SlideShare a Scribd company logo
1 of 11
บทที่ 5
ข้อมูลและตัวแปร
ใบบทนี้จะเป็นการอธิบายเกี่ยวกับชนิดของข้อมูล การใช้งานตัวแปร และค่า
คงที่ ที่ใช้กับ Visual Basic ไม่ว่าโปรแกรมประยุกต์ใด ภาษาใด สิ่งที่ต้องรู้เป็น
อันดับแรกๆ ก็คือ ตัวแปร ค่าคงที่และ ชนิดของข้อมูล ของภาษานั้น ๆ ซึ่งจะ
ทำาให้เห็นข้อจำากัดต่างๆ ในภาษานั้น ๆ ทำาให้สามารถใช้งานได้อย่างถูกต้อง
และมีประสิทธิภาพ เพราะตัวแปรและค่าคงที่ถือได้ว่าเป็นตัวแทนของข้อมูล ที่จะ
ต้องนำาไปใช้งาน ประมวลผล และแสดงสิ่งที่ได้จากการประมวลผล
ชนิดของข้อมูล
Visual Basic มีชนิดของข้อมูลหลายชนิด ไม่ว่าจะเป็นตัวเลขจำานวนเต็ม
ตัวเลขที่มีทศนิยม ข้อความ ตัวเลขทางการเงิน ค่าทางตรรกะ เป็นต้น ข้อมูล
แต่ละชนิด จะใช้พื้นที่ในการเก็บไม่เท่ากัน รวมถึงความเร็วในการประมวลผลก็
แตกต่างกันด้วย สามารถแบ่งชนิดของข้อมูลที่ใช้กัน Visual Basic ได้ดัง
ตารางต่อไปนี้
ชนิดข้อมูล รายละเอียด
หน่วย
ความจำา
Boolean
เก็บค่าทางตรรกะที่ได้มี 2 ค่า คือ
true (จริง), false (เท็จ)
2 Bytes
Byte เก็บค่าเลขจำานวนเต็มตั้งแต่ 0-255 1 Byte
Currency
ใช้เก็บตัวเลขจำานวนจริง มีค่า
ระหว่าง -
922,337,203,685,477.5808
ถึง
922,337,203,685,477.5807
8 Bytes
Date ใช้สำาหรับเก็บวันที่และเวลา 8 Bytes
Double
ใช้เก็บตัวเลขจำานวนจริง แยกเป็น
2 กรณี คือ ค่าบวกอยู่ระหว่าง
4.94065645841247E-324 ถึง
1.79769313486232E308 ค่าลบ
อยู่ระหว่าง -
1.79769313486232E308 ถึง
-4.94065645841247E-324
8 Bytes
Integer
เก็บค่าเลขจำานวนเต็มที่มีค่าระหว่าง
-32768 ถึง 32767
2 Bytes
Long ใช้เก็บเลขจำานวนเต็มที่มีค่าระหว่าง
-2,147,483,648 ถึง
4 Bytes
2,147,483,647
Object
ใช้สำาหรับแทนวัตถุที่ Visual Basic
สนับสนุน
4 Bytes
Single
ใช้เก็บตัวเลขจำานวนจริง แยกเป็น
2 กรณี คือ ค่าบวกอยู่ระหว่าง
1.401298E-45 ถึง
3.402823E38 และค่าลบอยู่
ระหว่าง -3.402823E38 ถึง
-1.401298E45
4 Bytes
String
ใช้เก็บตัวอักษร ข้อความ และ
ตัวเลข
1 ตัว/1
ไบต์
Variant
ข้อมูลพิเศษสามารถเก็บข้อมูลได้ทุก
ชนิด
16
Bytes
การประกาศค่าตัวแปร (Variable Declaration)
ก่อนที่จะใช้งานตัวแปร หรือค่าคงที่ทุกครั้ง ควรประกาศตัวแปร (variable
declaration) ก่อน เพื่อให้ Visual Basic รู้ว่า ตัวแปรที่ต้องการใช้งาน ใช้
แทนข้อมูลชนิดใดถึงแม้ว่า Visual Basic อนุญาตให้ใช้งานตัวแปรได้ โดยไม่
ต้องประกาศตัวแปร แต่ตัวแปรที่ได้จะใช้ทรัพยากรระบบ มากเกินความจำาเป็น
รวมถึงประมวลผลได้ช้า เพราะจะเป็นตัวแปรที่สามารถแทนข้อมูลได้ทุกชนิด ซึ่ง
Visual Basic เรียกว่า ตัวแปรชนิด Variant ซึ่งควรหลีกเลี่ยงการใช้งาน
ตัวแปรชนิดนี้
รูปแบบคำาสั่งการประกาศตัวแปรของ Visual Basic
Dim varname As datatypes
Dim คือ คำาสั่ง (statements) สำาหรับประกาศตัวแปร
varname คือ ชื่อของตัวแปรที่ต้องการประกาศ
As คือ ส่วนที่บอกให้ Visual Basic ทราบว่าต้องการ
กำาหนดชนิดของข้อมูล
datatypes คือ ชนิดของข้อมูลที่ Visual Basic สนับสนุน
ตัวอย่าง
2
รูปที่ 5-1 การประกาศตัวแปร
กรณีที่ต้องการกำาหนดให้มีการประกาศตัวแปรทุกครั้งก่อนที่จะมีการเรียกใช้
ตัวแปร เพื่อหลีกเลี่ยงการใช้ตัวแปรชนิด Variant ให้พิมพ์คำาสั่ง Option
Explicit ไว้ข้างบนสุดก่อนพิมพ์คำาสั่งอื่น ๆ
กฎการตั้งชื่อตัวแปรและค่าคงที่
1. ขึ้นต้นด้วยพยัญชนะเท่านั้น
2. ความยาวของชื่อที่ตั้งสูงสุดไม่เกิน 255 ตัวอักษร
3. ชื่อที่ตั้ง ต้องไม่ซำ้ากันคำาสงวน (Keywords) คำาสั่ง (Statements) ฟังก์ชัน
(Functions) หรืออื่น ๆ ที่ Visual Basic กำาหนดไว้
4. ห้ามตั้งชื่อซำ้ากันในโพรซีเดอร์เดียวกัน หรือในขอบเขตเดียวกัน
5. ห้ามใช้เครื่องหมายทางคณิตศาสตร์, ตัวดำาเนินการ (Operators) หรือ
เครื่องหมายพิเศษ เช่น @, # มาตั้งชื่อ
6. ห้ามมีช่องว่างในชื่อตัวแปรถ้าต้องการเว้นว่างให้ใช้เครื่องหมาย _
(Underscore) เท่านั้น
การตั้งชื่อวัตถุ
วัตถุ
คำานำาหน้า
(Prefix)
ตัวอย่าง
CheckBox Chk ChkStatus
ComboBox Cbo CboType
CommandButto
n
Cmd CmdSave
3
Image Img
ImgProduc
t
Label Lbl Lbladdress
ListBox Lst LstDay
OptionButton Opt OptSex
TextBox Txt TxtName
Timer Tmr TmrTime
ขอบเขตของตัวแปร (Scope of Variable)
ใน Visual Basic สามารถแบ่งขอบเขตตัวแปรได้ 2 ประเภท คือ
1. ตัวแปรแบบ Local
2. ตัวแปรแบบ Public
ตัวแปรแบบ Local
หมายถึง ตัวแปรที่ประกาศขึ้นมา ให้สามารถเรียกใช้งานได้ ในเฉพาะ
โพรซีเดอร์ที่ประกาศเท่านั้น มักใช้ประกาศตัวแปรที่ต้องการใช้ชั่วคราว หรือ
ต้องการใช้ในโพรซีเดอร์นั้นๆ
ตัวอย่าง
Private Sub AddNum_Click( )
Dim x As Integer
Dim y As Integer
x = 5
y = 6
x = x + y
End Sub
Private Sub DelNum_Click( )
Dim x As Integer
Dim y As Integer
4
x = 3
y = 2
จากตัวอย่าง ตัวแปร x และ y ถูกประกาศใน Sub AddNum และ Sub
DelNum ซึ่ง x และ y ใน AddNum จะเป็นคนละตัวกับ x และ y ใน
DelNum
ตัวแปรแบบ Public
หมายถึง ตัวแปรที่ประกาศขึ้นในส่วนบนหลัง Option Explicit ทำาให้สามารถ
เรียกใช้งานได้ทุกโพรซีเดอร์ในฟอร์มนั้น กรณีที่ประกาศตัวแปรแบบ Public
ใน Module จะทำาให้ตัวแปรนั้นสามารถเรียกใช้งานได้จากทุกฟอร์ม
ตัวอย่าง
Option Explicit
Dim x as Integer
Dim y as Integer
Private Sub AddNum_Click( )
x = 5
y = 6
x = x + y
End Sub
Private Sub DelNum_Click( )
x = x - y
End Sub
จากตัวอย่าง ตัวแปร x และ y ถูกประกาศในถัดจาก Option Explicit ก่อน
Sub AddNum ทำาให้ตัวแปร x และ y ใน Sub AddNum และ Sub
DelNum เป็นตัวแปรตัวเดียวกัน
ตัวแปรอาร์เรย์ (Array)
ตัวแปรอาร์เรย์ เป็นกลุ่มของตัวแปรที่ประกาศขึ้นมา โดยใช้ชื่อของเดียวใช้ค่า
Index ในการอ้างถึง ประโยชน์ของตัวแปรชนิดนี้คือ กรณีที่ต้องการมีการใช้
5
ตัวแปรจำานวนมาก การประกาศตัวแปรสามารถประกาศเพียงชื่อเดียว ลดความ
ซำ้าซ้อนของตัวแปร และทำาให้ง่ายต่อการเรียกใช้ มีรูปแบบการประกาศดังนี้
Dim Varname(amount) as Datatype
Dim คือ คำาสั่ง (statements) สำาหรับประกาศ
ตัวแปร
varname คือ ชื่อของตัวแปรอาร์เรย์ที่ต้องการประกาศ
amount คือ จำานวนสมาชิกของอาร์เรย์
As คือ ส่วนที่บอกให้ Visual Basic ทราบว่า
ต้องการกำาหนดชนิดของข้อมูล
datatypes คือ ชนิดของข้อมูลที่ Visual Basic สนับสนุน
ตัวอย่าง
รูปที่ 5-2 การประกาศอาร์เรย์
ตัวแปรอาร์เรย์แบ่งออกได้ 2 ชนิด คือ
1. ตัวแปรอาร์เรย์แบบสแตติก (Static Arrays)
2. ตัวแปรอาร์เรย์แบบไดนามิก (Dynamic Arrays)
ตัวแปรอาร์เรย์แบบสแตติก (Static Arrays)
เป็นอาร์เรย์ที่มีการระบุจำานวนสมาชิกเมื่อมีการประกาศตัวแปร จะใช้อาร์เรย์
ชนิดนี้ในกรณีที่ทราบจำานวนสมาชิกของอาร์เรย์ที่แน่นอน
ตัวอย่าง
Dim vprint (10) as String
จากตัวอย่างเป็นการประกาศตัวแปรอาร์เรย์ชื่อ vprint ให้มีจำานวนสมาชิกทั้ง
สิ้น 10 และ เป็นข้อมูลชนิดตัวอักษร ในการอ้างถึงตัวแปรให้ทำาการระบุ Index
6
หรือลำำดับที่ของสมำชิก โดยสมำชิกตัวแรกให้ระบุ Index เป็น 0 เช่น เมื่อ
ต้องกำรอ้ำงถึงสมำชิกตัวแรกสุดให้ระบุเป็น vprint(0)สมำชิกตัวที่ 7 ให้ระบุ
เป็น vprint(6) สมำชิกตัวสุดท้ำยระบุเป็น vprint(9)
ตัวแปรอำร์เรย์แบบไดนำมิก (Dynamic Arrays)
เป็นอำร์เรย์ที่ไม่มีกำรระบุจำำนวนสมำชิกเมื่อมีกำรประกำศตัวแปร เนื่องจำกไม่
ทรำบจำำนวนสมำชิกที่แน่นอน
ตัวอย่ำง
Dim ccode( ) as String
จำกตัวอย่ำงเป็นกำรประกำศตัวแปรอำร์เรย์ชื่อ ccode โดยไม่ระบุจำำนวน
สมำชิก และเป็นข้อมูลชนิดตัวอักษร
เมื่อต้องกำรใช้งำนตัวแปรจะต้องระบุจำำนวนสมำชิกให้กับตัวแปรอำร์เรย์ โดย
ใช้คำำสั่งดังนี้
Redim ccode(5)
จำกตัวอย่ำงเป็นกำรกำำหนดให้ตัวแปรอำร์เรย์ ccode ที่ได้ประกำศไว้แล้วให้มี
จำำนวนสมำชิก 5
ข้อดีของตัวแปรอำร์เรย์แบบไดนำมิกคือ จำำนวนสมำชิกของอำร์เรย์จะถูก
กำำหนดให้มีควำมเหมำะสมต่อกำรใช้งำนเนื่อง เนื่องจำกสำมำรถระบุจำำนวน
สมำชิกได้ภำยหลัง แต่ตัวแปรอำร์เรย์แบบสแตติกจะต้องระบุจำำนวนสมำชิกทันที
ที่มีกำรประกำศตัวแปร กำรสร้ำงชนิดของตัวแปรขึ้นใช้เอง (User-
defined data type)
กรณีที่ต้องกำรเก็บข้อมูลเป็นชุดแต่ประกอบด้วยข้อมูลหลำย ๆ ชนิด สำมำรถ
ทำำได้โดยกำรสร้ำงชนิดข้อมูลพิเศษขึ้นมำ โดยนำำชนิดของข้อมูลพื้นฐำนดัง
กล่ำวทั้งหมดมำสร้ำงตำมที่ต้องกำรโดยมีรูปแบบดังนี้
[Public I Private] Type Varname
elementname [([subscripts])] As type
[elementname [([subscripts])] As type]
……
End Type
Public(Opt
ional)
คือ ส่วนที่กำำหนดให้ค่ำคงที่สำมำรถใช้ได้ทั้ง
โปรเจ็กต์ ทุกโมดูล
7
Private(Op
tional)
คือ ส่วนที่กำำหนดให้ค่ำคงที่สำมำรถใช้ได้
เฉพำะโมดูลที่ประกำศเท่ำนั้น
Varname คือ ชื่อของชนิดข้อมูลที่กำำหนดขึ้นมำใหม่
elementna
me
คือ ชื่อของตัวแปร ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของชนิด
ข้อมูลที่สร้ำงขึ้นมำ
Subscripts คือ จำำนวนสมำชิกกรณีที่ต้องกำรให้เป็น
ตัวแปรอำร์เรย
Type คือ ชนิดของข้อมูลพื้นฐำนแต่ละตัว
ตัวอย่ำง
Type Customer
CustName As String
Address As String
Age As Integer
End Type
จำกตัวอย่ำงเป็นกำรสร้ำงชนิดข้อมูลขึ้นมำใหม่ โดยให้ชื่อว่ำ Customer โดย
มีตัวแปรย่อย Name Address และ Age เมื่อต้องกำรใช้งำนชนิดข้อมูลดัง
กล่ำวต้องทำำกำรประกำศตัวแปรดังนี้
Dim newcust As Customer
เมื่อต้องกำรเก็บค่ำหรือนำำค่ำไปใช้ให้ใช้คำำสั่งดังนี้
newcust.CustName = "ปริษำ ปั้นดี"
newcust.Address = "123 ถ.ศรีสุมังค์ ต.เมืองใต้ อ.เมือง จ.ศรีสะเกษ
newcust.Age = 45
กำรประกำศค่ำคงที่ (Constant)
ค่ำคงที่ (Constant) หมำยถึงข้อมูลที่มีค่ำคงที่ไม่มีกำรเปลี่ยนแปลง ในกำร
ประกำศค่ำคงที่ต้องใช้คำำสั่ง Const เพื่อสร้ำงค่ำคงที่ มีรูปแบบดังนี้
[Public I Private] Const constname [As type] = expression
Public(Op
tional)
คือ ส่วนที่กำำหนดให้ค่ำคงที่สำมำรถใช้ได้ทั้งโปร
เจ็กต์ ทุกโมดูล
Private(O
ptional)
คือ ส่วนที่กำำหนดให้ค่ำคงที่สำมำรถใช้ได้เฉพำะ
โมดูลที่ประกำศเท่ำนั้น
Const คือ คำำสั่งสร้ำงค่ำคงที่
Constna
me
คือ ชื่อค่ำคงที่
Type คือ กำรกำำหนดชนิดของค่ำคงที่
8
(Optional
)
Expressio
n
คือ ค่ำที่ต้องกำรกำำหนด
ตัวอย่ำง
Option Explicit
Const PI As Double = 3.141578
Private Sub cmdCalc_Click( )
Dim radius As Double
Dim area As Double
Radius = CDb(InputBox("กรุณำใส่ค่ำรัศมี" , "ใส่
ค่ำ")
Area = PI * (radius) ^2
MsgBox "พื้นที่วงกลม = " & Area & " ตำรำงหน่วย "
End Sub
ตัวดำำเนินกำรใน Visual Basic (Operators)
ตัวดำำเนินกำร คือ เครื่องหมำยสำำหรับกระทำำกับข้อมูลอย่ำงน้อยที่สุด 2 ชุดมำก
ระทำำอย่ำงใดอย่ำงหนึ่ง เช่น บวก ลบ เชื่อมต่อ เปรียบเทียบ ทดสอบค่ำ เป็นต้น
ซึ่งสำมำรถแบ่งได้ 4 ประเภท ดังนี้
ตัวดำำเนินกำรด้ำนคณิตศำสตร์ (Arithmetic Operators)
คือเครื่องหมำยทำงคณิตศำสตร์ใช้สำำหรับกำรคำำนวณตัวเลข ดังตำรำง
ชื่อตัวดำำเนิน
กำร
ลักษณะตัวดำำเนิน
กำร
ตัวอย่ำง
กำรบวก + A + B
กำรลบ - A - B
9 กำรคูณ * A * B
กำรหำร / A / B
กำรหำรเอำแต่
จำำนวนเต็ม
 A  B
9
การหารเอาแต่
เศษ
Mod A Mod B
การยกกำาลัง ^ A ^ B
การเปลี่ยน
เครื่องหมาย
- -A
ตัวดำาเนินการทางด้านตรรกะ (Logical Operator)
คือเครื่องหมายสำาหรับตรวจสอบเงื่อนไขระหว่างกลุ่มนิพจน์ โดยจะให้ผลลัพธ์
เป็นจริง (True) และเป็นเท็จ (False) หรือสร้างเงื่อนไขขึ้นมาเพื่อทดสอบกรณี
ต่าง ๆ ดังตาราง
ตัวดำาเนิน
การ
ตัวอย่
าง
ผลลัพธ์
And
A
And
B
เป็นจริงเมื่อทั้ง 2 นิพจน์มีค่าเป็น
จริง
Or
A Or
B
เป็นเท็จเมื่อทั้ง 2 นิพจน์มีค่าเป็น
เท็จ
Xor
A Xor
B
เป็นจริงเมื่อทั้ง 2 นิพจน์มีค่าต่าง
กัน
Eqv
A Eqv
B
เป็นจริงเมื่องทั้ง 2 นิพจน์มีค่า
เหมือนกัน
Imp
A
Imp B
เป็นเท็จเมื่อนิพจน์หน้าเป็นจริง
นิพจน์หลังเป็นเท็จ
Not Not A ให้ค่าตรงข้ามกับค่าของนิพจน์
ตัวดำาเนินการทางด้านการเปรียบเทียบ (Comparison Operators)
เครื่องหมายที่ใช้สำาหรับเปรียบเทียบนิพจน์ 2 นิพจน์ เพื่อทดสอบ หรือสร้าง
เงื่อนไข โดยจะให้ผลลัพธ์เป็นจริง (True) และเป็นเท็จ (False) มักจะใช้คู่กับ
ตัวดำาเนินการทางด้านตรรกะ เพื่อตรวจสอบเงื่อนไขต่าง ๆ เสมอ ดังตาราง
ตัวดำาเนิน
การ
ชื่อตัวดำาเนินการ
< น้อยกว่า
> มากกว่า
10
<= น้อยกว่าหรือเท่ากับ
>= มากกว่าหรือเท่ากับ
= เท่ากับ
<> ไม่เท่ากับ
ตัวดำาเนินการทางด้านการเชื่อมข้อความ (Concentration
Operators)
เครื่องหมายที่ใช้สำาหรับเชื่อมข้อความตั้งแต่ 2 ข้อความเข้าด้วยกัน แต่ยังมี
กรณียกเว้นที่จะเป็นการบวกกันของนิพจน์ 2 นิพจน์ ซึ่งขึ้นอยู่กับชนิดของ
นิพจน์ที่จะมากระทำากัน ดังตาราง
ตัวดำาเนิน
การ
กรณี ตัวอย่าง ผลลัพธ์
+ String + String
"Visual"+"Basic
6.0"
"Visual Basic
6.0"
& String & String
"Visual"&"Basic
6.0"
"Visual Basic
6.0"
+
String(numeric)
+numeric
"20"+6 26
&
String(numeric)&nu
meric
"20"+6 206
ข้อมูลจาก : http://www.thanom.net/vb1.asp
11

More Related Content

What's hot

Java Programming [4/12] : Object Oriented Concept
Java Programming [4/12] : Object Oriented ConceptJava Programming [4/12] : Object Oriented Concept
Java Programming [4/12] : Object Oriented ConceptIMC Institute
 
บทที่1 พื้นฐานโปรแกรมภาษาซี
บทที่1 พื้นฐานโปรแกรมภาษาซีบทที่1 พื้นฐานโปรแกรมภาษาซี
บทที่1 พื้นฐานโปรแกรมภาษาซีKomkai Pawuttanon
 
Java Programming [12/12] : Thread
Java Programming [12/12] : ThreadJava Programming [12/12] : Thread
Java Programming [12/12] : ThreadIMC Institute
 
ค่าตัวแปรและตัวดำเนินการ [Web-Programming]
ค่าตัวแปรและตัวดำเนินการ [Web-Programming]ค่าตัวแปรและตัวดำเนินการ [Web-Programming]
ค่าตัวแปรและตัวดำเนินการ [Web-Programming]Khon Kaen University
 
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับภาษา PHP
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับภาษา PHPความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับภาษา PHP
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับภาษา PHPKhon Kaen University
 
การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐานการเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐานNookky Anapat
 
การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก.
การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก.การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก.
การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก.Mink Kamolwan
 
บทที่ 2 ตัวแปร
บทที่ 2 ตัวแปรบทที่ 2 ตัวแปร
บทที่ 2 ตัวแปรKomkai Pawuttanon
 
การเขียนคำสั่งขั้นพื้นฐาน(ภาษาC)
การเขียนคำสั่งขั้นพื้นฐาน(ภาษาC)การเขียนคำสั่งขั้นพื้นฐาน(ภาษาC)
การเขียนคำสั่งขั้นพื้นฐาน(ภาษาC)Visaitus Palasak
 
บทที่ 6 คลาสและการเขียนโปรแกรม
บทที่ 6 คลาสและการเขียนโปรแกรมบทที่ 6 คลาสและการเขียนโปรแกรม
บทที่ 6 คลาสและการเขียนโปรแกรมNookky Anapat
 
Java Programming: คลาสอินพุตและเอาต์พุต
Java Programming: คลาสอินพุตและเอาต์พุตJava Programming: คลาสอินพุตและเอาต์พุต
Java Programming: คลาสอินพุตและเอาต์พุตThanachart Numnonda
 
คลาสและการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุเบื้องต้น2
คลาสและการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุเบื้องต้น2คลาสและการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุเบื้องต้น2
คลาสและการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุเบื้องต้น2Iam Champooh
 
การสร้างแบบสอบถาม
 การสร้างแบบสอบถาม การสร้างแบบสอบถาม
การสร้างแบบสอบถามkruthanyaporn
 

What's hot (20)

บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
Lesson5
Lesson5Lesson5
Lesson5
 
Java Programming [4/12] : Object Oriented Concept
Java Programming [4/12] : Object Oriented ConceptJava Programming [4/12] : Object Oriented Concept
Java Programming [4/12] : Object Oriented Concept
 
บทที่1 พื้นฐานโปรแกรมภาษาซี
บทที่1 พื้นฐานโปรแกรมภาษาซีบทที่1 พื้นฐานโปรแกรมภาษาซี
บทที่1 พื้นฐานโปรแกรมภาษาซี
 
Pbl2
Pbl2Pbl2
Pbl2
 
ภาษา C#
ภาษา C#ภาษา C#
ภาษา C#
 
Java Programming [12/12] : Thread
Java Programming [12/12] : ThreadJava Programming [12/12] : Thread
Java Programming [12/12] : Thread
 
ค่าตัวแปรและตัวดำเนินการ [Web-Programming]
ค่าตัวแปรและตัวดำเนินการ [Web-Programming]ค่าตัวแปรและตัวดำเนินการ [Web-Programming]
ค่าตัวแปรและตัวดำเนินการ [Web-Programming]
 
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับภาษา PHP
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับภาษา PHPความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับภาษา PHP
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับภาษา PHP
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐานการเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
 
การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก.
การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก.การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก.
การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก.
 
ภาษาซีเบื้องต้น
ภาษาซีเบื้องต้นภาษาซีเบื้องต้น
ภาษาซีเบื้องต้น
 
บทที่ 2 ตัวแปร
บทที่ 2 ตัวแปรบทที่ 2 ตัวแปร
บทที่ 2 ตัวแปร
 
การเขียนคำสั่งขั้นพื้นฐาน(ภาษาC)
การเขียนคำสั่งขั้นพื้นฐาน(ภาษาC)การเขียนคำสั่งขั้นพื้นฐาน(ภาษาC)
การเขียนคำสั่งขั้นพื้นฐาน(ภาษาC)
 
บทที่ 6 คลาสและการเขียนโปรแกรม
บทที่ 6 คลาสและการเขียนโปรแกรมบทที่ 6 คลาสและการเขียนโปรแกรม
บทที่ 6 คลาสและการเขียนโปรแกรม
 
Java Programming: คลาสอินพุตและเอาต์พุต
Java Programming: คลาสอินพุตและเอาต์พุตJava Programming: คลาสอินพุตและเอาต์พุต
Java Programming: คลาสอินพุตและเอาต์พุต
 
Sheet4
Sheet4Sheet4
Sheet4
 
คลาสและการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุเบื้องต้น2
คลาสและการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุเบื้องต้น2คลาสและการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุเบื้องต้น2
คลาสและการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุเบื้องต้น2
 
การสร้างแบบสอบถาม
 การสร้างแบบสอบถาม การสร้างแบบสอบถาม
การสร้างแบบสอบถาม
 

Viewers also liked

หน่วยที่ 4 การจัดการเกี่ยวกับงานด้านเอกสาร
หน่วยที่ 4 การจัดการเกี่ยวกับงานด้านเอกสาร  หน่วยที่ 4 การจัดการเกี่ยวกับงานด้านเอกสาร
หน่วยที่ 4 การจัดการเกี่ยวกับงานด้านเอกสาร ณัฐพล บัวพันธ์
 
หน่วยที่ 8 กราฟ การเคลื่อนไหว และการจัดเตรียมนำเสนอ
หน่วยที่ 8 กราฟ การเคลื่อนไหว และการจัดเตรียมนำเสนอ หน่วยที่ 8 กราฟ การเคลื่อนไหว และการจัดเตรียมนำเสนอ
หน่วยที่ 8 กราฟ การเคลื่อนไหว และการจัดเตรียมนำเสนอ ณัฐพล บัวพันธ์
 
หน่วยที่ 6 การจัดการโปรแกรมเพื่อการวิเคราะห์ข้อมูล
หน่วยที่ 6 การจัดการโปรแกรมเพื่อการวิเคราะห์ข้อมูล หน่วยที่ 6 การจัดการโปรแกรมเพื่อการวิเคราะห์ข้อมูล
หน่วยที่ 6 การจัดการโปรแกรมเพื่อการวิเคราะห์ข้อมูล ณัฐพล บัวพันธ์
 
หน่วยที่ 7 โปรแกรมนำเสนอข้อมูล
หน่วยที่ 7 โปรแกรมนำเสนอข้อมูล  หน่วยที่ 7 โปรแกรมนำเสนอข้อมูล
หน่วยที่ 7 โปรแกรมนำเสนอข้อมูล ณัฐพล บัวพันธ์
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการตัดต่อภาพยนตร์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการตัดต่อภาพยนตร์ ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการตัดต่อภาพยนตร์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการตัดต่อภาพยนตร์ ณัฐพล บัวพันธ์
 
บทบาทหน้าที่ของทีมผลิตภาพยนตร์
บทบาทหน้าที่ของทีมผลิตภาพยนตร์บทบาทหน้าที่ของทีมผลิตภาพยนตร์
บทบาทหน้าที่ของทีมผลิตภาพยนตร์ณัฐพล บัวพันธ์
 
การวางแผนพัฒนาการสอนโดยใช้คอมพิวเตอร์พกพา(Tablet)
การวางแผนพัฒนาการสอนโดยใช้คอมพิวเตอร์พกพา(Tablet)การวางแผนพัฒนาการสอนโดยใช้คอมพิวเตอร์พกพา(Tablet)
การวางแผนพัฒนาการสอนโดยใช้คอมพิวเตอร์พกพา(Tablet)ณัฐพล บัวพันธ์
 
สื่อการเรียนรู้สำหรับคอมพิวเตอร์พกพา(Tablet)
สื่อการเรียนรู้สำหรับคอมพิวเตอร์พกพา(Tablet)สื่อการเรียนรู้สำหรับคอมพิวเตอร์พกพา(Tablet)
สื่อการเรียนรู้สำหรับคอมพิวเตอร์พกพา(Tablet)ณัฐพล บัวพันธ์
 
Apresentação Roberto Gonzalez - Programa Top VI(1)
Apresentação Roberto Gonzalez - Programa Top VI(1)Apresentação Roberto Gonzalez - Programa Top VI(1)
Apresentação Roberto Gonzalez - Programa Top VI(1)apimec
 

Viewers also liked (20)

Vb6 4 การสร้าง Application
Vb6 4 การสร้าง Application Vb6 4 การสร้าง Application
Vb6 4 การสร้าง Application
 
ใบความรู้ที่ 4.1
ใบความรู้ที่ 4.1ใบความรู้ที่ 4.1
ใบความรู้ที่ 4.1
 
ใบความรู้ที่ 1.2
ใบความรู้ที่ 1.2ใบความรู้ที่ 1.2
ใบความรู้ที่ 1.2
 
เฉลยโอเน็ต
เฉลยโอเน็ตเฉลยโอเน็ต
เฉลยโอเน็ต
 
ด้านที่ 1
ด้านที่ 1ด้านที่ 1
ด้านที่ 1
 
Uint2 2
Uint2 2Uint2 2
Uint2 2
 
หน่วยที่ 4 การจัดการเกี่ยวกับงานด้านเอกสาร
หน่วยที่ 4 การจัดการเกี่ยวกับงานด้านเอกสาร  หน่วยที่ 4 การจัดการเกี่ยวกับงานด้านเอกสาร
หน่วยที่ 4 การจัดการเกี่ยวกับงานด้านเอกสาร
 
หน่วยที่ 8 กราฟ การเคลื่อนไหว และการจัดเตรียมนำเสนอ
หน่วยที่ 8 กราฟ การเคลื่อนไหว และการจัดเตรียมนำเสนอ หน่วยที่ 8 กราฟ การเคลื่อนไหว และการจัดเตรียมนำเสนอ
หน่วยที่ 8 กราฟ การเคลื่อนไหว และการจัดเตรียมนำเสนอ
 
หน่วยที่ 6 การจัดการโปรแกรมเพื่อการวิเคราะห์ข้อมูล
หน่วยที่ 6 การจัดการโปรแกรมเพื่อการวิเคราะห์ข้อมูล หน่วยที่ 6 การจัดการโปรแกรมเพื่อการวิเคราะห์ข้อมูล
หน่วยที่ 6 การจัดการโปรแกรมเพื่อการวิเคราะห์ข้อมูล
 
หน่วยที่ 7 โปรแกรมนำเสนอข้อมูล
หน่วยที่ 7 โปรแกรมนำเสนอข้อมูล  หน่วยที่ 7 โปรแกรมนำเสนอข้อมูล
หน่วยที่ 7 โปรแกรมนำเสนอข้อมูล
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการตัดต่อภาพยนตร์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการตัดต่อภาพยนตร์ ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการตัดต่อภาพยนตร์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการตัดต่อภาพยนตร์
 
หน่วยที่ 1 ระบบคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 1 ระบบคอมพิวเตอร์หน่วยที่ 1 ระบบคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 1 ระบบคอมพิวเตอร์
 
บทบาทหน้าที่ของทีมผลิตภาพยนตร์
บทบาทหน้าที่ของทีมผลิตภาพยนตร์บทบาทหน้าที่ของทีมผลิตภาพยนตร์
บทบาทหน้าที่ของทีมผลิตภาพยนตร์
 
ชนิดของข้อมูลและตัวแปร
ชนิดของข้อมูลและตัวแปรชนิดของข้อมูลและตัวแปร
ชนิดของข้อมูลและตัวแปร
 
การวางแผนพัฒนาการสอนโดยใช้คอมพิวเตอร์พกพา(Tablet)
การวางแผนพัฒนาการสอนโดยใช้คอมพิวเตอร์พกพา(Tablet)การวางแผนพัฒนาการสอนโดยใช้คอมพิวเตอร์พกพา(Tablet)
การวางแผนพัฒนาการสอนโดยใช้คอมพิวเตอร์พกพา(Tablet)
 
สื่อการเรียนรู้สำหรับคอมพิวเตอร์พกพา(Tablet)
สื่อการเรียนรู้สำหรับคอมพิวเตอร์พกพา(Tablet)สื่อการเรียนรู้สำหรับคอมพิวเตอร์พกพา(Tablet)
สื่อการเรียนรู้สำหรับคอมพิวเตอร์พกพา(Tablet)
 
การสร้างข้อสอบโอเน็ต
การสร้างข้อสอบโอเน็ตการสร้างข้อสอบโอเน็ต
การสร้างข้อสอบโอเน็ต
 
การสร้างข้อสอบโอเน็ต
การสร้างข้อสอบโอเน็ตการสร้างข้อสอบโอเน็ต
การสร้างข้อสอบโอเน็ต
 
Institucional Quanam
Institucional QuanamInstitucional Quanam
Institucional Quanam
 
Apresentação Roberto Gonzalez - Programa Top VI(1)
Apresentação Roberto Gonzalez - Programa Top VI(1)Apresentação Roberto Gonzalez - Programa Top VI(1)
Apresentação Roberto Gonzalez - Programa Top VI(1)
 

Similar to Vb6 5 ข้อมูลและตัวแปร

หน่วยที่ 7 การสร้างคำสั่งอย่างง่าย
หน่วยที่ 7 การสร้างคำสั่งอย่างง่ายหน่วยที่ 7 การสร้างคำสั่งอย่างง่าย
หน่วยที่ 7 การสร้างคำสั่งอย่างง่ายkruthanyaporn
 
การสร้างคำสั่งอย่างง่าย (แมโคร)
การสร้างคำสั่งอย่างง่าย (แมโคร)การสร้างคำสั่งอย่างง่าย (แมโคร)
การสร้างคำสั่งอย่างง่าย (แมโคร)kruthanyaporn
 
พื้นฐานภาษาจาวา
พื้นฐานภาษาจาวาพื้นฐานภาษาจาวา
พื้นฐานภาษาจาวาAeew Autaporn
 
การเขียนโปรแกรมที่มีโครงสร้างแบบลำดับ
การเขียนโปรแกรมที่มีโครงสร้างแบบลำดับการเขียนโปรแกรมที่มีโครงสร้างแบบลำดับ
การเขียนโปรแกรมที่มีโครงสร้างแบบลำดับkritsana5721
 
ภาษา C
ภาษา Cภาษา C
ภาษา C0872671746
 
ใบความรู้ที่ 1.4
ใบความรู้ที่ 1.4 ใบความรู้ที่ 1.4
ใบความรู้ที่ 1.4 Orapan Chamnan
 
ผังงาน (Flowchart)
ผังงาน (Flowchart)ผังงาน (Flowchart)
ผังงาน (Flowchart)Theruangsit
 
การใช้งาน phpMyadmin
การใช้งาน phpMyadminการใช้งาน phpMyadmin
การใช้งาน phpMyadminskiats
 
คลาสและการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุเบื้องต้น
คลาสและการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุเบื้องต้น คลาสและการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุเบื้องต้น
คลาสและการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุเบื้องต้น Ja Phenpitcha
 
คลาสและการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุเบื้องต้น 1
คลาสและการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุเบื้องต้น 1คลาสและการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุเบื้องต้น 1
คลาสและการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุเบื้องต้น 1Ja Phenpitcha
 

Similar to Vb6 5 ข้อมูลและตัวแปร (20)

Pbl2 docx
Pbl2 docxPbl2 docx
Pbl2 docx
 
หน่วยที่ 7 การสร้างคำสั่งอย่างง่าย
หน่วยที่ 7 การสร้างคำสั่งอย่างง่ายหน่วยที่ 7 การสร้างคำสั่งอย่างง่าย
หน่วยที่ 7 การสร้างคำสั่งอย่างง่าย
 
การสร้างคำสั่งอย่างง่าย (แมโคร)
การสร้างคำสั่งอย่างง่าย (แมโคร)การสร้างคำสั่งอย่างง่าย (แมโคร)
การสร้างคำสั่งอย่างง่าย (แมโคร)
 
พื้นฐานภาษาจาวา
พื้นฐานภาษาจาวาพื้นฐานภาษาจาวา
พื้นฐานภาษาจาวา
 
การเขียนโปรแกรมที่มีโครงสร้างแบบลำดับ
การเขียนโปรแกรมที่มีโครงสร้างแบบลำดับการเขียนโปรแกรมที่มีโครงสร้างแบบลำดับ
การเขียนโปรแกรมที่มีโครงสร้างแบบลำดับ
 
Untitled
UntitledUntitled
Untitled
 
Untitled
UntitledUntitled
Untitled
 
ภาษา C
ภาษา Cภาษา C
ภาษา C
 
Java 7&12 6 2
Java 7&12 6 2Java 7&12 6 2
Java 7&12 6 2
 
3.2 ตัวแปรและคำสงวน
3.2 ตัวแปรและคำสงวน3.2 ตัวแปรและคำสงวน
3.2 ตัวแปรและคำสงวน
 
ตัวแปรและคำสงวน
ตัวแปรและคำสงวนตัวแปรและคำสงวน
ตัวแปรและคำสงวน
 
ตัวแปรและคำสงวน
ตัวแปรและคำสงวนตัวแปรและคำสงวน
ตัวแปรและคำสงวน
 
ใบความรู้ที่ 1.4
ใบความรู้ที่ 1.4 ใบความรู้ที่ 1.4
ใบความรู้ที่ 1.4
 
ผังงาน (Flowchart)
ผังงาน (Flowchart)ผังงาน (Flowchart)
ผังงาน (Flowchart)
 
กิจกรรม 3
กิจกรรม 3กิจกรรม 3
กิจกรรม 3
 
Language com
Language comLanguage com
Language com
 
Computer
ComputerComputer
Computer
 
การใช้งาน phpMyadmin
การใช้งาน phpMyadminการใช้งาน phpMyadmin
การใช้งาน phpMyadmin
 
คลาสและการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุเบื้องต้น
คลาสและการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุเบื้องต้น คลาสและการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุเบื้องต้น
คลาสและการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุเบื้องต้น
 
คลาสและการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุเบื้องต้น 1
คลาสและการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุเบื้องต้น 1คลาสและการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุเบื้องต้น 1
คลาสและการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุเบื้องต้น 1
 

More from ณัฐพล บัวพันธ์

เทคโนโลยีวิทยาการคำนวณ Coding Kidbright
เทคโนโลยีวิทยาการคำนวณ Coding Kidbrightเทคโนโลยีวิทยาการคำนวณ Coding Kidbright
เทคโนโลยีวิทยาการคำนวณ Coding Kidbrightณัฐพล บัวพันธ์
 
บทที่ 5 คิดอย่างไร ได้อย่างนั้น
บทที่ 5 คิดอย่างไร ได้อย่างนั้น  บทที่ 5 คิดอย่างไร ได้อย่างนั้น
บทที่ 5 คิดอย่างไร ได้อย่างนั้น ณัฐพล บัวพันธ์
 
บทที่ 3 การสร้างภาพเคลื่อนไหว ด้วย Kidbrigh
บทที่ 3 การสร้างภาพเคลื่อนไหว ด้วย Kidbrigh บทที่ 3 การสร้างภาพเคลื่อนไหว ด้วย Kidbrigh
บทที่ 3 การสร้างภาพเคลื่อนไหว ด้วย Kidbrigh ณัฐพล บัวพันธ์
 
การพัฒนาโครงงานคอมพิวเตอร์
การพัฒนาโครงงานคอมพิวเตอร์การพัฒนาโครงงานคอมพิวเตอร์
การพัฒนาโครงงานคอมพิวเตอร์ณัฐพล บัวพันธ์
 

More from ณัฐพล บัวพันธ์ (20)

ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5
ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5
ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5
 
เทคโนโลยีวิทยาการคำนวณ Coding Kidbright
เทคโนโลยีวิทยาการคำนวณ Coding Kidbrightเทคโนโลยีวิทยาการคำนวณ Coding Kidbright
เทคโนโลยีวิทยาการคำนวณ Coding Kidbright
 
วิทยาการคำนวณ3
วิทยาการคำนวณ3วิทยาการคำนวณ3
วิทยาการคำนวณ3
 
รายนามศิษย์เก่าดีเด่น62
รายนามศิษย์เก่าดีเด่น62รายนามศิษย์เก่าดีเด่น62
รายนามศิษย์เก่าดีเด่น62
 
รายนามศิษย์เก่าดีเด่น62
รายนามศิษย์เก่าดีเด่น62รายนามศิษย์เก่าดีเด่น62
รายนามศิษย์เก่าดีเด่น62
 
รายนามศิษย์เก่าดีเด่น
รายนามศิษย์เก่าดีเด่นรายนามศิษย์เก่าดีเด่น
รายนามศิษย์เก่าดีเด่น
 
กำหนดการรับสมัครนักเรียน
กำหนดการรับสมัครนักเรียนกำหนดการรับสมัครนักเรียน
กำหนดการรับสมัครนักเรียน
 
บทที่ 7 เล่นกับเวลา
บทที่ 7 เล่นกับเวลา  บทที่ 7 เล่นกับเวลา
บทที่ 7 เล่นกับเวลา
 
บทที่ 6 ตะลุย โลกดนตรี
บทที่ 6 ตะลุย โลกดนตรีบทที่ 6 ตะลุย โลกดนตรี
บทที่ 6 ตะลุย โลกดนตรี
 
บทที่ 5 คิดอย่างไร ได้อย่างนั้น
บทที่ 5 คิดอย่างไร ได้อย่างนั้น  บทที่ 5 คิดอย่างไร ได้อย่างนั้น
บทที่ 5 คิดอย่างไร ได้อย่างนั้น
 
บทที่ 4 สนุกคณิตกับ KidBright
บทที่ 4 สนุกคณิตกับ KidBright  บทที่ 4 สนุกคณิตกับ KidBright
บทที่ 4 สนุกคณิตกับ KidBright
 
บทที่ 3 การสร้างภาพเคลื่อนไหว ด้วย Kidbrigh
บทที่ 3 การสร้างภาพเคลื่อนไหว ด้วย Kidbrigh บทที่ 3 การสร้างภาพเคลื่อนไหว ด้วย Kidbrigh
บทที่ 3 การสร้างภาพเคลื่อนไหว ด้วย Kidbrigh
 
บทที่ 2 ท่องไปในโลก Kidbright
บทที่ 2 ท่องไปในโลก Kidbright  บทที่ 2 ท่องไปในโลก Kidbright
บทที่ 2 ท่องไปในโลก Kidbright
 
บทที่ 1 คิดคำนวณชวนสนุก
บทที่ 1 คิดคำนวณชวนสนุกบทที่ 1 คิดคำนวณชวนสนุก
บทที่ 1 คิดคำนวณชวนสนุก
 
ผลการสอบม1
ผลการสอบม1ผลการสอบม1
ผลการสอบม1
 
การจัดห้องเรียน ม4
การจัดห้องเรียน ม4การจัดห้องเรียน ม4
การจัดห้องเรียน ม4
 
ผลการสอบม4
ผลการสอบม4ผลการสอบม4
ผลการสอบม4
 
การจัดห้องเรียน
การจัดห้องเรียนการจัดห้องเรียน
การจัดห้องเรียน
 
ผลการสอบม1
ผลการสอบม1ผลการสอบม1
ผลการสอบม1
 
การพัฒนาโครงงานคอมพิวเตอร์
การพัฒนาโครงงานคอมพิวเตอร์การพัฒนาโครงงานคอมพิวเตอร์
การพัฒนาโครงงานคอมพิวเตอร์
 

Vb6 5 ข้อมูลและตัวแปร

  • 1. บทที่ 5 ข้อมูลและตัวแปร ใบบทนี้จะเป็นการอธิบายเกี่ยวกับชนิดของข้อมูล การใช้งานตัวแปร และค่า คงที่ ที่ใช้กับ Visual Basic ไม่ว่าโปรแกรมประยุกต์ใด ภาษาใด สิ่งที่ต้องรู้เป็น อันดับแรกๆ ก็คือ ตัวแปร ค่าคงที่และ ชนิดของข้อมูล ของภาษานั้น ๆ ซึ่งจะ ทำาให้เห็นข้อจำากัดต่างๆ ในภาษานั้น ๆ ทำาให้สามารถใช้งานได้อย่างถูกต้อง และมีประสิทธิภาพ เพราะตัวแปรและค่าคงที่ถือได้ว่าเป็นตัวแทนของข้อมูล ที่จะ ต้องนำาไปใช้งาน ประมวลผล และแสดงสิ่งที่ได้จากการประมวลผล ชนิดของข้อมูล Visual Basic มีชนิดของข้อมูลหลายชนิด ไม่ว่าจะเป็นตัวเลขจำานวนเต็ม ตัวเลขที่มีทศนิยม ข้อความ ตัวเลขทางการเงิน ค่าทางตรรกะ เป็นต้น ข้อมูล แต่ละชนิด จะใช้พื้นที่ในการเก็บไม่เท่ากัน รวมถึงความเร็วในการประมวลผลก็ แตกต่างกันด้วย สามารถแบ่งชนิดของข้อมูลที่ใช้กัน Visual Basic ได้ดัง ตารางต่อไปนี้ ชนิดข้อมูล รายละเอียด หน่วย ความจำา Boolean เก็บค่าทางตรรกะที่ได้มี 2 ค่า คือ true (จริง), false (เท็จ) 2 Bytes Byte เก็บค่าเลขจำานวนเต็มตั้งแต่ 0-255 1 Byte Currency ใช้เก็บตัวเลขจำานวนจริง มีค่า ระหว่าง - 922,337,203,685,477.5808 ถึง 922,337,203,685,477.5807 8 Bytes Date ใช้สำาหรับเก็บวันที่และเวลา 8 Bytes Double ใช้เก็บตัวเลขจำานวนจริง แยกเป็น 2 กรณี คือ ค่าบวกอยู่ระหว่าง 4.94065645841247E-324 ถึง 1.79769313486232E308 ค่าลบ อยู่ระหว่าง - 1.79769313486232E308 ถึง -4.94065645841247E-324 8 Bytes Integer เก็บค่าเลขจำานวนเต็มที่มีค่าระหว่าง -32768 ถึง 32767 2 Bytes Long ใช้เก็บเลขจำานวนเต็มที่มีค่าระหว่าง -2,147,483,648 ถึง 4 Bytes
  • 2. 2,147,483,647 Object ใช้สำาหรับแทนวัตถุที่ Visual Basic สนับสนุน 4 Bytes Single ใช้เก็บตัวเลขจำานวนจริง แยกเป็น 2 กรณี คือ ค่าบวกอยู่ระหว่าง 1.401298E-45 ถึง 3.402823E38 และค่าลบอยู่ ระหว่าง -3.402823E38 ถึง -1.401298E45 4 Bytes String ใช้เก็บตัวอักษร ข้อความ และ ตัวเลข 1 ตัว/1 ไบต์ Variant ข้อมูลพิเศษสามารถเก็บข้อมูลได้ทุก ชนิด 16 Bytes การประกาศค่าตัวแปร (Variable Declaration) ก่อนที่จะใช้งานตัวแปร หรือค่าคงที่ทุกครั้ง ควรประกาศตัวแปร (variable declaration) ก่อน เพื่อให้ Visual Basic รู้ว่า ตัวแปรที่ต้องการใช้งาน ใช้ แทนข้อมูลชนิดใดถึงแม้ว่า Visual Basic อนุญาตให้ใช้งานตัวแปรได้ โดยไม่ ต้องประกาศตัวแปร แต่ตัวแปรที่ได้จะใช้ทรัพยากรระบบ มากเกินความจำาเป็น รวมถึงประมวลผลได้ช้า เพราะจะเป็นตัวแปรที่สามารถแทนข้อมูลได้ทุกชนิด ซึ่ง Visual Basic เรียกว่า ตัวแปรชนิด Variant ซึ่งควรหลีกเลี่ยงการใช้งาน ตัวแปรชนิดนี้ รูปแบบคำาสั่งการประกาศตัวแปรของ Visual Basic Dim varname As datatypes Dim คือ คำาสั่ง (statements) สำาหรับประกาศตัวแปร varname คือ ชื่อของตัวแปรที่ต้องการประกาศ As คือ ส่วนที่บอกให้ Visual Basic ทราบว่าต้องการ กำาหนดชนิดของข้อมูล datatypes คือ ชนิดของข้อมูลที่ Visual Basic สนับสนุน ตัวอย่าง 2
  • 3. รูปที่ 5-1 การประกาศตัวแปร กรณีที่ต้องการกำาหนดให้มีการประกาศตัวแปรทุกครั้งก่อนที่จะมีการเรียกใช้ ตัวแปร เพื่อหลีกเลี่ยงการใช้ตัวแปรชนิด Variant ให้พิมพ์คำาสั่ง Option Explicit ไว้ข้างบนสุดก่อนพิมพ์คำาสั่งอื่น ๆ กฎการตั้งชื่อตัวแปรและค่าคงที่ 1. ขึ้นต้นด้วยพยัญชนะเท่านั้น 2. ความยาวของชื่อที่ตั้งสูงสุดไม่เกิน 255 ตัวอักษร 3. ชื่อที่ตั้ง ต้องไม่ซำ้ากันคำาสงวน (Keywords) คำาสั่ง (Statements) ฟังก์ชัน (Functions) หรืออื่น ๆ ที่ Visual Basic กำาหนดไว้ 4. ห้ามตั้งชื่อซำ้ากันในโพรซีเดอร์เดียวกัน หรือในขอบเขตเดียวกัน 5. ห้ามใช้เครื่องหมายทางคณิตศาสตร์, ตัวดำาเนินการ (Operators) หรือ เครื่องหมายพิเศษ เช่น @, # มาตั้งชื่อ 6. ห้ามมีช่องว่างในชื่อตัวแปรถ้าต้องการเว้นว่างให้ใช้เครื่องหมาย _ (Underscore) เท่านั้น การตั้งชื่อวัตถุ วัตถุ คำานำาหน้า (Prefix) ตัวอย่าง CheckBox Chk ChkStatus ComboBox Cbo CboType CommandButto n Cmd CmdSave 3
  • 4. Image Img ImgProduc t Label Lbl Lbladdress ListBox Lst LstDay OptionButton Opt OptSex TextBox Txt TxtName Timer Tmr TmrTime ขอบเขตของตัวแปร (Scope of Variable) ใน Visual Basic สามารถแบ่งขอบเขตตัวแปรได้ 2 ประเภท คือ 1. ตัวแปรแบบ Local 2. ตัวแปรแบบ Public ตัวแปรแบบ Local หมายถึง ตัวแปรที่ประกาศขึ้นมา ให้สามารถเรียกใช้งานได้ ในเฉพาะ โพรซีเดอร์ที่ประกาศเท่านั้น มักใช้ประกาศตัวแปรที่ต้องการใช้ชั่วคราว หรือ ต้องการใช้ในโพรซีเดอร์นั้นๆ ตัวอย่าง Private Sub AddNum_Click( ) Dim x As Integer Dim y As Integer x = 5 y = 6 x = x + y End Sub Private Sub DelNum_Click( ) Dim x As Integer Dim y As Integer 4
  • 5. x = 3 y = 2 จากตัวอย่าง ตัวแปร x และ y ถูกประกาศใน Sub AddNum และ Sub DelNum ซึ่ง x และ y ใน AddNum จะเป็นคนละตัวกับ x และ y ใน DelNum ตัวแปรแบบ Public หมายถึง ตัวแปรที่ประกาศขึ้นในส่วนบนหลัง Option Explicit ทำาให้สามารถ เรียกใช้งานได้ทุกโพรซีเดอร์ในฟอร์มนั้น กรณีที่ประกาศตัวแปรแบบ Public ใน Module จะทำาให้ตัวแปรนั้นสามารถเรียกใช้งานได้จากทุกฟอร์ม ตัวอย่าง Option Explicit Dim x as Integer Dim y as Integer Private Sub AddNum_Click( ) x = 5 y = 6 x = x + y End Sub Private Sub DelNum_Click( ) x = x - y End Sub จากตัวอย่าง ตัวแปร x และ y ถูกประกาศในถัดจาก Option Explicit ก่อน Sub AddNum ทำาให้ตัวแปร x และ y ใน Sub AddNum และ Sub DelNum เป็นตัวแปรตัวเดียวกัน ตัวแปรอาร์เรย์ (Array) ตัวแปรอาร์เรย์ เป็นกลุ่มของตัวแปรที่ประกาศขึ้นมา โดยใช้ชื่อของเดียวใช้ค่า Index ในการอ้างถึง ประโยชน์ของตัวแปรชนิดนี้คือ กรณีที่ต้องการมีการใช้ 5
  • 6. ตัวแปรจำานวนมาก การประกาศตัวแปรสามารถประกาศเพียงชื่อเดียว ลดความ ซำ้าซ้อนของตัวแปร และทำาให้ง่ายต่อการเรียกใช้ มีรูปแบบการประกาศดังนี้ Dim Varname(amount) as Datatype Dim คือ คำาสั่ง (statements) สำาหรับประกาศ ตัวแปร varname คือ ชื่อของตัวแปรอาร์เรย์ที่ต้องการประกาศ amount คือ จำานวนสมาชิกของอาร์เรย์ As คือ ส่วนที่บอกให้ Visual Basic ทราบว่า ต้องการกำาหนดชนิดของข้อมูล datatypes คือ ชนิดของข้อมูลที่ Visual Basic สนับสนุน ตัวอย่าง รูปที่ 5-2 การประกาศอาร์เรย์ ตัวแปรอาร์เรย์แบ่งออกได้ 2 ชนิด คือ 1. ตัวแปรอาร์เรย์แบบสแตติก (Static Arrays) 2. ตัวแปรอาร์เรย์แบบไดนามิก (Dynamic Arrays) ตัวแปรอาร์เรย์แบบสแตติก (Static Arrays) เป็นอาร์เรย์ที่มีการระบุจำานวนสมาชิกเมื่อมีการประกาศตัวแปร จะใช้อาร์เรย์ ชนิดนี้ในกรณีที่ทราบจำานวนสมาชิกของอาร์เรย์ที่แน่นอน ตัวอย่าง Dim vprint (10) as String จากตัวอย่างเป็นการประกาศตัวแปรอาร์เรย์ชื่อ vprint ให้มีจำานวนสมาชิกทั้ง สิ้น 10 และ เป็นข้อมูลชนิดตัวอักษร ในการอ้างถึงตัวแปรให้ทำาการระบุ Index 6
  • 7. หรือลำำดับที่ของสมำชิก โดยสมำชิกตัวแรกให้ระบุ Index เป็น 0 เช่น เมื่อ ต้องกำรอ้ำงถึงสมำชิกตัวแรกสุดให้ระบุเป็น vprint(0)สมำชิกตัวที่ 7 ให้ระบุ เป็น vprint(6) สมำชิกตัวสุดท้ำยระบุเป็น vprint(9) ตัวแปรอำร์เรย์แบบไดนำมิก (Dynamic Arrays) เป็นอำร์เรย์ที่ไม่มีกำรระบุจำำนวนสมำชิกเมื่อมีกำรประกำศตัวแปร เนื่องจำกไม่ ทรำบจำำนวนสมำชิกที่แน่นอน ตัวอย่ำง Dim ccode( ) as String จำกตัวอย่ำงเป็นกำรประกำศตัวแปรอำร์เรย์ชื่อ ccode โดยไม่ระบุจำำนวน สมำชิก และเป็นข้อมูลชนิดตัวอักษร เมื่อต้องกำรใช้งำนตัวแปรจะต้องระบุจำำนวนสมำชิกให้กับตัวแปรอำร์เรย์ โดย ใช้คำำสั่งดังนี้ Redim ccode(5) จำกตัวอย่ำงเป็นกำรกำำหนดให้ตัวแปรอำร์เรย์ ccode ที่ได้ประกำศไว้แล้วให้มี จำำนวนสมำชิก 5 ข้อดีของตัวแปรอำร์เรย์แบบไดนำมิกคือ จำำนวนสมำชิกของอำร์เรย์จะถูก กำำหนดให้มีควำมเหมำะสมต่อกำรใช้งำนเนื่อง เนื่องจำกสำมำรถระบุจำำนวน สมำชิกได้ภำยหลัง แต่ตัวแปรอำร์เรย์แบบสแตติกจะต้องระบุจำำนวนสมำชิกทันที ที่มีกำรประกำศตัวแปร กำรสร้ำงชนิดของตัวแปรขึ้นใช้เอง (User- defined data type) กรณีที่ต้องกำรเก็บข้อมูลเป็นชุดแต่ประกอบด้วยข้อมูลหลำย ๆ ชนิด สำมำรถ ทำำได้โดยกำรสร้ำงชนิดข้อมูลพิเศษขึ้นมำ โดยนำำชนิดของข้อมูลพื้นฐำนดัง กล่ำวทั้งหมดมำสร้ำงตำมที่ต้องกำรโดยมีรูปแบบดังนี้ [Public I Private] Type Varname elementname [([subscripts])] As type [elementname [([subscripts])] As type] …… End Type Public(Opt ional) คือ ส่วนที่กำำหนดให้ค่ำคงที่สำมำรถใช้ได้ทั้ง โปรเจ็กต์ ทุกโมดูล 7
  • 8. Private(Op tional) คือ ส่วนที่กำำหนดให้ค่ำคงที่สำมำรถใช้ได้ เฉพำะโมดูลที่ประกำศเท่ำนั้น Varname คือ ชื่อของชนิดข้อมูลที่กำำหนดขึ้นมำใหม่ elementna me คือ ชื่อของตัวแปร ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของชนิด ข้อมูลที่สร้ำงขึ้นมำ Subscripts คือ จำำนวนสมำชิกกรณีที่ต้องกำรให้เป็น ตัวแปรอำร์เรย Type คือ ชนิดของข้อมูลพื้นฐำนแต่ละตัว ตัวอย่ำง Type Customer CustName As String Address As String Age As Integer End Type จำกตัวอย่ำงเป็นกำรสร้ำงชนิดข้อมูลขึ้นมำใหม่ โดยให้ชื่อว่ำ Customer โดย มีตัวแปรย่อย Name Address และ Age เมื่อต้องกำรใช้งำนชนิดข้อมูลดัง กล่ำวต้องทำำกำรประกำศตัวแปรดังนี้ Dim newcust As Customer เมื่อต้องกำรเก็บค่ำหรือนำำค่ำไปใช้ให้ใช้คำำสั่งดังนี้ newcust.CustName = "ปริษำ ปั้นดี" newcust.Address = "123 ถ.ศรีสุมังค์ ต.เมืองใต้ อ.เมือง จ.ศรีสะเกษ newcust.Age = 45 กำรประกำศค่ำคงที่ (Constant) ค่ำคงที่ (Constant) หมำยถึงข้อมูลที่มีค่ำคงที่ไม่มีกำรเปลี่ยนแปลง ในกำร ประกำศค่ำคงที่ต้องใช้คำำสั่ง Const เพื่อสร้ำงค่ำคงที่ มีรูปแบบดังนี้ [Public I Private] Const constname [As type] = expression Public(Op tional) คือ ส่วนที่กำำหนดให้ค่ำคงที่สำมำรถใช้ได้ทั้งโปร เจ็กต์ ทุกโมดูล Private(O ptional) คือ ส่วนที่กำำหนดให้ค่ำคงที่สำมำรถใช้ได้เฉพำะ โมดูลที่ประกำศเท่ำนั้น Const คือ คำำสั่งสร้ำงค่ำคงที่ Constna me คือ ชื่อค่ำคงที่ Type คือ กำรกำำหนดชนิดของค่ำคงที่ 8
  • 9. (Optional ) Expressio n คือ ค่ำที่ต้องกำรกำำหนด ตัวอย่ำง Option Explicit Const PI As Double = 3.141578 Private Sub cmdCalc_Click( ) Dim radius As Double Dim area As Double Radius = CDb(InputBox("กรุณำใส่ค่ำรัศมี" , "ใส่ ค่ำ") Area = PI * (radius) ^2 MsgBox "พื้นที่วงกลม = " & Area & " ตำรำงหน่วย " End Sub ตัวดำำเนินกำรใน Visual Basic (Operators) ตัวดำำเนินกำร คือ เครื่องหมำยสำำหรับกระทำำกับข้อมูลอย่ำงน้อยที่สุด 2 ชุดมำก ระทำำอย่ำงใดอย่ำงหนึ่ง เช่น บวก ลบ เชื่อมต่อ เปรียบเทียบ ทดสอบค่ำ เป็นต้น ซึ่งสำมำรถแบ่งได้ 4 ประเภท ดังนี้ ตัวดำำเนินกำรด้ำนคณิตศำสตร์ (Arithmetic Operators) คือเครื่องหมำยทำงคณิตศำสตร์ใช้สำำหรับกำรคำำนวณตัวเลข ดังตำรำง ชื่อตัวดำำเนิน กำร ลักษณะตัวดำำเนิน กำร ตัวอย่ำง กำรบวก + A + B กำรลบ - A - B 9 กำรคูณ * A * B กำรหำร / A / B กำรหำรเอำแต่ จำำนวนเต็ม A B 9
  • 10. การหารเอาแต่ เศษ Mod A Mod B การยกกำาลัง ^ A ^ B การเปลี่ยน เครื่องหมาย - -A ตัวดำาเนินการทางด้านตรรกะ (Logical Operator) คือเครื่องหมายสำาหรับตรวจสอบเงื่อนไขระหว่างกลุ่มนิพจน์ โดยจะให้ผลลัพธ์ เป็นจริง (True) และเป็นเท็จ (False) หรือสร้างเงื่อนไขขึ้นมาเพื่อทดสอบกรณี ต่าง ๆ ดังตาราง ตัวดำาเนิน การ ตัวอย่ าง ผลลัพธ์ And A And B เป็นจริงเมื่อทั้ง 2 นิพจน์มีค่าเป็น จริง Or A Or B เป็นเท็จเมื่อทั้ง 2 นิพจน์มีค่าเป็น เท็จ Xor A Xor B เป็นจริงเมื่อทั้ง 2 นิพจน์มีค่าต่าง กัน Eqv A Eqv B เป็นจริงเมื่องทั้ง 2 นิพจน์มีค่า เหมือนกัน Imp A Imp B เป็นเท็จเมื่อนิพจน์หน้าเป็นจริง นิพจน์หลังเป็นเท็จ Not Not A ให้ค่าตรงข้ามกับค่าของนิพจน์ ตัวดำาเนินการทางด้านการเปรียบเทียบ (Comparison Operators) เครื่องหมายที่ใช้สำาหรับเปรียบเทียบนิพจน์ 2 นิพจน์ เพื่อทดสอบ หรือสร้าง เงื่อนไข โดยจะให้ผลลัพธ์เป็นจริง (True) และเป็นเท็จ (False) มักจะใช้คู่กับ ตัวดำาเนินการทางด้านตรรกะ เพื่อตรวจสอบเงื่อนไขต่าง ๆ เสมอ ดังตาราง ตัวดำาเนิน การ ชื่อตัวดำาเนินการ < น้อยกว่า > มากกว่า 10
  • 11. <= น้อยกว่าหรือเท่ากับ >= มากกว่าหรือเท่ากับ = เท่ากับ <> ไม่เท่ากับ ตัวดำาเนินการทางด้านการเชื่อมข้อความ (Concentration Operators) เครื่องหมายที่ใช้สำาหรับเชื่อมข้อความตั้งแต่ 2 ข้อความเข้าด้วยกัน แต่ยังมี กรณียกเว้นที่จะเป็นการบวกกันของนิพจน์ 2 นิพจน์ ซึ่งขึ้นอยู่กับชนิดของ นิพจน์ที่จะมากระทำากัน ดังตาราง ตัวดำาเนิน การ กรณี ตัวอย่าง ผลลัพธ์ + String + String "Visual"+"Basic 6.0" "Visual Basic 6.0" & String & String "Visual"&"Basic 6.0" "Visual Basic 6.0" + String(numeric) +numeric "20"+6 26 & String(numeric)&nu meric "20"+6 206 ข้อมูลจาก : http://www.thanom.net/vb1.asp 11