SlideShare a Scribd company logo
1 of 14
Download to read offline
โครงสร้างของภาษา C 
ในโปรแกรมที่พัฒนาด้วยภาษา C ทุกโปรแกรมจะมีโครงสร้างการ พัฒนาไม่แตกต่างกัน ซึ่งประกอบด้วย 5 ส่วนหลัก ๆ โดยที่แต่ละส่วนมี หน้าที่แตกต่างกัน ดังนี้ 1 
พรีโปรเซสเซอร์ไดเรกทีฟ (Preprocessor directive) 
2 
ส่วนประกาศ (Global declarations) 
3 
ส่วนฟังก์ชันหลัก (main () function) 
4 
ส่วนกาหนดฟังก์ชันขึ้นใช้เอง (Uses –define functions) 
5 
ส่วนอธิบายโปรแกรม (Program comment)
1. พรีโปรเซสเซอร์ไดเรกทีฟ (Preprocessor directive) อาจเรียกอีกชื่อหนึ่งว่าส่วนหัวโปรแกรม (Header Part) ส่วนนี้ทุกโปรแกรมจะต้องมี จะขึ้นต้นด้วยเครื่องหมาย # เสมอ การ ทางานของคอมไพเลอร์จะทางานในส่วนนี้เป็นส่วนแรก จะเป็นส่วนที่ เก็บไลบราลีมาตรฐานของภาษา C ซึ่งจะถูกดึงเข้ามารวมกับ โปรแกรมในขณะแปลภาษาโปรแกรม (Compile) โดยใช้คาสั่ง #Include ซึ่งสามารถเขียนได้ 2 รูปแบบ คือ 
•รูปแบบที่ 1 #include<HeaderName> 
•รูปแบบที่ 2 #include“HeaderName” 
โครงสร้างของภาษา C
แบบที่ใช้เครื่องหมาย <…> คอมไพเลอร์จะค้นหาเฮดเดอร์ จากไลบราลีของภาษา C เพียงที่เดียวเท่านั้น ส่วนที่ใช้ เครื่องหมาย “…” คอมไพเลอร์จะค้นหาเฮดเดอร์จากไลบราลีที่ เก็บ Source Code ของเราก่อน ถ้าหากไม่เจอก็จะไปค้นหาที่ไล บราลีของภาษา C และเฮดเดอร์ไฟล์นี้จะมีนามสกุลเป็น .h เท่านั้น 
ในการเขียนโปรแกรมภาษา C เฮดเดอร์ไฟล์ที่เก็บไลบราลี มาตรฐานในการจัดการเกี่ยวกับอินพุต และเอาต์พุตของ โปรแกรมก็คือ stdio.h ซึ่งถือว่าเป็นส่วนสาคัญที่ขาดไม่ได้ 
โครงสร้างของภาษา C
2. ส่วนประกาศ (Global declarations) ส่วนนี้จะใช้ในการ ประกาศตัวแปรหรือฟังก์ชันที่ต้องใช้ในโปรแกรม โดยทุก ๆ ส่วนของโปรแกรมสามารถจะเรียกใช้ข้อมูลที่ประกาศไว้ในส่วน นี้ได้ ซึ่งส่วนนี้จะมีหรือไม่มีก็ได้
3. ส่วนของฟังก์ชันหลัก (main() function) ส่วนนี้ทุกโปรแกรม จะต้องมี ซึ่งจะประกอบไปด้วยประโยคคาสั่งต่าง ๆ ที่จะให้ โปรแกรมทางาน โดยนาคาสั่งต่าง ๆ มาเรียงต่อกัน และแต่ละ ประโยคคาสั่งจะจบด้วยเครื่องหมายเซมิโคลอน (;) โดยใน ขอบเขตของฟังก์ชันจะเริ่มต้นด้วยเครื่องหมาย { และสิ้นสุดด้วย เครื่องหมาย }
4. ส่วนกาหนดฟังก์ชันขึ้นใช้เอง (Uses –define functions) เป็นการเขียนคาสั่งและฟังก์ชันต่าง ๆ ขึ้นใช้ในโปรแกรม โดย ต้องอยู่ในเครื่องหมาย { } และต้องสร้างฟังก์ชันหรือคาใหม่ที่ให้ ทางานตามที่เราต้องการให้กับโปรแกรมและสามารถเรียกใช้ได้ ภายในโปรแกรม
ตัวอย่างการกาหนดฟังก์ชันขึ้นใช้เอง 
#include<stdio.h> 
main() 
{ 
function();/*เรียกใช้ฟังก์ชันที่สร้างขึ้น*/ 
} 
function()/*สร้างฟังก์ชันใหม่ โดยใช้ชื่อว่า function*/ 
{ 
return;/*คืนค่าที่เกิดจากการทาฟังก์ชัน*/ 
}
5. ส่วนอธิบายโปรแกรม (Program comment) ส่วนนี้ใช้เขียน คอมเมนต์ในโปรแกรม เพื่ออธิบายการทางานต่าง ๆ ทาให้ผู้ ศึกษาโปรแกรมในภายหลังทาความเข้าใจโปรแกรมได้ง่ายขึ้น เมื่อคอมไพล์โปรแกรมส่วนนี้จะถูกข้ามไป 
คอมเมนต์ในภาษาซีมี 2 แบบ คือ 
1. คอมเมนต์แบบบรรทัดเดียวใช้เครื่องหมาย // 
2. คอมเมนต์แบบหลายบรรทัด ใช้เครื่องหมาย /* และ */
ตัวอย่างการเขียนคอมเมนต์ในโปรแกรมภาษาซี 
1//comment only one line 
2 
3#include <stdio.h> 
4 
5int main () 
6{ 
7/*Comment 
8many 
9line*/ 
10}
ตัวอย่างการเขียนโปรแกรมขั้นต้น 
#include<stdio.h> 
main () 
{ 
} 
ส่วนหัว 
ส่วนฟังก์ชันหลัก
จากตัวอย่างโปรแกรมอย่างง่ายจะประกอบด้วยสองส่วนคือ 
1. ส่วนที่หนึ่งเป็นส่วนหัวหรือส่วนเรียกโมดูลอื่น ๆ เข้ามาแปลความหมาย โดยเป็นส่วนของพรีโปรเซสเซอร์ไดเร็กทีฟ (Preprocessor Directive) ซึ่งอาจ เป็นโมดูลมาตรฐานที่มีอยู่แล้วในโปรแกรมหรือโมดูลใหม่ที่สร้างขึ้นมาเองก็ได้ โดยโมดูลเหล่านี้จะบรรจุคาสั่งหรือข้อกาหนดต่าง ๆ ที่จะใช้ในโปรแกรมที่เขียน ขึ้น 
2. ส่วนที่สอง เรียกว่าส่วนฟังก์ชันหลัก ซึ่งเป็นส่วนคาสั่งหรือสเตตเมนต์ (Statement) จะเป็นส่วนที่เก็บคาสั่งต่าง ๆ ที่จะให้โปรแกรมทางาน โดยจะ เริ่มต้นด้วยเครื่องหมายปีกกาเปิด { และจบด้วยเครื่องหมายปีกกาปิด } ส่วนนี้ จะมีมากกว่าหนึ่งฟังก์ชันก็ได้ แต่ทุกโปรแกรมจะต้องมีฟังก์ชัน main ซึ่งถือว่า เป็นฟังก์ชันหลักที่โปรแกรมจะทางานได้
โดยที่ 
structNameเป็นชื่อสตรัคเจอร์ที่ส่งค่าข้อมูลกลับไปให้ฟังก์ชัน 
functionName เป็นชื่อฟังก์ชัน 
statements เป็นชุดคาสั่งภายในฟังก์ชัน 
varstructName เป็นชื่อตัวแปรสตรัคเจอร์ที่ต้องการส่งกลับ
ที่มา : คู่มืออบรมครูวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ คอมพิวเตอร์ โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย หนังสือเรียนรายวิชาเพิ่มเติม การเขียนโปรแกรมเบื้องต้นด้วยภาษา C บริษทซัคเซสมีเดีย คู่มือเรียนเขียนโปรแกรมภาษา สานักพิมพ์ IDC PREMIER

More Related Content

What's hot

โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐานโปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐานchanamanee Tiya
 
ใบความรู้ที่ 1 ความรู้พื้นฐานโปรแกรมภาษาซี
ใบความรู้ที่ 1 ความรู้พื้นฐานโปรแกรมภาษาซีใบความรู้ที่ 1 ความรู้พื้นฐานโปรแกรมภาษาซี
ใบความรู้ที่ 1 ความรู้พื้นฐานโปรแกรมภาษาซีNattapon
 
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐานโปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐานWasin Kunnaphan
 
การเขียนโปรแกรมภาษาซี
การเขียนโปรแกรมภาษาซีการเขียนโปรแกรมภาษาซี
การเขียนโปรแกรมภาษาซีchoco336
 
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐานโปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐานWasin Kunnaphan
 
การเขียนโปรแกรมเพื่องานอาชีพ 6.
การเขียนโปรแกรมเพื่องานอาชีพ 6.การเขียนโปรแกรมเพื่องานอาชีพ 6.
การเขียนโปรแกรมเพื่องานอาชีพ 6.Ploy StopDark
 
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชัน มาตรฐาน 6
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชัน มาตรฐาน 6โปรแกรมย่อยและฟังก์ชัน มาตรฐาน 6
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชัน มาตรฐาน 6Ploy StopDark
 
59170249 ธิดารัตน์
59170249 ธิดารัตน์59170249 ธิดารัตน์
59170249 ธิดารัตน์Beam Suna
 
ฟังก์ชั่นย่อยและโปรแกรมมาตรฐาน ม.6.1
ฟังก์ชั่นย่อยและโปรแกรมมาตรฐาน ม.6.1ฟังก์ชั่นย่อยและโปรแกรมมาตรฐาน ม.6.1
ฟังก์ชั่นย่อยและโปรแกรมมาตรฐาน ม.6.1Little Tukta Lita
 

What's hot (20)

ตัวแปรและคำสงวน
ตัวแปรและคำสงวนตัวแปรและคำสงวน
ตัวแปรและคำสงวน
 
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐานโปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
 
โครงสร้างโปรแกรมภาษาซี
โครงสร้างโปรแกรมภาษาซีโครงสร้างโปรแกรมภาษาซี
โครงสร้างโปรแกรมภาษาซี
 
ใบความรู้ที่ 1 ความรู้พื้นฐานโปรแกรมภาษาซี
ใบความรู้ที่ 1 ความรู้พื้นฐานโปรแกรมภาษาซีใบความรู้ที่ 1 ความรู้พื้นฐานโปรแกรมภาษาซี
ใบความรู้ที่ 1 ความรู้พื้นฐานโปรแกรมภาษาซี
 
Chapter1
Chapter1Chapter1
Chapter1
 
3.3. ชนิดของข้อมูล
3.3. ชนิดของข้อมูล3.3. ชนิดของข้อมูล
3.3. ชนิดของข้อมูล
 
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐานโปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
 
การเขียนโปรแกรมภาษาซี
การเขียนโปรแกรมภาษาซีการเขียนโปรแกรมภาษาซี
การเขียนโปรแกรมภาษาซี
 
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐานโปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
 
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐานโปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
 
การเขียนโปรแกรมเพื่องานอาชีพ 6.
การเขียนโปรแกรมเพื่องานอาชีพ 6.การเขียนโปรแกรมเพื่องานอาชีพ 6.
การเขียนโปรแกรมเพื่องานอาชีพ 6.
 
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชัน มาตรฐาน 6
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชัน มาตรฐาน 6โปรแกรมย่อยและฟังก์ชัน มาตรฐาน 6
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชัน มาตรฐาน 6
 
งานทำBlog บทที่ 10
งานทำBlog บทที่ 10งานทำBlog บทที่ 10
งานทำBlog บทที่ 10
 
7 2โครงสร้าง
7 2โครงสร้าง7 2โครงสร้าง
7 2โครงสร้าง
 
C lu
C luC lu
C lu
 
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน 1
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน 1โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน 1
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน 1
 
59170249 ธิดารัตน์
59170249 ธิดารัตน์59170249 ธิดารัตน์
59170249 ธิดารัตน์
 
Pbl2
Pbl2Pbl2
Pbl2
 
Learn 2
Learn 2Learn 2
Learn 2
 
ฟังก์ชั่นย่อยและโปรแกรมมาตรฐาน ม.6.1
ฟังก์ชั่นย่อยและโปรแกรมมาตรฐาน ม.6.1ฟังก์ชั่นย่อยและโปรแกรมมาตรฐาน ม.6.1
ฟังก์ชั่นย่อยและโปรแกรมมาตรฐาน ม.6.1
 

Similar to 3.1 โครงสร้างของภาษาซี

โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน (1)
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน (1)โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน (1)
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน (1)Thachanok Plubpibool
 
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐานโปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐานThachanok Plubpibool
 
โครงสร้างของโปรแกรมภาษาซี
โครงสร้างของโปรแกรมภาษาซีโครงสร้างของโปรแกรมภาษาซี
โครงสร้างของโปรแกรมภาษาซีณัฐพล บัวพันธ์
 
การเขียนโปรแกรมภาษาซี
การเขียนโปรแกรมภาษาซีการเขียนโปรแกรมภาษาซี
การเขียนโปรแกรมภาษาซีchoco336
 
การเขียนโปรแกรมภาษาซี
การเขียนโปรแกรมภาษาซีการเขียนโปรแกรมภาษาซี
การเขียนโปรแกรมภาษาซีchoco336
 
การเขียนโปรแกรมภาษาซี
การเขียนโปรแกรมภาษาซีการเขียนโปรแกรมภาษาซี
การเขียนโปรแกรมภาษาซีchoco336
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2หน่วยการเรียนรู้ที่ 2
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2SubLt Masu
 
ภาษา C
ภาษา Cภาษา C
ภาษา C0872671746
 

Similar to 3.1 โครงสร้างของภาษาซี (20)

3.1 โครงสร้างของภาษาซี
3.1 โครงสร้างของภาษาซี3.1 โครงสร้างของภาษาซี
3.1 โครงสร้างของภาษาซี
 
โครงสร้างของโปรแกรมภาษา C
โครงสร้างของโปรแกรมภาษา Cโครงสร้างของโปรแกรมภาษา C
โครงสร้างของโปรแกรมภาษา C
 
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน (1)
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน (1)โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน (1)
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน (1)
 
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐานโปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
 
โครงสร้างของโปรแกรมภาษาซี
โครงสร้างของโปรแกรมภาษาซีโครงสร้างของโปรแกรมภาษาซี
โครงสร้างของโปรแกรมภาษาซี
 
การเขียนโปรแกรมภาษาซี
การเขียนโปรแกรมภาษาซีการเขียนโปรแกรมภาษาซี
การเขียนโปรแกรมภาษาซี
 
การเขียนโปรแกรมภาษาซี
การเขียนโปรแกรมภาษาซีการเขียนโปรแกรมภาษาซี
การเขียนโปรแกรมภาษาซี
 
การเขียนโปรแกรมภาษาซี
การเขียนโปรแกรมภาษาซีการเขียนโปรแกรมภาษาซี
การเขียนโปรแกรมภาษาซี
 
Mindmapping
MindmappingMindmapping
Mindmapping
 
Mindmapping
MindmappingMindmapping
Mindmapping
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2หน่วยการเรียนรู้ที่ 2
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2
 
โครงสร้างของโปรแกรมภาษา C
โครงสร้างของโปรแกรมภาษา Cโครงสร้างของโปรแกรมภาษา C
โครงสร้างของโปรแกรมภาษา C
 
โครงสร้างของโปรแกรมภาษา C
โครงสร้างของโปรแกรมภาษา Cโครงสร้างของโปรแกรมภาษา C
โครงสร้างของโปรแกรมภาษา C
 
โครงสร้างของโปรแกรมภาษา C
โครงสร้างของโปรแกรมภาษา Cโครงสร้างของโปรแกรมภาษา C
โครงสร้างของโปรแกรมภาษา C
 
Introduction Of C
Introduction Of CIntroduction Of C
Introduction Of C
 
ภาษา C
ภาษา Cภาษา C
ภาษา C
 
Know 1 1
Know 1 1Know 1 1
Know 1 1
 
C chap2
C chap2C chap2
C chap2
 
โครงสร้างของโปรแกรมภาษา C
โครงสร้างของโปรแกรมภาษา Cโครงสร้างของโปรแกรมภาษา C
โครงสร้างของโปรแกรมภาษา C
 
โครงสร้างของโปรแกรมภาษา C
โครงสร้างของโปรแกรมภาษา Cโครงสร้างของโปรแกรมภาษา C
โครงสร้างของโปรแกรมภาษา C
 

More from รัสนา สิงหปรีชา

บทที่ 6-การใช้งานเทคโนโลยีสารสนเทศอย่างมีความรับผิดชอบ
บทที่ 6-การใช้งานเทคโนโลยีสารสนเทศอย่างมีความรับผิดชอบบทที่ 6-การใช้งานเทคโนโลยีสารสนเทศอย่างมีความรับผิดชอบ
บทที่ 6-การใช้งานเทคโนโลยีสารสนเทศอย่างมีความรับผิดชอบรัสนา สิงหปรีชา
 
บทที่ 1 เทคโนโลยีสมัยใหม่เอาลงบล๊อก
บทที่ 1 เทคโนโลยีสมัยใหม่เอาลงบล๊อกบทที่ 1 เทคโนโลยีสมัยใหม่เอาลงบล๊อก
บทที่ 1 เทคโนโลยีสมัยใหม่เอาลงบล๊อกรัสนา สิงหปรีชา
 
3.1 การทำงานขั้นพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
3.1 การทำงานขั้นพื้นฐานของคอมพิวเตอร์3.1 การทำงานขั้นพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
3.1 การทำงานขั้นพื้นฐานของคอมพิวเตอร์รัสนา สิงหปรีชา
 
3.1 การทำงานขั้นพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
3.1 การทำงานขั้นพื้นฐานของคอมพิวเตอร์3.1 การทำงานขั้นพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
3.1 การทำงานขั้นพื้นฐานของคอมพิวเตอร์รัสนา สิงหปรีชา
 
บทที่ 2 ข้อมูล สารสนเทศ และความรู้
บทที่ 2  ข้อมูล สารสนเทศ และความรู้บทที่ 2  ข้อมูล สารสนเทศ และความรู้
บทที่ 2 ข้อมูล สารสนเทศ และความรู้รัสนา สิงหปรีชา
 

More from รัสนา สิงหปรีชา (20)

บทที่ 6-การใช้งานเทคโนโลยีสารสนเทศอย่างมีความรับผิดชอบ
บทที่ 6-การใช้งานเทคโนโลยีสารสนเทศอย่างมีความรับผิดชอบบทที่ 6-การใช้งานเทคโนโลยีสารสนเทศอย่างมีความรับผิดชอบ
บทที่ 6-การใช้งานเทคโนโลยีสารสนเทศอย่างมีความรับผิดชอบ
 
บทที่ 1 เทคโนโลยีสมัยใหม่เอาลงบล๊อก
บทที่ 1 เทคโนโลยีสมัยใหม่เอาลงบล๊อกบทที่ 1 เทคโนโลยีสมัยใหม่เอาลงบล๊อก
บทที่ 1 เทคโนโลยีสมัยใหม่เอาลงบล๊อก
 
3.1 การทำงานขั้นพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
3.1 การทำงานขั้นพื้นฐานของคอมพิวเตอร์3.1 การทำงานขั้นพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
3.1 การทำงานขั้นพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
 
3.1 การทำงานขั้นพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
3.1 การทำงานขั้นพื้นฐานของคอมพิวเตอร์3.1 การทำงานขั้นพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
3.1 การทำงานขั้นพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
 
3.1 องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
3.1 องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์3.1 องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
3.1 องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
 
บทที่ 2 ข้อมูล สารสนเทศ และความรู้
บทที่ 2  ข้อมูล สารสนเทศ และความรู้บทที่ 2  ข้อมูล สารสนเทศ และความรู้
บทที่ 2 ข้อมูล สารสนเทศ และความรู้
 
3.8 การทำงานตามลำดับ
3.8 การทำงานตามลำดับ3.8 การทำงานตามลำดับ
3.8 การทำงานตามลำดับ
 
3.3. ชนิดของข้อมูล
3.3. ชนิดของข้อมูล3.3. ชนิดของข้อมูล
3.3. ชนิดของข้อมูล
 
3.3. ชนิดของข้อมูล
3.3. ชนิดของข้อมูล3.3. ชนิดของข้อมูล
3.3. ชนิดของข้อมูล
 
คู่มือนักเรียน 3.1
คู่มือนักเรียน 3.1คู่มือนักเรียน 3.1
คู่มือนักเรียน 3.1
 
คู่มือครู
คู่มือครูคู่มือครู
คู่มือครู
 
3.8 การทำงานตามลำดับ
3.8 การทำงานตามลำดับ3.8 การทำงานตามลำดับ
3.8 การทำงานตามลำดับ
 
3.7 การเขียนผังงาน
3.7 การเขียนผังงาน3.7 การเขียนผังงาน
3.7 การเขียนผังงาน
 
3.4 ตัวดำเนินการและนิพจน์
3.4 ตัวดำเนินการและนิพจน์3.4 ตัวดำเนินการและนิพจน์
3.4 ตัวดำเนินการและนิพจน์
 
3.3 ชนิดของข้อมูล
3.3 ชนิดของข้อมูล3.3 ชนิดของข้อมูล
3.3 ชนิดของข้อมูล
 
3.1 โครงสร้างของภาษาซี
3.1 โครงสร้างของภาษาซี3.1 โครงสร้างของภาษาซี
3.1 โครงสร้างของภาษาซี
 
3.1 โครงสร้างของภาษาซี
3.1 โครงสร้างของภาษาซี3.1 โครงสร้างของภาษาซี
3.1 โครงสร้างของภาษาซี
 
3.3 ชนิดของข้อมูล
3.3 ชนิดของข้อมูล3.3 ชนิดของข้อมูล
3.3 ชนิดของข้อมูล
 
3.2 ตัวแปรและคำสงวน
3.2 ตัวแปรและคำสงวน3.2 ตัวแปรและคำสงวน
3.2 ตัวแปรและคำสงวน
 
3.1 โครงสร้างของภาษาซี
3.1 โครงสร้างของภาษาซี3.1 โครงสร้างของภาษาซี
3.1 โครงสร้างของภาษาซี
 

3.1 โครงสร้างของภาษาซี

  • 1.
  • 2. โครงสร้างของภาษา C ในโปรแกรมที่พัฒนาด้วยภาษา C ทุกโปรแกรมจะมีโครงสร้างการ พัฒนาไม่แตกต่างกัน ซึ่งประกอบด้วย 5 ส่วนหลัก ๆ โดยที่แต่ละส่วนมี หน้าที่แตกต่างกัน ดังนี้ 1 พรีโปรเซสเซอร์ไดเรกทีฟ (Preprocessor directive) 2 ส่วนประกาศ (Global declarations) 3 ส่วนฟังก์ชันหลัก (main () function) 4 ส่วนกาหนดฟังก์ชันขึ้นใช้เอง (Uses –define functions) 5 ส่วนอธิบายโปรแกรม (Program comment)
  • 3. 1. พรีโปรเซสเซอร์ไดเรกทีฟ (Preprocessor directive) อาจเรียกอีกชื่อหนึ่งว่าส่วนหัวโปรแกรม (Header Part) ส่วนนี้ทุกโปรแกรมจะต้องมี จะขึ้นต้นด้วยเครื่องหมาย # เสมอ การ ทางานของคอมไพเลอร์จะทางานในส่วนนี้เป็นส่วนแรก จะเป็นส่วนที่ เก็บไลบราลีมาตรฐานของภาษา C ซึ่งจะถูกดึงเข้ามารวมกับ โปรแกรมในขณะแปลภาษาโปรแกรม (Compile) โดยใช้คาสั่ง #Include ซึ่งสามารถเขียนได้ 2 รูปแบบ คือ •รูปแบบที่ 1 #include<HeaderName> •รูปแบบที่ 2 #include“HeaderName” โครงสร้างของภาษา C
  • 4. แบบที่ใช้เครื่องหมาย <…> คอมไพเลอร์จะค้นหาเฮดเดอร์ จากไลบราลีของภาษา C เพียงที่เดียวเท่านั้น ส่วนที่ใช้ เครื่องหมาย “…” คอมไพเลอร์จะค้นหาเฮดเดอร์จากไลบราลีที่ เก็บ Source Code ของเราก่อน ถ้าหากไม่เจอก็จะไปค้นหาที่ไล บราลีของภาษา C และเฮดเดอร์ไฟล์นี้จะมีนามสกุลเป็น .h เท่านั้น ในการเขียนโปรแกรมภาษา C เฮดเดอร์ไฟล์ที่เก็บไลบราลี มาตรฐานในการจัดการเกี่ยวกับอินพุต และเอาต์พุตของ โปรแกรมก็คือ stdio.h ซึ่งถือว่าเป็นส่วนสาคัญที่ขาดไม่ได้ โครงสร้างของภาษา C
  • 5. 2. ส่วนประกาศ (Global declarations) ส่วนนี้จะใช้ในการ ประกาศตัวแปรหรือฟังก์ชันที่ต้องใช้ในโปรแกรม โดยทุก ๆ ส่วนของโปรแกรมสามารถจะเรียกใช้ข้อมูลที่ประกาศไว้ในส่วน นี้ได้ ซึ่งส่วนนี้จะมีหรือไม่มีก็ได้
  • 6. 3. ส่วนของฟังก์ชันหลัก (main() function) ส่วนนี้ทุกโปรแกรม จะต้องมี ซึ่งจะประกอบไปด้วยประโยคคาสั่งต่าง ๆ ที่จะให้ โปรแกรมทางาน โดยนาคาสั่งต่าง ๆ มาเรียงต่อกัน และแต่ละ ประโยคคาสั่งจะจบด้วยเครื่องหมายเซมิโคลอน (;) โดยใน ขอบเขตของฟังก์ชันจะเริ่มต้นด้วยเครื่องหมาย { และสิ้นสุดด้วย เครื่องหมาย }
  • 7. 4. ส่วนกาหนดฟังก์ชันขึ้นใช้เอง (Uses –define functions) เป็นการเขียนคาสั่งและฟังก์ชันต่าง ๆ ขึ้นใช้ในโปรแกรม โดย ต้องอยู่ในเครื่องหมาย { } และต้องสร้างฟังก์ชันหรือคาใหม่ที่ให้ ทางานตามที่เราต้องการให้กับโปรแกรมและสามารถเรียกใช้ได้ ภายในโปรแกรม
  • 8. ตัวอย่างการกาหนดฟังก์ชันขึ้นใช้เอง #include<stdio.h> main() { function();/*เรียกใช้ฟังก์ชันที่สร้างขึ้น*/ } function()/*สร้างฟังก์ชันใหม่ โดยใช้ชื่อว่า function*/ { return;/*คืนค่าที่เกิดจากการทาฟังก์ชัน*/ }
  • 9. 5. ส่วนอธิบายโปรแกรม (Program comment) ส่วนนี้ใช้เขียน คอมเมนต์ในโปรแกรม เพื่ออธิบายการทางานต่าง ๆ ทาให้ผู้ ศึกษาโปรแกรมในภายหลังทาความเข้าใจโปรแกรมได้ง่ายขึ้น เมื่อคอมไพล์โปรแกรมส่วนนี้จะถูกข้ามไป คอมเมนต์ในภาษาซีมี 2 แบบ คือ 1. คอมเมนต์แบบบรรทัดเดียวใช้เครื่องหมาย // 2. คอมเมนต์แบบหลายบรรทัด ใช้เครื่องหมาย /* และ */
  • 11. ตัวอย่างการเขียนโปรแกรมขั้นต้น #include<stdio.h> main () { } ส่วนหัว ส่วนฟังก์ชันหลัก
  • 12. จากตัวอย่างโปรแกรมอย่างง่ายจะประกอบด้วยสองส่วนคือ 1. ส่วนที่หนึ่งเป็นส่วนหัวหรือส่วนเรียกโมดูลอื่น ๆ เข้ามาแปลความหมาย โดยเป็นส่วนของพรีโปรเซสเซอร์ไดเร็กทีฟ (Preprocessor Directive) ซึ่งอาจ เป็นโมดูลมาตรฐานที่มีอยู่แล้วในโปรแกรมหรือโมดูลใหม่ที่สร้างขึ้นมาเองก็ได้ โดยโมดูลเหล่านี้จะบรรจุคาสั่งหรือข้อกาหนดต่าง ๆ ที่จะใช้ในโปรแกรมที่เขียน ขึ้น 2. ส่วนที่สอง เรียกว่าส่วนฟังก์ชันหลัก ซึ่งเป็นส่วนคาสั่งหรือสเตตเมนต์ (Statement) จะเป็นส่วนที่เก็บคาสั่งต่าง ๆ ที่จะให้โปรแกรมทางาน โดยจะ เริ่มต้นด้วยเครื่องหมายปีกกาเปิด { และจบด้วยเครื่องหมายปีกกาปิด } ส่วนนี้ จะมีมากกว่าหนึ่งฟังก์ชันก็ได้ แต่ทุกโปรแกรมจะต้องมีฟังก์ชัน main ซึ่งถือว่า เป็นฟังก์ชันหลักที่โปรแกรมจะทางานได้
  • 13. โดยที่ structNameเป็นชื่อสตรัคเจอร์ที่ส่งค่าข้อมูลกลับไปให้ฟังก์ชัน functionName เป็นชื่อฟังก์ชัน statements เป็นชุดคาสั่งภายในฟังก์ชัน varstructName เป็นชื่อตัวแปรสตรัคเจอร์ที่ต้องการส่งกลับ
  • 14. ที่มา : คู่มืออบรมครูวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ คอมพิวเตอร์ โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย หนังสือเรียนรายวิชาเพิ่มเติม การเขียนโปรแกรมเบื้องต้นด้วยภาษา C บริษทซัคเซสมีเดีย คู่มือเรียนเขียนโปรแกรมภาษา สานักพิมพ์ IDC PREMIER