆๆๆๆ
 
โครงสร้างของโปรแกรมภาษาซี
โครงสร้างของโปรแกรมภาษาซีโครงสร้างของโปรแกรมภาษาซี
โครงสร้างของโปรแกรมภาษาซีณัฐพล บัวพันธ์
 
การเขียนผังงาน
การเขียนผังงานการเขียนผังงาน
การเขียนผังงานIsaku JuJu
 
1 3สัญลักษณ์ผังงาน
1 3สัญลักษณ์ผังงาน1 3สัญลักษณ์ผังงาน
1 3สัญลักษณ์ผังงานPannathat Champakul
 
การเขียนผังงาน (Flowchart)
การเขียนผังงาน (Flowchart)การเขียนผังงาน (Flowchart)
การเขียนผังงาน (Flowchart)Fair Kung Nattaput
 
การเขียนผังงาน(Flowchart)
การเขียนผังงาน(Flowchart)การเขียนผังงาน(Flowchart)
การเขียนผังงาน(Flowchart)Kroopop Su
 
ผังงาน (Flowchart)
ผังงาน (Flowchart)ผังงาน (Flowchart)
ผังงาน (Flowchart)Theruangsit
 
Algorithm flow chart
Algorithm flow chartAlgorithm flow chart
Algorithm flow chartbbgunner47
 

What's hot (20)

การเขียนโปรแกรมเบื้องต้น
การเขียนโปรแกรมเบื้องต้นการเขียนโปรแกรมเบื้องต้น
การเขียนโปรแกรมเบื้องต้น
 
โครงสร้างของโปรแกรมภาษาซี
โครงสร้างของโปรแกรมภาษาซีโครงสร้างของโปรแกรมภาษาซี
โครงสร้างของโปรแกรมภาษาซี
 
หลักการเขียนผังงาน(Flow chart)
หลักการเขียนผังงาน(Flow chart)หลักการเขียนผังงาน(Flow chart)
หลักการเขียนผังงาน(Flow chart)
 
การเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษาการเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษา
 
ผังงาน เจนนภา
ผังงาน เจนนภาผังงาน เจนนภา
ผังงาน เจนนภา
 
ผังงาน
ผังงานผังงาน
ผังงาน
 
3.7 การเขียนผังงาน
3.7 การเขียนผังงาน3.7 การเขียนผังงาน
3.7 การเขียนผังงาน
 
Ppt 01
Ppt 01Ppt 01
Ppt 01
 
Basic
BasicBasic
Basic
 
การเขียนผังงาน
การเขียนผังงานการเขียนผังงาน
การเขียนผังงาน
 
1 3สัญลักษณ์ผังงาน
1 3สัญลักษณ์ผังงาน1 3สัญลักษณ์ผังงาน
1 3สัญลักษณ์ผังงาน
 
การเขียนผังงาน (Flowchart)
การเขียนผังงาน (Flowchart)การเขียนผังงาน (Flowchart)
การเขียนผังงาน (Flowchart)
 
Chapter02
Chapter02Chapter02
Chapter02
 
การเขียนผังงาน(Flowchart)
การเขียนผังงาน(Flowchart)การเขียนผังงาน(Flowchart)
การเขียนผังงาน(Flowchart)
 
flowchart
flowchartflowchart
flowchart
 
ผังงาน (Flowchart)
ผังงาน (Flowchart)ผังงาน (Flowchart)
ผังงาน (Flowchart)
 
3.7 การเขียนผังงาน
3.7 การเขียนผังงาน3.7 การเขียนผังงาน
3.7 การเขียนผังงาน
 
Chapter05
Chapter05Chapter05
Chapter05
 
Pbl2
Pbl2Pbl2
Pbl2
 
Algorithm flow chart
Algorithm flow chartAlgorithm flow chart
Algorithm flow chart
 

Viewers also liked (17)

Introduction about analytics with sas+r programming.
Introduction about analytics with sas+r programming.Introduction about analytics with sas+r programming.
Introduction about analytics with sas+r programming.
 
Chapter 2
Chapter  2Chapter  2
Chapter 2
 
Patrick Wile Resume.DOC
Patrick Wile Resume.DOCPatrick Wile Resume.DOC
Patrick Wile Resume.DOC
 
Applied Buying Project
Applied Buying ProjectApplied Buying Project
Applied Buying Project
 
Writing Sample
Writing SampleWriting Sample
Writing Sample
 
Chapter1.1
Chapter1.1Chapter1.1
Chapter1.1
 
Niños abril-teatro
Niños abril-teatroNiños abril-teatro
Niños abril-teatro
 
I. E. SAGRADOS CORAZONES
I. E. SAGRADOS CORAZONES I. E. SAGRADOS CORAZONES
I. E. SAGRADOS CORAZONES
 
Paintbrush tool
Paintbrush toolPaintbrush tool
Paintbrush tool
 
Legenda o warsie i sawie
Legenda o warsie i sawieLegenda o warsie i sawie
Legenda o warsie i sawie
 
Lógica matemática significado
Lógica matemática significadoLógica matemática significado
Lógica matemática significado
 
gardenia
gardeniagardenia
gardenia
 
เรื่อง การสื่อสารข้อมูลเบื้องต้น
เรื่อง การสื่อสารข้อมูลเบื้องต้นเรื่อง การสื่อสารข้อมูลเบื้องต้น
เรื่อง การสื่อสารข้อมูลเบื้องต้น
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
การขายหน่วยที่ 1
การขายหน่วยที่ 1การขายหน่วยที่ 1
การขายหน่วยที่ 1
 
Mapa de huancavelica
Mapa de huancavelicaMapa de huancavelica
Mapa de huancavelica
 
El orden es importante
El orden es importanteEl orden es importante
El orden es importante
 

Similar to Chapter1.1

หลักการเบื้องต้นในการเขียนโปรแกรม3
หลักการเบื้องต้นในการเขียนโปรแกรม3หลักการเบื้องต้นในการเขียนโปรแกรม3
หลักการเบื้องต้นในการเขียนโปรแกรม3sup11
 
Programming
ProgrammingProgramming
Programmingsa
 
ปฏิบัติการที่ 5 การใช้โปรแกรมไมโครซอฟต์เวิร์ด
ปฏิบัติการที่ 5 การใช้โปรแกรมไมโครซอฟต์เวิร์ดปฏิบัติการที่ 5 การใช้โปรแกรมไมโครซอฟต์เวิร์ด
ปฏิบัติการที่ 5 การใช้โปรแกรมไมโครซอฟต์เวิร์ดteaw-sirinapa
 
คู่มือการใช้งาน
คู่มือการใช้งานคู่มือการใช้งาน
คู่มือการใช้งาน0882324871
 
ใบความรู้ที่ 1.4
ใบความรู้ที่ 1.4 ใบความรู้ที่ 1.4
ใบความรู้ที่ 1.4 Orapan Chamnan
 
การเขียนแผนภาพ DFD
การเขียนแผนภาพ DFDการเขียนแผนภาพ DFD
การเขียนแผนภาพ DFDskiats
 
หลักการออกแบบโปรแกรม
หลักการออกแบบโปรแกรมหลักการออกแบบโปรแกรม
หลักการออกแบบโปรแกรมInam Chatsanova
 

Similar to Chapter1.1 (17)

หลักการเบื้องต้นในการเขียนโปรแกรม3
หลักการเบื้องต้นในการเขียนโปรแกรม3หลักการเบื้องต้นในการเขียนโปรแกรม3
หลักการเบื้องต้นในการเขียนโปรแกรม3
 
การเขียนผังงาน (290653)
การเขียนผังงาน (290653)การเขียนผังงาน (290653)
การเขียนผังงาน (290653)
 
การเขียนผังงาน (290653)
การเขียนผังงาน (290653)การเขียนผังงาน (290653)
การเขียนผังงาน (290653)
 
ผังงาน
ผังงานผังงาน
ผังงาน
 
Programming
ProgrammingProgramming
Programming
 
ภาษาซี
ภาษาซีภาษาซี
ภาษาซี
 
Lesson5 devenlopment-program
Lesson5 devenlopment-programLesson5 devenlopment-program
Lesson5 devenlopment-program
 
ปฏิบัติการที่ 5 การใช้โปรแกรมไมโครซอฟต์เวิร์ด
ปฏิบัติการที่ 5 การใช้โปรแกรมไมโครซอฟต์เวิร์ดปฏิบัติการที่ 5 การใช้โปรแกรมไมโครซอฟต์เวิร์ด
ปฏิบัติการที่ 5 การใช้โปรแกรมไมโครซอฟต์เวิร์ด
 
U1
U1U1
U1
 
คู่มือการใช้งาน
คู่มือการใช้งานคู่มือการใช้งาน
คู่มือการใช้งาน
 
ใบความรู้ที่ 1.4
ใบความรู้ที่ 1.4 ใบความรู้ที่ 1.4
ใบความรู้ที่ 1.4
 
การเขียนแผนภาพ DFD
การเขียนแผนภาพ DFDการเขียนแผนภาพ DFD
การเขียนแผนภาพ DFD
 
กำเนิดภาษาซี
กำเนิดภาษาซีกำเนิดภาษาซี
กำเนิดภาษาซี
 
หลักการออกแบบโปรแกรม
หลักการออกแบบโปรแกรมหลักการออกแบบโปรแกรม
หลักการออกแบบโปรแกรม
 
Scratch
ScratchScratch
Scratch
 
Ch1
Ch1Ch1
Ch1
 
Flowchart
FlowchartFlowchart
Flowchart
 

Chapter1.1