SlideShare a Scribd company logo
1 of 11
Download to read offline
ใบความรูที่ 3
          รายวิชา ง31201 เทคโนโลยีสารสนเทศ 1 (ชวงชั้นที่ 4) ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4
                            เรื่องหลักการพื้นฐานของคอมพิวเตอร

ผลการเรียนรูที่คาดหวัง
1. นักเรียนสามารถชี้แจงความหมายและการคุณลักษณะของคอมพิวเตอรได
2. นักเรียนสามารถบอกสวนประกอบของคอมพิวเตอรได
3. นักเรียนสามารถบอกหลักการทํางานคอมพิวเตอรได
4. นักเรียนสามารถบอกประเภทของภาษาคอมพิวเตอรได
5. นักเรียนสามารถบอกหลักการพัฒนาโปรแกรมและเลือกใชภาษาโปรแกรมได


                                      คอมพิวเตอรคืออะไร

    คอมพิวเตอรมาจากภาษาละตินวา Computare ซึ่งหมายถึง การนับ หรือ การคํานวณ พจนานุกรม ฉบับ
     ราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542 ใหความหมายของ
     คอมพิวเตอรไววา "เครื่องอิเล็กทรอนิกสแบบอัตโนมัติ ทํา
     หนาที่เหมือนสมองกล ใชสําหรับแกปญหาตางๆ ที่งายและ
     ซับซอนโดยวิธีทางคณิตศาสตร"
    คอมพิวเตอรจึงเปนเครื่องจักรอิเล็กทรอนิกสที่ถูกสรางขึ้น
     เพื่อใชทํางานแทนมนุษย ในดานการคิดคํานวณและสามารถ
     จําขอมูล ทั้งตัวเลขและตัวอักษรไดเพื่อการเรียกใชงานใน
     ครั้งตอไป นอกจากนี้ ยังสามารถจัดการกับสัญลักษณได
     ดวยความเร็วสูง โดยปฏิบัติตามขั้นตอนของโปรแกรม คอมพิวเตอรยังมีความสามารถในดานตางๆ อีกมาก
     อาทิเชน การเปรียบเทียบทางตรรกศาสตร การรับสงขอมูล การจัดเก็บขอมูลในตัวเครื่องและสามารถ
     ประมวลผลจากขอมูลตางๆ ได




ใบความรูรายวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ ง 31201 โดยครูนอมจิตร เฉลยไกร                          หนา 1
หลักการทํางานของคอมพิวเตอร
       คอมพิวเตอรเปนเครื่องมือชวยในการทํางานไดรวดเร็ว สะดวกและแมนยํา การใชประโยชนจาก
คอมพิวเตอรใหไดผลเต็มที่จึงจําเปนตองเรียนรูวิธีการทํางานตลอดจนลักษณะตาง ๆ ของคอมพิวเตอรใหครบถวน




         การทํางานของคอมพิวเตอร มีขั้นตอนสําคัญ 4 ขั้นตอน คือ
         ขั้นตอนที่ 1 การรับขอมูลและคําสั่ง คอมพิวเตอรรับขอมูลและคําสั่งผานอุปกรณนําเขาคือ เมาส
คียบอรด สแกนเนอร ฯลฯ
                               ขั้นตอนที่ 2 การประมวลผลหรือคิดคํานวณ หรือ CPU (Central Processing
                      Unit) เรียกสั้นๆ วา ชิป (Chip) เปนสมองคอมพิวเตอรทําหนาที่คํานวณ ประมวลผลคําสั่ง
                      และควบคุมการทํางานของอุปกรณอื่น ๆ
                      ขั้นตอนที่ 3 การเก็บขอมูล ทําหนาที่เก็บขอมูลและโปรแกรมตาง ๆ หนวยเก็บขอมูลคือ
ฮารดดิสก ดิสกเกตต และซีดีรอม
ขั้นตอนที่ 4 นําเสนอผลลัพธ เปนอุปกรณที่ทําหนาที่ นําเสนอผลลัพธที่ไดจากการประมวลผล ของคอมพิวเตอร
เชน จอภาพ เครื่องพิมพ เปนตน
1. อุปกรณรับเขา (Input Device)
ทําหนาที่รับโปรแกรมและขอมูล เขาสูเครื่องคอมพิวเตอรอุปกรณรับเขาที่เปนที่รูจักและนิยมใชไดแก




ใบความรูรายวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ ง 31201 โดยครูนอมจิตร เฉลยไกร                                    หนา 2
แปนพิมพ (Keyboard)
เปนอุปกรณพื้นฐานที่ทุกเครื่องจะตองมีการรับขอมูลคือ ผูใชกด
แปนพิมพแลวจึงแปลงรหัสเขาสูการประมวลผลตอไป
เมาส (Mouse)
                                                    เปนอุปกรณที่ชวยอํานวยความสะดวกในการใชงานเพิ่มมาก
                                            ขึ้น เมาสจะมีรูปรางพอเหมาะกับมือ และมีลูกกลิ้งอยูขางลาง โดย
                                            ระบบคอมพิวเตอรจะทํางานสัมพันธกับการเคลื่อนที่ของลูกกลิ้ง
                                            และรับคําสั่งจากการกดปุมเมาส
                                            สแกนเนอร (Scanner)
                                            จะทํางานโดยการอานรูปภาพแลวแปรเปลี่ยนใหเปนขอมูลที่
                                            คอมพิวเตอรสามารถที่จะเขาใจได

2. หนวยประมวลผลกลาง (Central Processing Unit :CPU)
        ทําหนาที่ประมวลผลและควบคุมการทํางานของระบบคอมพิวเตอรทั้งหมด โดยมีหนาที่ในการเคลื่อนยาย
ขอมูลระหวางหนวยความจําดวย ซึ่งหนวยประมวลผลกลางหรือซีพียูนี้จะประกอบดวย
        1. หนวยคํานวณและตรรกะ (Arithematic and Logic Unit :ALU)
        ทําหนาที่ในการคํานวณ เชนบวก ลบ คูณ หาร และทําหนาที่ในการเปรียบเทียบทางตรรกะโดยหนวย
ควบคุมจะควบคุมความเร็วในการคํานวณ
        2. หนวยควบคุม (Control Unit)
        ทําหนาที่ควบคุมกลไกการทํางานของระบบทั้งหมด โดยจะ
ทํางานประสานกับหนวยความจํา และหนวยคํานวณ และตรรกะ
        ซีพียูหลักที่ใชในคอมพิวเตอรในปจจุบันคือ ไมโครชิป (ดัง
รูป) หรือที่เรียกวา ไมโครโพรเซสเซอร (Microprocessor)
        3. หนวยความจําหลัก (Main Memory)
                  ทําหนาที่เก็บขอมูลที่รอทําการประมวลผล และเก็บ
ผลลัพธที่ไดจากการประมวลผลในระหวางที่รอสงไปยังหนวยแสดง
ผลลัพธ ประเภทของหนวยความจําสามารถแบงไดดังนี้
        3.1 ตามลักษณะของการเก็บขอมูล จะแบงไดเปน
        - หนวยความจําแบบลบเลือน (Volatile Memory) คือในกรณีที่
ไฟฟาดับหรือกําลังไฟฟาไมเพียงพอ ขอมูลที่เก็บไวก็จะหายหมด
        - หนวยความจําแบบไมลบเลือน (Nonvolatile Memory)
หนวยความจําแบบนี้จะเก็บขอมูลไดโดยไมขึ้นกับไฟฟาที่เลี้ยงวงจร

ใบความรูรายวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ ง 31201 โดยครูนอมจิตร เฉลยไกร                                      หนา 3
3.2 ตามสภาพการใชงาน จะแบงไดเปน
        - หนวยความจําอานอยางเดียว (Read-only Memory :Rom) หรือ รอม เปนหนวยความจําชนิดไมลบ
เลือน คือซีพียูสามารถอานไดอยางเดียวไมสามารถเขียนขอมูลลงไปได
        - หนวยความจําเขาถึงโดสุม (Random Access Memory :RAM) หรือ แรม เปนหนวยความจําแบบลบ
เลือนได คือสามารถเขียนหรืออานได การเขียนหรืออานจะเลือกที่ตําแหนงใดก็ได

          ***หนวยความจําแบบไมลบเลือน แตยอมใหมีการแกไขหรือลบขอมูลไดโดยกรรมวิธีพิเศษ เรียกวา
อีพร็อม (Erasable Programmable Read Only Memory :EPROM
          3. หนวยความจํารอง (Virtual Memory)
          มีเพื่อเพิ่มความสามารถในการจดจําของคอมพิวเตอรใหมากขึ้น
ตัวอยางของหนวยความจํารองไดแก
          แผนบันทึกหรือแผนดิสก (Diskette)
          มีลักษณะเปนแผนกลมแบนถูกเคลือบไวดวยสารเหล็กออกไซด
เพื่อใหเกิดสนามแมเหล็กได การอานขอมูลของแผนดิสกเวลาที่อาน
หัวอานจะแตะที่พื้นผิวของแผน ทําใหมีการเสื่อมคุณภาพไดเมื่อใชงานไปนาน ๆแผนบันทึกในปจจุบันมีขนาด
5.25 นิ้วและ 3.5 นิ้ว




          ฮารดดิสก (Harddisk)
          การเก็บขอมูลจะเก็บลงแผนโลหะอะลูมิเนียมที่เคลือบดวยสารเหล็กออกไซด ฮารดดิสกสามารถจุขอมูล
ไดมากกวาและมีความเร็วกวาฟลอปปดิสก การบันทึกขอมูลในฮารดดิสกก็จะแบงเปนวงรอบเรียกวา แทร็ก
(Track) ซึ่งจะเก็บขอมูลเปนวงรอบหลาย ๆ วง การที่เรา ฟอรแมต (format) ฮารดดิสกเวลาที่เราซื้อมาใหม ๆ นั้น
ก็เพื่อสรางแทร็กนั่นเองและในแตละแทร็กจะแบงออกเปนสวน ๆ เรียกวา เซ็กเตอร (sector) โดย 1 เซ็กเตอรจะมี
ความจุเทากับ 512 ไบต การอานขอมูลของฮารดดิสกเวลาที่อานจะไมแตะที่พื้นผิวของแผนแตจะลอยสูงจากผิว
ประมาณ 4 ไมครอน ซึ่งถือวาใกลมากจนเกือบสัมผัส


ใบความรูรายวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ ง 31201 โดยครูนอมจิตร เฉลยไกร                                     หนา 4
ซีดีรอม (Compact Disk Read only Memory: CDROM)
         เปนสื่อเก็บขอมูลที่มีความเร็วในการใชงานสูง และสามารถเก็บขอมูล
ไดเปนจํานวนมาก ซีดีรอมเปนเทคโนโลยีจานแสง คือการอานหรือบันทึก
ขอมูลนั้นหัวอานไมตองสัมผัสกับจานแตใชลําแสงสองและสะทอนกลับ
ซีดีรอมนี้สามารถเก็บขอมูลที่เปนขอความ รูปภาพ เสียง และภาพวีดีโอ

        เวิรม (Write Once Read Many: Worm)
                                                  เปนสื่อชนิดที่มีการบันทึกแลวไมมีการบันทึกใหม แตจะมีการ
                                         เรียกใชหรืออานไดหลายครั้ง การที่จะเขียนขอมูลลงแผนตองใช
                                         เทคโนโลยีเลเซอร ตัวแผนเปนโลหะและใชกับเครื่องคอมพิวเตอร
                                         ระดับเมนเฟรม

                                                4. อุปกรณสงออก (Output Device)
                                                ทําหนาทีแสดงผลลัพธจากการประมวลผลขอมูล อุปกรณ
                                                         ่
                                         สงออกอุปกรณสงออกที่นิยมใชในปจจุบันไดแก
        จอภาพ (Monitor)
        เปนอุปกรณสงออกที่ผูใชคุนเคยมากที่สุด ใชแสดงผลในรูปของขอความและรูปภาพ เริ่มแรกนั้นมีการ
นําเอาโทรทัศนมาเปนจอภาพสําหรับการแสดงผลแตผลที่ไดไมเปนทีนาพอใจนัก จึงมีการผลิตจอขึ้นมาจอภาพนั้น
                                                                 ่
มีหลายลักษณะซึ่งลักษณะที่ผูใชสวนใหญคุนเคยและพบเห็นบอย ๆ ไดแก

         จอภาพแบบซีอารที (Cathode ray tube: CRT)
         จะมีลักษณะจอโคงนูน
         ลักษณะการแสดงผลนั้นเริ่มแรกแสดงผลไดเฉพาะเปนตัวอักษร
เทานั้นแตจะมีความละเอียดสูงเรียกวา จอภาพแบบสีเดียว (Monochrom
Display Adapter :MDA) ตอมามีการพัฒนาจอสี (Color Graphic
Adapter: CGA)ซึ่งสามารถแสดงภาพสีและภาพกราฟกได แตจะแสดง
ตัวอักษรและตัวเลขไดไมดีเทาจอแบบสีเดียว จอรุนตอมาที่แสดง
ภาพกราฟกไดละเอียด และมีจํานวนสีมากขึ้นเรียกวา จอสีภาพละเอียด
(Enhance Graphic Adapter: EGA)



ใบความรูรายวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ ง 31201 โดยครูนอมจิตร เฉลยไกร                                      หนา 5
สวนจอสีภาพละเอียดพิเศษ (Video Graphics Array: VGA)
                                     เปนจอภาพที่มีความละเอียดสูงมาก ปจจุบันจอภาพที่ใชสําหรับงาน
                                     คอมพิวเตอรในดานการออกแบบจะใชจอภาพ เอ็กซวีจีเอ (extra Video
                                     Graphic Array: XVGA)
                                              จอภาพแบบแอลซีดี (Liquid Crystal Display: LCD)
                                              เดิมเปนจอภาพที่ใชกับคิดเลขและนาฬิกาแตปจจุบันจะพบไดใน
                                     เครื่อง PC แบบพกพา เชน โนตบุค หรือแล็ปท็อป จอภาพแบบนี้จะมี
                                     ลักษณะแบนเรียบและบาง และไดพัฒนาใหการแสดงผลมีความละเอียด
                                     แลไดภาพชัดเจน
         เครื่องพิมพ (Printers)
         ถือเปนอุปกรณแสดงผลที่สําคัญรองลงมาจากจอภาพ เพราะจะแสดงผลลัพธลงบนกระดาษทําใหสะดวก
ตอการใชงาน (อุปกรณที่สามารถเก็บผลที่แสดงออกมาไดเราเรียกวา Hard copy สวนจอภาพจะเปน Soft copy)
         ลักษณะของเครื่องพิมพที่ใชกันในปจจุบัน
         เครืองพิมพแบบจุด (Dot – Matrix Printers)
              ่
         คุณภาพของงานพิมพของเครื่องพิมพ ชนิดนี้จะขึ้นอยูกับจํานวนจุดของเครื่อง เพราะผลที่ไดจากการพิมพ
จะมีลักษณะเปนจุด เครื่องพิมพชนิดนี้จะมีราคาถูกเหมาะสําหรับงานพิมพที่ไมตองการความละเอียดมากนัก
เครื่องพิมพแบบจุดนีจัดเปนเครื่องพิมพแบบกระทบ (Impact Printer) คือเวลาพิมพหัวพิมพจะกระทบกับผาหมึก
                     ้

        เครื่องพิมพแบบฉีดหมึก (Inkjet Printer)
        หลักการทํางานคือการฉีดหมึกลงบนกระดาษเปนจุดเล็ก ๆ เพื่อใหได
รูปแบบงานพิมพที่ตองการงานพิมพที่ไดจะมีความละเอียดกวาเครื่องพิมพแบบ
จุดมากเครื่องพิมพแบบฉีดหมึกนี้จัดเปนเครื่องพิมพแบบไมกระทบ (Non –
impact Printer) เพราะเครื่องพิมพแบบนี้ทํางานโดยไมตองใชแถบผาหมึก

       เครื่องพิมพแบบเลเซอร (Laser Printer)
                                                 หลักการทํางานของเครื่องพิมพแบบนี้ จะใชหลักการเดียวกัน
                                        กับเครื่องถายเอกสาร คือใชแสงเลเซอรในการพิมพเรียกวา LED
                                        (Light – Emit – ting Diode) และ LCS (Liquid Crystal Shutter)
                                        ซึ่งจะพิมพงานออกทีละหนา เราเรียกงานพิมพแบบนี้วา ppm (page
                                        per minute) ทั้งงานพิมพที่ไดก็มีคุณภาพสูงและคมชัดมาก เวลาพิมพ
                                        ก็ไมสงเสียงดังรบกวน เครื่องพิมพแบบนี้จัดเปนเครื่องพิมพแบบไม
                                        กระทบ (Non – impact Printer) เชนกัน
ใบความรูรายวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ ง 31201 โดยครูนอมจิตร เฉลยไกร                                    หนา 6
พล็อตเตอร (Plotter)
          เปนอุปกรณแสดงผลที่มักจะใชในงานเขียนแบบ หรืองานดานกราฟก เชน พิมพเขียว การพิมพแผนผัง
ขนาดใหญ แผนที่ หัวพิมพจะทํางานเปนเหมือนปลายปากกา ลักษณะงานพิมพจะเปนงานที่ซับซอนและใช
กระดาษแผนใหญ ๆในการพิมพ
                                                 ภาษาคอมพิวเตอร
          ภาษาเปนสื่อที่ใชในการติดตอสื่อสารระหวางกันของสิ่งมีชีวิต ซึ่งมีหลายรูปแบบแตกตางกันไป มนุษย
เราสามารถใชสื่อไดหลายรูปแบบเชน ภาษาพูด ภาษาเขียน และภาษามือ เปนตน
          คอมพิวเตอรไมใชสิ่งมีชีวิตทําไมทํางานได คอมพิวเตอรเปนอุปกรณอิเล็กทรอนิกสที่มนุษยสรางขึ้นเพื่อ
ชวยในการทํางานตั้งแตงานที่งายจนถึงระดับที่มีความสลับซับซอนมาก คอมพิวเตอรจะทํางานตามคําสั่งที่มนุษย
กําหนดไวใหทํา จึงมีการกําหนดภาษาขึ้นมาใหมเพื่อใหคอมพิวเตอรเขาใจคําสั่งของมนุษยเราเรียกภาษานี้วา
ภาษาคอมพิวเตอรหรือ ภาษาประดิษฐ (Computer language) เปนภาษาติดตอสื่อสารกันระหวางมนุษยและ
คอมพิวเตอร
          การที่จะใหคอมพิวเตอรทําการประมวลผลไดนั้นจะตองมีชุดคําสั่งทําใหคอมพิวเตอรทํางานเรียกวา
โปรแกรม (Program) หรือ ซอฟตแวร (Software) โดยที่โปรแกรมนั้นถูกเขียนลงบนสื่อบันทึกขอมูล หรือ
ปอนผานทางแปนพิมพเขาสูเครื่องคอมพิวเตอร เพื่อใหเครื่องทํางานตามโปรแกรม การเขียนโปรแกรมตองเขียน
ดวยภาษาคอมพิวเตอร ซึ่งในปจจุบันภาษาคอมพิวเตอรที่ใชสําหรับเขียนโปรแกรมมีอยูมากมายหลายชนิด และแต
ละภาษาจะมีลักษณะ วิธีการเขียนโปรแกรม และขอดี – ขอเสีย แตกตางกันไปทั้งนี้ก็เพื่อใหเหมาะสมกับงานดาน
ตาง ไ นั่นเองฉะนั้น ผูเขียนโปรแกรม (Programmer) จะตองมีความเขาใจถึงกฎเกณฑ และวิธีการเขียนโปรแกรม
เปนอยางดี ประเภทของภาษาคอมพิวเตอรปจจุบันมี 3 ประเภท
          -ภาษาเครื่องจักร (Machine Language)
          -(Low - Level or Assembly Language)
          -ภาษาระดับสูง (High - Level Language)

                           1. ภาษาเครื่องจักร (Machine Language)
                                     เปนภาษาโปรแกรมคอมพิวเตอรที่สั่งใหคอมพิวเตอรทํางานไดโดยตรง ซึ่ง
                           การเขียนคําสั่งใหกับคอมพิวเตอรเปนภาษาเครื่องนั้นยากตอการเขาใจ องคประกอบ
                           ของภาษาเครื่องจะประกอบดวยเลข 0และ1 หรือระบบเลขฐานสอง (Binary System)
                           เมื่อสงผานใหคอมพิวเตอร คอมพิวเตอรสามารถเขาใจได
                           โปรแกรมที่ไดจากภาษานี้จึงเปนกลุมรหัสคําสั่งของตัวเลขลวน ๆ ที่เรียงตอกัน
ดังนั้นโปรแกรมภาษาเครื่องจึงมีความยุงยากเปนอยางยิงเนื่องจากอยูในรูปแบบหรือสัญลักษณที่เราไมคุนเคย
                                                    ่



ใบความรูรายวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ ง 31201 โดยครูนอมจิตร เฉลยไกร                                          หนา 7
ขอดีของภาษาเครื่องจักร คือ กินเนื้อที่ความจํานอย เมื่อคําสั่งนี้เจขาสูเครื่องคอมพิวเตอรสามารถสั่งการ
ทํางานไดทันที จึงมีความรวดเร็วสูง
         ขอเสียของภาษาเครื่องจักร คือ ยากตอการเรียนรูและการจดจํา ดังนั้นจึงทําใหยากตอการสรางหรือการ
พัฒนาซอฟทแวร
2. ภาษาระดับต่ําหรือภาษาแอสเซมบลี (Low - Level or Assembly Language)
เปนภาษาที่ใกลภาษาเครื่องหรือเครื่องเขาใจงาย โดยมากจะเปนคํายอที่วิศวกรคอมพิวเตอรกําหนดขึ้นเพื่อใหทํางาน
ไดเร็วมากขึ้นกวาการใชภาษาเครื่อง
         ภาษาระดับต่ํา (Low – Level Language) หรือที่เรียกกันวา
“ภาษาแอสเซมบลี (Assembly Language)” เปนภาษาที่ใช
สัญลักษณแทนการใชรหัสตัวเลขที่ใชในภาษาเครื่องทําใหการเขียน
โปรแกรมมีความสะดวกและงายขึ้น แตเนื่องจากคอมพิวเตอร
สามารถรับรูไดหรือเขาใจไดเพียงภาษาเดียวคือภาษาเครื่องดังนั้น
จึงตองทําการแปลจากภาษาแอสเซมบลีใหเปนภาษาเครื่อง
(Machine Language) เสียกอน จึงจะสามารถนําไปใชควบคุมคําสั่งการใหเครื่องทํางานได โดยใชระบบ
โปรแกรมแปลภาษาซึ่งเรียกวา Translator Program หรือบางทานอาจเคยคุนหูวา คอมไพเลอร (COMPILER)
แตโปรแกรมแปลภาษาของแอสเซมบลีจะมีชื่อเฉพาะของมันวา แอสเซมเบลอร (ASSEMBLER) ซึ่ง แอสเซม
เบลอร ก็คือคอมไพเลอรนั่นเอง
(ตัวแปลโปรแกรม หรือ COMPILER เปนโปรแกรมที่ใชแปลโปรแกรมทีเ่ ขียนขึ้นใหเปนภาษาเครื่อง ลักษณะการ
แปลจะเปนการแปลจนเสร็จทั้งชุดแลวนําไปเก็บไวในหนวยความจํากอน จากนั้นจึงเริ่มปฏิบัติการไปทีละคําสั่ง
การแปลแบบนี้หนึ่งคําสั่งที่เขียนดวยภาษาระดับสูงอาจจะถูกแปลไดเปนหลาย ๆ คําสั่งของภาษาเครื่องก็ได การ
แปลแบบนี้มักพบเห็นกันในภาษาระดับสูงทั่ว ๆ ไป เชน ภาษาปาสคาล ภาษาซี
ขอดีของภาษาแอสเซมบลี คือ เปนภาษาที่ทํางานเร็วกวาภาษาอื่น (ยกเวนภาษาเครื่อง) สามารถเขียน
โปรแกรมควบคุมคําสั่งการตัวเครื่อง (HARDWARE) ไดโดยตรงและกินที่เนื้อที่หนวยความจํานอย
         ขอเสียของภาษาแอสเซมบลี คือ ยากตอการดเรียนรูและยากตอความเขาใจสําหรับผูทไมมีพื้นฐานทางดาน
                                                                                                 ี่
ฮารดแวรมากอน นอกจากนี้ ยังเปนภาษาที่ผูกพันหรือขึ้นกับตระกูลหรือชนิดของเครื่องดวย




ใบความรูรายวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ ง 31201 โดยครูนอมจิตร เฉลยไกร                                           หนา 8
3. ภาษาระดับสูง (High - Level Language)
         ภาษาระดับสูงเปนภาษาที่มีลักษณะหรือรูปแบบใกลเคียง กับสัญลักษณตาง ๆที่มนุษยคุนเคย (เชนอยูใน
รูปแบบหรือคําในภาษาอังกฤษและสัญลักษณทางคณิตศาสตรซึ่งเหมือนกับที่ใชกันในชีวิตประจําวัน)
ดังนั้น จึงทําใหสะดวกตอการเรียนรูและใชงานมากขึ้น จึงเปนภาษาที่นิยมใชอยากวางขวางในปจจุบัน
         ขอดีของภาษาระดับสูง คือเปนภาษาที่ไมผูกพันหรือขึ้นตรงกับตัวเครื่อง ดังนั้นผูเขียนโปรแกรมสามารถ
เขียนไดอยางอิสระภายใตกฎเกณฑของภาษานั้น ๆ โดยไมจําเปนตองมีความรูทางฮารดแวร ก็สามารถใชประโยชน
ได จะอยางไรก็ตาม ภาษาระดับสูงเมื่อจะนําไปใชควบคุมสังการเครื่องก็ตองนําไปแปลเปนภาษาเครื่องกอน
                                                           ่
เชนเดียวกัน โปรแกรมที่ใชแปลภาษาระดับสูงใหเปนภาษาเครื่องเรียกวาคอมไพเลอร (Compiler) หรืออาจใช
โปรแกรมที่ใชแปลภาษาระดับสูงใหเปนภาษาเครื่องอีกประเภทที่เรียกวา อินเตอรพริทเตอร (Interpreter) ภาษา
ระดับสูงมีดังนี้
               -ภาษาปาสคาล (PASCAL)
               -ภาษาซี (C)
               -ภาษาเบสิก (BASIC)
               -ภาษาฟอรแทรน (FORTRAN
               -ภาษาโคบอล (COBOL)ภาษาเบสิก (BASIC)
               -ภาษาพีแอลวัน (PL/1)
               -ภาษาอารพีจี (RPG)
         ภาษาปาสคาล (PASCAL)
         ภาษาปาสคาล เปนภาษาระดับสูงที่งายตอการเรียนรู
และงายจอการใชงาน เหมาะสําหรับผูที่เริ่มเรียนภาษาระดับสูง
 และยังเปนภาษาที่มีประสิทธิภาพสูง ภาษานี้เหมาะทั้งงาน
อเนกประสงคทั่วไปไมวาจะเปนการพิมพรายงาน การคํานวณและ
การสรางรูปแบบการพิมพ รวมทั้งงานที่สามารถนํามาเขียนโปรแกรม
ประยุกตเพื่อชวยแกปญหาหรือพัฒนาเกี่ยวกับระบบตัวเครื่องได
 ภาษาปาสคาลใชไดกับเครื่องไมโครคอมพิวเตอรทั่วไป
ขอดีของภาษาปาสคาล คือ เปนภาษาที่มีลักษณะที่เปนโครงสราง
ดังนั้น จึงเปนภาษาที่เหมาะสมที่จะนํามาใชเปนแมแบบในการเรียนรูรวมทั้งยังงายตอการใชงานอีกดวย เพราะมี
ความสมบูรณในตัวโปรแกรมเนื่องจากมีลักษณะเปนบลอก เขาใจงาย และการตรวจสอบขอผิดพลาดของ
โปรแกรมสามารถทําไดอยางสะดวก




ใบความรูรายวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ ง 31201 โดยครูนอมจิตร เฉลยไกร                                    หนา 9
ภาษาซี ( C )
          ภาษาซี ( C ) เปนภาษาระดับสูงแตมีความออนตัว
หรือยืดหยุนเหมือนภาษาในระดับต่ํา (คลายภาษาแอสเซมบลี)
ขอดีของภาษาซี คือ มีความสั้นและกระชับ เปนภาษาที่มี
ความเหมาะสมและมีประสิทธิภาพสูงในการใชพัฒนาหรือเขียน
โปรแกรมเกี่ยวกับระบบตัวเครื่องคอมพิวเตอร รวมทั้งยังสามารถ
สามารถใชงานเอนกประสงคทั่วไปหรือเขียนโปรแกรมประยุกต
เพื่อชวยแกปญหาตาง ๆ ทั่วไปไดดีอีกดวย สวนขอเสีย คือมี
รูปแบบไวยากรณ (SYNTAX) ที่หลากหลายทําใหเกิดความสับสน
และยุงยากแกการจดจํา
          ภาษาเบสิก (BASIC)
          ภาษาเบสิก (BASIC) ยอมาจาก Beginner’s All – purpose Symbolic Instruction Code เปนภาษาที่
สามารถทําไดทั้งงานดานคํานวณ งานดานธุรกิจตาง ๆ เนื่องจากภาษานี้มีรูปแบบการทํางานดั้งเดิมเปนแบบใช
ตัวแปลภาษาที่เรียกวา อินเตอรพริทเตอร (ตัวแปลคําสั่ง หรือ Interpreter เปนโปรแกรมที่ใชแปลโปรแกรมที่
เขียนขึ้นใหเปนภาษาเครื่องลักษณะการแปลจะทําการแปลทีละคําสั่งที่ไดรับใหเปนภาษาเครื่องเมื่อแปลเสร็จหนึ่ง
คําสั่งเครื่องก็จะปฏิบัตตามคําสั่งทันทีและเมื่อมีขอผิดพลาดกจะรายงานออกมาใหผูใชทราบในทันที เพื่อใหผูใช
                        ิ
แกไขในสวนที่ผิดพลาดเสียกอนจึงจะทําการแปลคําสั่งตอไปให การแปลแบบนี้จะทําใหเกิดการปฏิบัติการและ
ทรายผลในทันที ดังนั้น ขอดีของภาษานี้คือ ไมมีความยุงยากในการเขียนโปรแกรมสามารถสามารถแกไขคําสั่ง
ไดทันที ทําใหเรียนรูไดงายและเขาใจไดอยางรวดเร็ว สวนขอเสียคือ ความสามารถในการทํางานมีจํากัดและการ
ตรวจสอบความสัมพันธโดยรวมของโปรแกรมทําไดยาก
          ภาษาฟอรแทรน (FORTRAN)
          ภาษาฟอรแทรน (FORTRAN) เปนภาษาดั้งเดิมเหมาะกับงานทางดานวิทยาศาสตร คณิตศาสตร
วิศวกรรมศาสตร ดังนั้น ขอดีของภาษานี้คือ เหมาะกับงานที่มีขอมูลเปนตัวเลขมาก ๆ ใชสูตรคํานวณหรือสมการ
ที่ซับซอน มีความรวดเร็วและกระชับเหมาะสําหรับงานดานคํานวณ จึงใชไดดีกับงานคนควาวิจัย            ขอเสีย
ของฟอรแทรน คือ มีลักษณะรูปแบบ (FORMAT) ที่ยุงยาก ไมเหมาะกับงานทางการพิมพและเก็บขอมูลรวมทั้ง
ไมเหมาะตอการนํามาใชพัฒนาหรือเขียนโปรแกรมเกี่ยวกับระบบตัวเครื่องคอมพิวเตอร
          ภาษาโคบอล (COBOL)
          ภาษาโคบอล (COBOL) ยอมาจาก “Common Business Oriented Language” ไดรบการพัฒนาเพื่อ
                                                                                        ั
จุดประสงคในการใชเขียนโปรแกรมทางดานธุรกิจเปนสวนใหญ ดังนั้น ขอดีของภาษานี้ คือ สามารถทํางานกับ
ขอมูลทุกชนิดทั้งตัวเลขและตัวอักษร จึงเหมาะกับงานทางดานประมวลผลทางบัญชี, การสรางฐานขอมูลอันเปน
งานหลักของการประมวลผลทางธุรกิจโดยทั่ว ๆ ไป นอกจากนี้ ยังมีความสามารถดานจัดรูปแบบการพิมพรายงาน
อีกดวย และภาษานี้มีรูปแบบคลายคลึงกับคําในภาษาอังกฤษมากจึงสะดวกตอความเขาใจและจดจํา
ใบความรูรายวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ ง 31201 โดยครูนอมจิตร เฉลยไกร                                     หนา 10
ขอเสียของภาษาโคบอล คือ ไมกระชับเนื่องจากมีรูปแบบของภาษายาว จึงเปนเหตุใหตัวโปรแกรมมีความยาว ทํา
ใหตองใชเนือที่ในหนวยความจํามากและเสียเวลาในการเขียนโปรแกรม
             ้
        ภาษาพีแอลวัน (PL/1)
        ภาษา (PL/1) ยอมาจาก Programming Language one เปนภาษาที่ถูกพัฒนาขึ้นมาใชกับเครื่อง
คอมพิวเตอรขนาดใหญ ( แบบ MINI หรือ MAINFRAME ) ดังนั้น ขอดีของภาษานี้ คือ สามารถใชไดดีทั้งงาน
ดานธุรกิจและวิทยาศาสตร สวนขอเสียของภาษานี้คือ เทาที่ผานมายังไมสามารถใชบนเครื่องไมโครคอมพิวเตอร
ทีตองใชกับเครื่องคอมพิวเตอรขนาดใหญที่มีขีดความสามารถสูงเทานั้น และโปรแกรมของภาษานี้ตองใชเนื้อที่ใน
  ่
การเก็บโปรแกรมเปนจํานวนมาก
        ภาษาอารพีจี (RPG)
        ภาษา RPG ยอมาจาก Report Program Generator เปนภาษาที่เหมาะกับงานดานธุรกิจ ดังนั้น
 ขอดีของภาษานี้ คือ นํามาใชพิมพรายงานแบบธรรมดาจนถึงรายงานทางธุรกิจที่มีรูปแบบยุงยากซับซอนไดเปน
อยางดี มีความสามารถในการสรางฐานขอมูลและควบคุมเกี่ยวกับไฟลตาง ๆ
ขอเสีย คือ มีความยุงยากไมอิสระในการเขียนโปรแกรมเนื่องจาก ลักษณะของโปรแกรมตองอยูในแบบฟอรมที่
กําหนดไวอยางตายตัว และเหมาะที่จะใชกับเครื่องคอมพิวเตอรขนาดใหญเทานั้น




ใบความรูรายวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ ง 31201 โดยครูนอมจิตร เฉลยไกร                                 หนา 11

More Related Content

What's hot

สื่อการสอน คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
สื่อการสอน คอมพิวเตอร์เบื้องต้นสื่อการสอน คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
สื่อการสอน คอมพิวเตอร์เบื้องต้นNoppakhun Suebloei
 
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการRawiwan Kashornchan
 
ใบความรู้ที่ 2 ส่วนประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 2 ส่วนประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ใบความรู้ที่ 2 ส่วนประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 2 ส่วนประกอบของระบบคอมพิวเตอร์Nattapon
 
บทที่ 2 ส่วนประกอบและหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
บทที่ 2 ส่วนประกอบและหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์บทที่ 2 ส่วนประกอบและหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
บทที่ 2 ส่วนประกอบและหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์Kriangx Ch
 
คำศัพท์เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ที่น่าสนใจ
คำศัพท์เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ที่น่าสนใจคำศัพท์เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ที่น่าสนใจ
คำศัพท์เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ที่น่าสนใจนายอุุเทน มาดา
 
ระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการrunjaun
 
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์เพื่อการสื่อสาร
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์เพื่อการสื่อสารเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์เพื่อการสื่อสาร
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์เพื่อการสื่อสารสราวุฒิ จบศรี
 
ระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการWirot Chantharoek
 
บทที่ 4 หลักการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์
บทที่ 4 หลักการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์บทที่ 4 หลักการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์
บทที่ 4 หลักการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์russana
 
เอกสารประกอบการสอน ซอฟต์แวร์ และฮาร์ดแวร์
เอกสารประกอบการสอน ซอฟต์แวร์ และฮาร์ดแวร์เอกสารประกอบการสอน ซอฟต์แวร์ และฮาร์ดแวร์
เอกสารประกอบการสอน ซอฟต์แวร์ และฮาร์ดแวร์Phicha Pintharong
 
สรุปความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
สรุปความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์สรุปความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
สรุปความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์supatra2011
 
ใบความรู้ที่ 1 ระบบการทำงานของคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 1 ระบบการทำงานของคอมพิวเตอร์ใบความรู้ที่ 1 ระบบการทำงานของคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 1 ระบบการทำงานของคอมพิวเตอร์Nattapon
 
กิจกรรมที่3 องค์ประกอบและหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่3                 องค์ประกอบและหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์กิจกรรมที่3                 องค์ประกอบและหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่3 องค์ประกอบและหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์jatesada5803
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
ระบบปฏิบัติการ.Ppt
 ระบบปฏิบัติการ.Ppt  ระบบปฏิบัติการ.Ppt
ระบบปฏิบัติการ.Ppt onthicha1993
 
ศัพท์เทคโนสมบูรณ์
ศัพท์เทคโนสมบูรณ์ศัพท์เทคโนสมบูรณ์
ศัพท์เทคโนสมบูรณ์Saranya Sirimak
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์Peem Jirayut
 

What's hot (20)

สื่อการสอน คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
สื่อการสอน คอมพิวเตอร์เบื้องต้นสื่อการสอน คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
สื่อการสอน คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
Computer
ComputerComputer
Computer
 
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
 
ใบความรู้ที่ 2 ส่วนประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 2 ส่วนประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ใบความรู้ที่ 2 ส่วนประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 2 ส่วนประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
 
บทที่ 2 ส่วนประกอบและหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
บทที่ 2 ส่วนประกอบและหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์บทที่ 2 ส่วนประกอบและหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
บทที่ 2 ส่วนประกอบและหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
 
คำศัพท์เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ที่น่าสนใจ
คำศัพท์เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ที่น่าสนใจคำศัพท์เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ที่น่าสนใจ
คำศัพท์เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ที่น่าสนใจ
 
ระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการ
 
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์เพื่อการสื่อสาร
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์เพื่อการสื่อสารเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์เพื่อการสื่อสาร
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์เพื่อการสื่อสาร
 
ระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการ
 
บทที่ 4 หลักการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์
บทที่ 4 หลักการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์บทที่ 4 หลักการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์
บทที่ 4 หลักการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์
 
เอกสารประกอบการสอน ซอฟต์แวร์ และฮาร์ดแวร์
เอกสารประกอบการสอน ซอฟต์แวร์ และฮาร์ดแวร์เอกสารประกอบการสอน ซอฟต์แวร์ และฮาร์ดแวร์
เอกสารประกอบการสอน ซอฟต์แวร์ และฮาร์ดแวร์
 
สรุปความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
สรุปความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์สรุปความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
สรุปความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
 
ใบความรู้ที่ 1 ระบบการทำงานของคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 1 ระบบการทำงานของคอมพิวเตอร์ใบความรู้ที่ 1 ระบบการทำงานของคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 1 ระบบการทำงานของคอมพิวเตอร์
 
Lesson2
Lesson2Lesson2
Lesson2
 
กิจกรรมที่3 องค์ประกอบและหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่3                 องค์ประกอบและหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์กิจกรรมที่3                 องค์ประกอบและหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่3 องค์ประกอบและหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
 
หน่วยที่1
หน่วยที่1หน่วยที่1
หน่วยที่1
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
 
ระบบปฏิบัติการ.Ppt
 ระบบปฏิบัติการ.Ppt  ระบบปฏิบัติการ.Ppt
ระบบปฏิบัติการ.Ppt
 
ศัพท์เทคโนสมบูรณ์
ศัพท์เทคโนสมบูรณ์ศัพท์เทคโนสมบูรณ์
ศัพท์เทคโนสมบูรณ์
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
 

Similar to ใบความรู้ที่ 2 หลักการพื้นฐานของคอมพิวเตอร์

อุปกรณ์คอมพิวเตอร์
อุปกรณ์คอมพิวเตอร์อุปกรณ์คอมพิวเตอร์
อุปกรณ์คอมพิวเตอร์natthaphorn_thepyoo
 
กลุ่มที่ 3 คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล
กลุ่มที่ 3  คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลกลุ่มที่ 3  คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล
กลุ่มที่ 3 คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลNattakan Wuttipisan
 
กลุ่มที่ 3 คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล
กลุ่มที่ 3  คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลกลุ่มที่ 3  คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล
กลุ่มที่ 3 คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลNattakan Wuttipisan
 
Com sys 5
Com sys 5Com sys 5
Com sys 5paween
 
คอมพิวเตอร์สำหรับบัณฑิตศึกษา
คอมพิวเตอร์สำหรับบัณฑิตศึกษาคอมพิวเตอร์สำหรับบัณฑิตศึกษา
คอมพิวเตอร์สำหรับบัณฑิตศึกษาJenchoke Tachagomain
 
ก้าวไกลทันเทคโนโลยี 2
ก้าวไกลทันเทคโนโลยี 2ก้าวไกลทันเทคโนโลยี 2
ก้าวไกลทันเทคโนโลยี 2Kriangx Ch
 
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์prakaipet
 
Dc102 Understanding Digital Media-System Computer
Dc102 Understanding Digital Media-System ComputerDc102 Understanding Digital Media-System Computer
Dc102 Understanding Digital Media-System Computerajpeerawich
 
Basiccom
BasiccomBasiccom
Basiccomkruniid
 
Basiccom
BasiccomBasiccom
Basiccomkruniid
 
ฮาร์ดแวด์
ฮาร์ดแวด์ฮาร์ดแวด์
ฮาร์ดแวด์sommat
 
ฮาร์ดแวด์
ฮาร์ดแวด์ฮาร์ดแวด์
ฮาร์ดแวด์Nantawoot Imjit
 
Computer hardwareของแท้
Computer hardwareของแท้Computer hardwareของแท้
Computer hardwareของแท้nuttavut_kongtako
 

Similar to ใบความรู้ที่ 2 หลักการพื้นฐานของคอมพิวเตอร์ (20)

อุปกรณ์คอมพิวเตอร์
อุปกรณ์คอมพิวเตอร์อุปกรณ์คอมพิวเตอร์
อุปกรณ์คอมพิวเตอร์
 
กลุ่มที่ 3 คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล
กลุ่มที่ 3  คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลกลุ่มที่ 3  คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล
กลุ่มที่ 3 คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล
 
กลุ่มที่ 3 คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล
กลุ่มที่ 3  คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลกลุ่มที่ 3  คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล
กลุ่มที่ 3 คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล
 
งานโฟม
งานโฟมงานโฟม
งานโฟม
 
Com sys 5
Com sys 5Com sys 5
Com sys 5
 
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น ม.1
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น ม.1คอมพิวเตอร์เบื้องต้น ม.1
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น ม.1
 
Com
ComCom
Com
 
Chapter1
Chapter1Chapter1
Chapter1
 
คอมพิวเตอร์สำหรับบัณฑิตศึกษา
คอมพิวเตอร์สำหรับบัณฑิตศึกษาคอมพิวเตอร์สำหรับบัณฑิตศึกษา
คอมพิวเตอร์สำหรับบัณฑิตศึกษา
 
Course.eau.ac.thcourse download0007132chapter1
Course.eau.ac.thcourse download0007132chapter1Course.eau.ac.thcourse download0007132chapter1
Course.eau.ac.thcourse download0007132chapter1
 
ก้าวไกลทันเทคโนโลยี 2
ก้าวไกลทันเทคโนโลยี 2ก้าวไกลทันเทคโนโลยี 2
ก้าวไกลทันเทคโนโลยี 2
 
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
 
Dc102 Understanding Digital Media-System Computer
Dc102 Understanding Digital Media-System ComputerDc102 Understanding Digital Media-System Computer
Dc102 Understanding Digital Media-System Computer
 
คอมพิวเตอร์พื้นฐาน
คอมพิวเตอร์พื้นฐานคอมพิวเตอร์พื้นฐาน
คอมพิวเตอร์พื้นฐาน
 
Basiccom
BasiccomBasiccom
Basiccom
 
Basiccom
BasiccomBasiccom
Basiccom
 
ฮาร์ดแวด์
ฮาร์ดแวด์ฮาร์ดแวด์
ฮาร์ดแวด์
 
ฮาร์ดแวด์
ฮาร์ดแวด์ฮาร์ดแวด์
ฮาร์ดแวด์
 
Computer hardwareของแท้
Computer hardwareของแท้Computer hardwareของแท้
Computer hardwareของแท้
 
Computer system
Computer systemComputer system
Computer system
 

ใบความรู้ที่ 2 หลักการพื้นฐานของคอมพิวเตอร์

  • 1. ใบความรูที่ 3 รายวิชา ง31201 เทคโนโลยีสารสนเทศ 1 (ชวงชั้นที่ 4) ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เรื่องหลักการพื้นฐานของคอมพิวเตอร ผลการเรียนรูที่คาดหวัง 1. นักเรียนสามารถชี้แจงความหมายและการคุณลักษณะของคอมพิวเตอรได 2. นักเรียนสามารถบอกสวนประกอบของคอมพิวเตอรได 3. นักเรียนสามารถบอกหลักการทํางานคอมพิวเตอรได 4. นักเรียนสามารถบอกประเภทของภาษาคอมพิวเตอรได 5. นักเรียนสามารถบอกหลักการพัฒนาโปรแกรมและเลือกใชภาษาโปรแกรมได คอมพิวเตอรคืออะไร  คอมพิวเตอรมาจากภาษาละตินวา Computare ซึ่งหมายถึง การนับ หรือ การคํานวณ พจนานุกรม ฉบับ ราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542 ใหความหมายของ คอมพิวเตอรไววา "เครื่องอิเล็กทรอนิกสแบบอัตโนมัติ ทํา หนาที่เหมือนสมองกล ใชสําหรับแกปญหาตางๆ ที่งายและ ซับซอนโดยวิธีทางคณิตศาสตร"  คอมพิวเตอรจึงเปนเครื่องจักรอิเล็กทรอนิกสที่ถูกสรางขึ้น เพื่อใชทํางานแทนมนุษย ในดานการคิดคํานวณและสามารถ จําขอมูล ทั้งตัวเลขและตัวอักษรไดเพื่อการเรียกใชงานใน ครั้งตอไป นอกจากนี้ ยังสามารถจัดการกับสัญลักษณได ดวยความเร็วสูง โดยปฏิบัติตามขั้นตอนของโปรแกรม คอมพิวเตอรยังมีความสามารถในดานตางๆ อีกมาก อาทิเชน การเปรียบเทียบทางตรรกศาสตร การรับสงขอมูล การจัดเก็บขอมูลในตัวเครื่องและสามารถ ประมวลผลจากขอมูลตางๆ ได ใบความรูรายวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ ง 31201 โดยครูนอมจิตร เฉลยไกร หนา 1
  • 2. หลักการทํางานของคอมพิวเตอร คอมพิวเตอรเปนเครื่องมือชวยในการทํางานไดรวดเร็ว สะดวกและแมนยํา การใชประโยชนจาก คอมพิวเตอรใหไดผลเต็มที่จึงจําเปนตองเรียนรูวิธีการทํางานตลอดจนลักษณะตาง ๆ ของคอมพิวเตอรใหครบถวน การทํางานของคอมพิวเตอร มีขั้นตอนสําคัญ 4 ขั้นตอน คือ ขั้นตอนที่ 1 การรับขอมูลและคําสั่ง คอมพิวเตอรรับขอมูลและคําสั่งผานอุปกรณนําเขาคือ เมาส คียบอรด สแกนเนอร ฯลฯ ขั้นตอนที่ 2 การประมวลผลหรือคิดคํานวณ หรือ CPU (Central Processing Unit) เรียกสั้นๆ วา ชิป (Chip) เปนสมองคอมพิวเตอรทําหนาที่คํานวณ ประมวลผลคําสั่ง และควบคุมการทํางานของอุปกรณอื่น ๆ ขั้นตอนที่ 3 การเก็บขอมูล ทําหนาที่เก็บขอมูลและโปรแกรมตาง ๆ หนวยเก็บขอมูลคือ ฮารดดิสก ดิสกเกตต และซีดีรอม ขั้นตอนที่ 4 นําเสนอผลลัพธ เปนอุปกรณที่ทําหนาที่ นําเสนอผลลัพธที่ไดจากการประมวลผล ของคอมพิวเตอร เชน จอภาพ เครื่องพิมพ เปนตน 1. อุปกรณรับเขา (Input Device) ทําหนาที่รับโปรแกรมและขอมูล เขาสูเครื่องคอมพิวเตอรอุปกรณรับเขาที่เปนที่รูจักและนิยมใชไดแก ใบความรูรายวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ ง 31201 โดยครูนอมจิตร เฉลยไกร หนา 2
  • 3. แปนพิมพ (Keyboard) เปนอุปกรณพื้นฐานที่ทุกเครื่องจะตองมีการรับขอมูลคือ ผูใชกด แปนพิมพแลวจึงแปลงรหัสเขาสูการประมวลผลตอไป เมาส (Mouse) เปนอุปกรณที่ชวยอํานวยความสะดวกในการใชงานเพิ่มมาก ขึ้น เมาสจะมีรูปรางพอเหมาะกับมือ และมีลูกกลิ้งอยูขางลาง โดย ระบบคอมพิวเตอรจะทํางานสัมพันธกับการเคลื่อนที่ของลูกกลิ้ง และรับคําสั่งจากการกดปุมเมาส สแกนเนอร (Scanner) จะทํางานโดยการอานรูปภาพแลวแปรเปลี่ยนใหเปนขอมูลที่ คอมพิวเตอรสามารถที่จะเขาใจได 2. หนวยประมวลผลกลาง (Central Processing Unit :CPU) ทําหนาที่ประมวลผลและควบคุมการทํางานของระบบคอมพิวเตอรทั้งหมด โดยมีหนาที่ในการเคลื่อนยาย ขอมูลระหวางหนวยความจําดวย ซึ่งหนวยประมวลผลกลางหรือซีพียูนี้จะประกอบดวย 1. หนวยคํานวณและตรรกะ (Arithematic and Logic Unit :ALU) ทําหนาที่ในการคํานวณ เชนบวก ลบ คูณ หาร และทําหนาที่ในการเปรียบเทียบทางตรรกะโดยหนวย ควบคุมจะควบคุมความเร็วในการคํานวณ 2. หนวยควบคุม (Control Unit) ทําหนาที่ควบคุมกลไกการทํางานของระบบทั้งหมด โดยจะ ทํางานประสานกับหนวยความจํา และหนวยคํานวณ และตรรกะ ซีพียูหลักที่ใชในคอมพิวเตอรในปจจุบันคือ ไมโครชิป (ดัง รูป) หรือที่เรียกวา ไมโครโพรเซสเซอร (Microprocessor) 3. หนวยความจําหลัก (Main Memory) ทําหนาที่เก็บขอมูลที่รอทําการประมวลผล และเก็บ ผลลัพธที่ไดจากการประมวลผลในระหวางที่รอสงไปยังหนวยแสดง ผลลัพธ ประเภทของหนวยความจําสามารถแบงไดดังนี้ 3.1 ตามลักษณะของการเก็บขอมูล จะแบงไดเปน - หนวยความจําแบบลบเลือน (Volatile Memory) คือในกรณีที่ ไฟฟาดับหรือกําลังไฟฟาไมเพียงพอ ขอมูลที่เก็บไวก็จะหายหมด - หนวยความจําแบบไมลบเลือน (Nonvolatile Memory) หนวยความจําแบบนี้จะเก็บขอมูลไดโดยไมขึ้นกับไฟฟาที่เลี้ยงวงจร ใบความรูรายวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ ง 31201 โดยครูนอมจิตร เฉลยไกร หนา 3
  • 4. 3.2 ตามสภาพการใชงาน จะแบงไดเปน - หนวยความจําอานอยางเดียว (Read-only Memory :Rom) หรือ รอม เปนหนวยความจําชนิดไมลบ เลือน คือซีพียูสามารถอานไดอยางเดียวไมสามารถเขียนขอมูลลงไปได - หนวยความจําเขาถึงโดสุม (Random Access Memory :RAM) หรือ แรม เปนหนวยความจําแบบลบ เลือนได คือสามารถเขียนหรืออานได การเขียนหรืออานจะเลือกที่ตําแหนงใดก็ได ***หนวยความจําแบบไมลบเลือน แตยอมใหมีการแกไขหรือลบขอมูลไดโดยกรรมวิธีพิเศษ เรียกวา อีพร็อม (Erasable Programmable Read Only Memory :EPROM 3. หนวยความจํารอง (Virtual Memory) มีเพื่อเพิ่มความสามารถในการจดจําของคอมพิวเตอรใหมากขึ้น ตัวอยางของหนวยความจํารองไดแก แผนบันทึกหรือแผนดิสก (Diskette) มีลักษณะเปนแผนกลมแบนถูกเคลือบไวดวยสารเหล็กออกไซด เพื่อใหเกิดสนามแมเหล็กได การอานขอมูลของแผนดิสกเวลาที่อาน หัวอานจะแตะที่พื้นผิวของแผน ทําใหมีการเสื่อมคุณภาพไดเมื่อใชงานไปนาน ๆแผนบันทึกในปจจุบันมีขนาด 5.25 นิ้วและ 3.5 นิ้ว ฮารดดิสก (Harddisk) การเก็บขอมูลจะเก็บลงแผนโลหะอะลูมิเนียมที่เคลือบดวยสารเหล็กออกไซด ฮารดดิสกสามารถจุขอมูล ไดมากกวาและมีความเร็วกวาฟลอปปดิสก การบันทึกขอมูลในฮารดดิสกก็จะแบงเปนวงรอบเรียกวา แทร็ก (Track) ซึ่งจะเก็บขอมูลเปนวงรอบหลาย ๆ วง การที่เรา ฟอรแมต (format) ฮารดดิสกเวลาที่เราซื้อมาใหม ๆ นั้น ก็เพื่อสรางแทร็กนั่นเองและในแตละแทร็กจะแบงออกเปนสวน ๆ เรียกวา เซ็กเตอร (sector) โดย 1 เซ็กเตอรจะมี ความจุเทากับ 512 ไบต การอานขอมูลของฮารดดิสกเวลาที่อานจะไมแตะที่พื้นผิวของแผนแตจะลอยสูงจากผิว ประมาณ 4 ไมครอน ซึ่งถือวาใกลมากจนเกือบสัมผัส ใบความรูรายวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ ง 31201 โดยครูนอมจิตร เฉลยไกร หนา 4
  • 5. ซีดีรอม (Compact Disk Read only Memory: CDROM) เปนสื่อเก็บขอมูลที่มีความเร็วในการใชงานสูง และสามารถเก็บขอมูล ไดเปนจํานวนมาก ซีดีรอมเปนเทคโนโลยีจานแสง คือการอานหรือบันทึก ขอมูลนั้นหัวอานไมตองสัมผัสกับจานแตใชลําแสงสองและสะทอนกลับ ซีดีรอมนี้สามารถเก็บขอมูลที่เปนขอความ รูปภาพ เสียง และภาพวีดีโอ เวิรม (Write Once Read Many: Worm) เปนสื่อชนิดที่มีการบันทึกแลวไมมีการบันทึกใหม แตจะมีการ เรียกใชหรืออานไดหลายครั้ง การที่จะเขียนขอมูลลงแผนตองใช เทคโนโลยีเลเซอร ตัวแผนเปนโลหะและใชกับเครื่องคอมพิวเตอร ระดับเมนเฟรม 4. อุปกรณสงออก (Output Device) ทําหนาทีแสดงผลลัพธจากการประมวลผลขอมูล อุปกรณ ่ สงออกอุปกรณสงออกที่นิยมใชในปจจุบันไดแก จอภาพ (Monitor) เปนอุปกรณสงออกที่ผูใชคุนเคยมากที่สุด ใชแสดงผลในรูปของขอความและรูปภาพ เริ่มแรกนั้นมีการ นําเอาโทรทัศนมาเปนจอภาพสําหรับการแสดงผลแตผลที่ไดไมเปนทีนาพอใจนัก จึงมีการผลิตจอขึ้นมาจอภาพนั้น ่ มีหลายลักษณะซึ่งลักษณะที่ผูใชสวนใหญคุนเคยและพบเห็นบอย ๆ ไดแก จอภาพแบบซีอารที (Cathode ray tube: CRT) จะมีลักษณะจอโคงนูน ลักษณะการแสดงผลนั้นเริ่มแรกแสดงผลไดเฉพาะเปนตัวอักษร เทานั้นแตจะมีความละเอียดสูงเรียกวา จอภาพแบบสีเดียว (Monochrom Display Adapter :MDA) ตอมามีการพัฒนาจอสี (Color Graphic Adapter: CGA)ซึ่งสามารถแสดงภาพสีและภาพกราฟกได แตจะแสดง ตัวอักษรและตัวเลขไดไมดีเทาจอแบบสีเดียว จอรุนตอมาที่แสดง ภาพกราฟกไดละเอียด และมีจํานวนสีมากขึ้นเรียกวา จอสีภาพละเอียด (Enhance Graphic Adapter: EGA) ใบความรูรายวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ ง 31201 โดยครูนอมจิตร เฉลยไกร หนา 5
  • 6. สวนจอสีภาพละเอียดพิเศษ (Video Graphics Array: VGA) เปนจอภาพที่มีความละเอียดสูงมาก ปจจุบันจอภาพที่ใชสําหรับงาน คอมพิวเตอรในดานการออกแบบจะใชจอภาพ เอ็กซวีจีเอ (extra Video Graphic Array: XVGA) จอภาพแบบแอลซีดี (Liquid Crystal Display: LCD) เดิมเปนจอภาพที่ใชกับคิดเลขและนาฬิกาแตปจจุบันจะพบไดใน เครื่อง PC แบบพกพา เชน โนตบุค หรือแล็ปท็อป จอภาพแบบนี้จะมี ลักษณะแบนเรียบและบาง และไดพัฒนาใหการแสดงผลมีความละเอียด แลไดภาพชัดเจน เครื่องพิมพ (Printers) ถือเปนอุปกรณแสดงผลที่สําคัญรองลงมาจากจอภาพ เพราะจะแสดงผลลัพธลงบนกระดาษทําใหสะดวก ตอการใชงาน (อุปกรณที่สามารถเก็บผลที่แสดงออกมาไดเราเรียกวา Hard copy สวนจอภาพจะเปน Soft copy) ลักษณะของเครื่องพิมพที่ใชกันในปจจุบัน เครืองพิมพแบบจุด (Dot – Matrix Printers) ่ คุณภาพของงานพิมพของเครื่องพิมพ ชนิดนี้จะขึ้นอยูกับจํานวนจุดของเครื่อง เพราะผลที่ไดจากการพิมพ จะมีลักษณะเปนจุด เครื่องพิมพชนิดนี้จะมีราคาถูกเหมาะสําหรับงานพิมพที่ไมตองการความละเอียดมากนัก เครื่องพิมพแบบจุดนีจัดเปนเครื่องพิมพแบบกระทบ (Impact Printer) คือเวลาพิมพหัวพิมพจะกระทบกับผาหมึก ้ เครื่องพิมพแบบฉีดหมึก (Inkjet Printer) หลักการทํางานคือการฉีดหมึกลงบนกระดาษเปนจุดเล็ก ๆ เพื่อใหได รูปแบบงานพิมพที่ตองการงานพิมพที่ไดจะมีความละเอียดกวาเครื่องพิมพแบบ จุดมากเครื่องพิมพแบบฉีดหมึกนี้จัดเปนเครื่องพิมพแบบไมกระทบ (Non – impact Printer) เพราะเครื่องพิมพแบบนี้ทํางานโดยไมตองใชแถบผาหมึก เครื่องพิมพแบบเลเซอร (Laser Printer) หลักการทํางานของเครื่องพิมพแบบนี้ จะใชหลักการเดียวกัน กับเครื่องถายเอกสาร คือใชแสงเลเซอรในการพิมพเรียกวา LED (Light – Emit – ting Diode) และ LCS (Liquid Crystal Shutter) ซึ่งจะพิมพงานออกทีละหนา เราเรียกงานพิมพแบบนี้วา ppm (page per minute) ทั้งงานพิมพที่ไดก็มีคุณภาพสูงและคมชัดมาก เวลาพิมพ ก็ไมสงเสียงดังรบกวน เครื่องพิมพแบบนี้จัดเปนเครื่องพิมพแบบไม กระทบ (Non – impact Printer) เชนกัน ใบความรูรายวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ ง 31201 โดยครูนอมจิตร เฉลยไกร หนา 6
  • 7. พล็อตเตอร (Plotter) เปนอุปกรณแสดงผลที่มักจะใชในงานเขียนแบบ หรืองานดานกราฟก เชน พิมพเขียว การพิมพแผนผัง ขนาดใหญ แผนที่ หัวพิมพจะทํางานเปนเหมือนปลายปากกา ลักษณะงานพิมพจะเปนงานที่ซับซอนและใช กระดาษแผนใหญ ๆในการพิมพ ภาษาคอมพิวเตอร ภาษาเปนสื่อที่ใชในการติดตอสื่อสารระหวางกันของสิ่งมีชีวิต ซึ่งมีหลายรูปแบบแตกตางกันไป มนุษย เราสามารถใชสื่อไดหลายรูปแบบเชน ภาษาพูด ภาษาเขียน และภาษามือ เปนตน คอมพิวเตอรไมใชสิ่งมีชีวิตทําไมทํางานได คอมพิวเตอรเปนอุปกรณอิเล็กทรอนิกสที่มนุษยสรางขึ้นเพื่อ ชวยในการทํางานตั้งแตงานที่งายจนถึงระดับที่มีความสลับซับซอนมาก คอมพิวเตอรจะทํางานตามคําสั่งที่มนุษย กําหนดไวใหทํา จึงมีการกําหนดภาษาขึ้นมาใหมเพื่อใหคอมพิวเตอรเขาใจคําสั่งของมนุษยเราเรียกภาษานี้วา ภาษาคอมพิวเตอรหรือ ภาษาประดิษฐ (Computer language) เปนภาษาติดตอสื่อสารกันระหวางมนุษยและ คอมพิวเตอร การที่จะใหคอมพิวเตอรทําการประมวลผลไดนั้นจะตองมีชุดคําสั่งทําใหคอมพิวเตอรทํางานเรียกวา โปรแกรม (Program) หรือ ซอฟตแวร (Software) โดยที่โปรแกรมนั้นถูกเขียนลงบนสื่อบันทึกขอมูล หรือ ปอนผานทางแปนพิมพเขาสูเครื่องคอมพิวเตอร เพื่อใหเครื่องทํางานตามโปรแกรม การเขียนโปรแกรมตองเขียน ดวยภาษาคอมพิวเตอร ซึ่งในปจจุบันภาษาคอมพิวเตอรที่ใชสําหรับเขียนโปรแกรมมีอยูมากมายหลายชนิด และแต ละภาษาจะมีลักษณะ วิธีการเขียนโปรแกรม และขอดี – ขอเสีย แตกตางกันไปทั้งนี้ก็เพื่อใหเหมาะสมกับงานดาน ตาง ไ นั่นเองฉะนั้น ผูเขียนโปรแกรม (Programmer) จะตองมีความเขาใจถึงกฎเกณฑ และวิธีการเขียนโปรแกรม เปนอยางดี ประเภทของภาษาคอมพิวเตอรปจจุบันมี 3 ประเภท -ภาษาเครื่องจักร (Machine Language) -(Low - Level or Assembly Language) -ภาษาระดับสูง (High - Level Language) 1. ภาษาเครื่องจักร (Machine Language) เปนภาษาโปรแกรมคอมพิวเตอรที่สั่งใหคอมพิวเตอรทํางานไดโดยตรง ซึ่ง การเขียนคําสั่งใหกับคอมพิวเตอรเปนภาษาเครื่องนั้นยากตอการเขาใจ องคประกอบ ของภาษาเครื่องจะประกอบดวยเลข 0และ1 หรือระบบเลขฐานสอง (Binary System) เมื่อสงผานใหคอมพิวเตอร คอมพิวเตอรสามารถเขาใจได โปรแกรมที่ไดจากภาษานี้จึงเปนกลุมรหัสคําสั่งของตัวเลขลวน ๆ ที่เรียงตอกัน ดังนั้นโปรแกรมภาษาเครื่องจึงมีความยุงยากเปนอยางยิงเนื่องจากอยูในรูปแบบหรือสัญลักษณที่เราไมคุนเคย ่ ใบความรูรายวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ ง 31201 โดยครูนอมจิตร เฉลยไกร หนา 7
  • 8. ขอดีของภาษาเครื่องจักร คือ กินเนื้อที่ความจํานอย เมื่อคําสั่งนี้เจขาสูเครื่องคอมพิวเตอรสามารถสั่งการ ทํางานไดทันที จึงมีความรวดเร็วสูง ขอเสียของภาษาเครื่องจักร คือ ยากตอการเรียนรูและการจดจํา ดังนั้นจึงทําใหยากตอการสรางหรือการ พัฒนาซอฟทแวร 2. ภาษาระดับต่ําหรือภาษาแอสเซมบลี (Low - Level or Assembly Language) เปนภาษาที่ใกลภาษาเครื่องหรือเครื่องเขาใจงาย โดยมากจะเปนคํายอที่วิศวกรคอมพิวเตอรกําหนดขึ้นเพื่อใหทํางาน ไดเร็วมากขึ้นกวาการใชภาษาเครื่อง ภาษาระดับต่ํา (Low – Level Language) หรือที่เรียกกันวา “ภาษาแอสเซมบลี (Assembly Language)” เปนภาษาที่ใช สัญลักษณแทนการใชรหัสตัวเลขที่ใชในภาษาเครื่องทําใหการเขียน โปรแกรมมีความสะดวกและงายขึ้น แตเนื่องจากคอมพิวเตอร สามารถรับรูไดหรือเขาใจไดเพียงภาษาเดียวคือภาษาเครื่องดังนั้น จึงตองทําการแปลจากภาษาแอสเซมบลีใหเปนภาษาเครื่อง (Machine Language) เสียกอน จึงจะสามารถนําไปใชควบคุมคําสั่งการใหเครื่องทํางานได โดยใชระบบ โปรแกรมแปลภาษาซึ่งเรียกวา Translator Program หรือบางทานอาจเคยคุนหูวา คอมไพเลอร (COMPILER) แตโปรแกรมแปลภาษาของแอสเซมบลีจะมีชื่อเฉพาะของมันวา แอสเซมเบลอร (ASSEMBLER) ซึ่ง แอสเซม เบลอร ก็คือคอมไพเลอรนั่นเอง (ตัวแปลโปรแกรม หรือ COMPILER เปนโปรแกรมที่ใชแปลโปรแกรมทีเ่ ขียนขึ้นใหเปนภาษาเครื่อง ลักษณะการ แปลจะเปนการแปลจนเสร็จทั้งชุดแลวนําไปเก็บไวในหนวยความจํากอน จากนั้นจึงเริ่มปฏิบัติการไปทีละคําสั่ง การแปลแบบนี้หนึ่งคําสั่งที่เขียนดวยภาษาระดับสูงอาจจะถูกแปลไดเปนหลาย ๆ คําสั่งของภาษาเครื่องก็ได การ แปลแบบนี้มักพบเห็นกันในภาษาระดับสูงทั่ว ๆ ไป เชน ภาษาปาสคาล ภาษาซี ขอดีของภาษาแอสเซมบลี คือ เปนภาษาที่ทํางานเร็วกวาภาษาอื่น (ยกเวนภาษาเครื่อง) สามารถเขียน โปรแกรมควบคุมคําสั่งการตัวเครื่อง (HARDWARE) ไดโดยตรงและกินที่เนื้อที่หนวยความจํานอย ขอเสียของภาษาแอสเซมบลี คือ ยากตอการดเรียนรูและยากตอความเขาใจสําหรับผูทไมมีพื้นฐานทางดาน ี่ ฮารดแวรมากอน นอกจากนี้ ยังเปนภาษาที่ผูกพันหรือขึ้นกับตระกูลหรือชนิดของเครื่องดวย ใบความรูรายวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ ง 31201 โดยครูนอมจิตร เฉลยไกร หนา 8
  • 9. 3. ภาษาระดับสูง (High - Level Language) ภาษาระดับสูงเปนภาษาที่มีลักษณะหรือรูปแบบใกลเคียง กับสัญลักษณตาง ๆที่มนุษยคุนเคย (เชนอยูใน รูปแบบหรือคําในภาษาอังกฤษและสัญลักษณทางคณิตศาสตรซึ่งเหมือนกับที่ใชกันในชีวิตประจําวัน) ดังนั้น จึงทําใหสะดวกตอการเรียนรูและใชงานมากขึ้น จึงเปนภาษาที่นิยมใชอยากวางขวางในปจจุบัน ขอดีของภาษาระดับสูง คือเปนภาษาที่ไมผูกพันหรือขึ้นตรงกับตัวเครื่อง ดังนั้นผูเขียนโปรแกรมสามารถ เขียนไดอยางอิสระภายใตกฎเกณฑของภาษานั้น ๆ โดยไมจําเปนตองมีความรูทางฮารดแวร ก็สามารถใชประโยชน ได จะอยางไรก็ตาม ภาษาระดับสูงเมื่อจะนําไปใชควบคุมสังการเครื่องก็ตองนําไปแปลเปนภาษาเครื่องกอน ่ เชนเดียวกัน โปรแกรมที่ใชแปลภาษาระดับสูงใหเปนภาษาเครื่องเรียกวาคอมไพเลอร (Compiler) หรืออาจใช โปรแกรมที่ใชแปลภาษาระดับสูงใหเปนภาษาเครื่องอีกประเภทที่เรียกวา อินเตอรพริทเตอร (Interpreter) ภาษา ระดับสูงมีดังนี้ -ภาษาปาสคาล (PASCAL) -ภาษาซี (C) -ภาษาเบสิก (BASIC) -ภาษาฟอรแทรน (FORTRAN -ภาษาโคบอล (COBOL)ภาษาเบสิก (BASIC) -ภาษาพีแอลวัน (PL/1) -ภาษาอารพีจี (RPG) ภาษาปาสคาล (PASCAL) ภาษาปาสคาล เปนภาษาระดับสูงที่งายตอการเรียนรู และงายจอการใชงาน เหมาะสําหรับผูที่เริ่มเรียนภาษาระดับสูง และยังเปนภาษาที่มีประสิทธิภาพสูง ภาษานี้เหมาะทั้งงาน อเนกประสงคทั่วไปไมวาจะเปนการพิมพรายงาน การคํานวณและ การสรางรูปแบบการพิมพ รวมทั้งงานที่สามารถนํามาเขียนโปรแกรม ประยุกตเพื่อชวยแกปญหาหรือพัฒนาเกี่ยวกับระบบตัวเครื่องได ภาษาปาสคาลใชไดกับเครื่องไมโครคอมพิวเตอรทั่วไป ขอดีของภาษาปาสคาล คือ เปนภาษาที่มีลักษณะที่เปนโครงสราง ดังนั้น จึงเปนภาษาที่เหมาะสมที่จะนํามาใชเปนแมแบบในการเรียนรูรวมทั้งยังงายตอการใชงานอีกดวย เพราะมี ความสมบูรณในตัวโปรแกรมเนื่องจากมีลักษณะเปนบลอก เขาใจงาย และการตรวจสอบขอผิดพลาดของ โปรแกรมสามารถทําไดอยางสะดวก ใบความรูรายวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ ง 31201 โดยครูนอมจิตร เฉลยไกร หนา 9
  • 10. ภาษาซี ( C ) ภาษาซี ( C ) เปนภาษาระดับสูงแตมีความออนตัว หรือยืดหยุนเหมือนภาษาในระดับต่ํา (คลายภาษาแอสเซมบลี) ขอดีของภาษาซี คือ มีความสั้นและกระชับ เปนภาษาที่มี ความเหมาะสมและมีประสิทธิภาพสูงในการใชพัฒนาหรือเขียน โปรแกรมเกี่ยวกับระบบตัวเครื่องคอมพิวเตอร รวมทั้งยังสามารถ สามารถใชงานเอนกประสงคทั่วไปหรือเขียนโปรแกรมประยุกต เพื่อชวยแกปญหาตาง ๆ ทั่วไปไดดีอีกดวย สวนขอเสีย คือมี รูปแบบไวยากรณ (SYNTAX) ที่หลากหลายทําใหเกิดความสับสน และยุงยากแกการจดจํา ภาษาเบสิก (BASIC) ภาษาเบสิก (BASIC) ยอมาจาก Beginner’s All – purpose Symbolic Instruction Code เปนภาษาที่ สามารถทําไดทั้งงานดานคํานวณ งานดานธุรกิจตาง ๆ เนื่องจากภาษานี้มีรูปแบบการทํางานดั้งเดิมเปนแบบใช ตัวแปลภาษาที่เรียกวา อินเตอรพริทเตอร (ตัวแปลคําสั่ง หรือ Interpreter เปนโปรแกรมที่ใชแปลโปรแกรมที่ เขียนขึ้นใหเปนภาษาเครื่องลักษณะการแปลจะทําการแปลทีละคําสั่งที่ไดรับใหเปนภาษาเครื่องเมื่อแปลเสร็จหนึ่ง คําสั่งเครื่องก็จะปฏิบัตตามคําสั่งทันทีและเมื่อมีขอผิดพลาดกจะรายงานออกมาใหผูใชทราบในทันที เพื่อใหผูใช ิ แกไขในสวนที่ผิดพลาดเสียกอนจึงจะทําการแปลคําสั่งตอไปให การแปลแบบนี้จะทําใหเกิดการปฏิบัติการและ ทรายผลในทันที ดังนั้น ขอดีของภาษานี้คือ ไมมีความยุงยากในการเขียนโปรแกรมสามารถสามารถแกไขคําสั่ง ไดทันที ทําใหเรียนรูไดงายและเขาใจไดอยางรวดเร็ว สวนขอเสียคือ ความสามารถในการทํางานมีจํากัดและการ ตรวจสอบความสัมพันธโดยรวมของโปรแกรมทําไดยาก ภาษาฟอรแทรน (FORTRAN) ภาษาฟอรแทรน (FORTRAN) เปนภาษาดั้งเดิมเหมาะกับงานทางดานวิทยาศาสตร คณิตศาสตร วิศวกรรมศาสตร ดังนั้น ขอดีของภาษานี้คือ เหมาะกับงานที่มีขอมูลเปนตัวเลขมาก ๆ ใชสูตรคํานวณหรือสมการ ที่ซับซอน มีความรวดเร็วและกระชับเหมาะสําหรับงานดานคํานวณ จึงใชไดดีกับงานคนควาวิจัย ขอเสีย ของฟอรแทรน คือ มีลักษณะรูปแบบ (FORMAT) ที่ยุงยาก ไมเหมาะกับงานทางการพิมพและเก็บขอมูลรวมทั้ง ไมเหมาะตอการนํามาใชพัฒนาหรือเขียนโปรแกรมเกี่ยวกับระบบตัวเครื่องคอมพิวเตอร ภาษาโคบอล (COBOL) ภาษาโคบอล (COBOL) ยอมาจาก “Common Business Oriented Language” ไดรบการพัฒนาเพื่อ ั จุดประสงคในการใชเขียนโปรแกรมทางดานธุรกิจเปนสวนใหญ ดังนั้น ขอดีของภาษานี้ คือ สามารถทํางานกับ ขอมูลทุกชนิดทั้งตัวเลขและตัวอักษร จึงเหมาะกับงานทางดานประมวลผลทางบัญชี, การสรางฐานขอมูลอันเปน งานหลักของการประมวลผลทางธุรกิจโดยทั่ว ๆ ไป นอกจากนี้ ยังมีความสามารถดานจัดรูปแบบการพิมพรายงาน อีกดวย และภาษานี้มีรูปแบบคลายคลึงกับคําในภาษาอังกฤษมากจึงสะดวกตอความเขาใจและจดจํา ใบความรูรายวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ ง 31201 โดยครูนอมจิตร เฉลยไกร หนา 10
  • 11. ขอเสียของภาษาโคบอล คือ ไมกระชับเนื่องจากมีรูปแบบของภาษายาว จึงเปนเหตุใหตัวโปรแกรมมีความยาว ทํา ใหตองใชเนือที่ในหนวยความจํามากและเสียเวลาในการเขียนโปรแกรม ้ ภาษาพีแอลวัน (PL/1) ภาษา (PL/1) ยอมาจาก Programming Language one เปนภาษาที่ถูกพัฒนาขึ้นมาใชกับเครื่อง คอมพิวเตอรขนาดใหญ ( แบบ MINI หรือ MAINFRAME ) ดังนั้น ขอดีของภาษานี้ คือ สามารถใชไดดีทั้งงาน ดานธุรกิจและวิทยาศาสตร สวนขอเสียของภาษานี้คือ เทาที่ผานมายังไมสามารถใชบนเครื่องไมโครคอมพิวเตอร ทีตองใชกับเครื่องคอมพิวเตอรขนาดใหญที่มีขีดความสามารถสูงเทานั้น และโปรแกรมของภาษานี้ตองใชเนื้อที่ใน ่ การเก็บโปรแกรมเปนจํานวนมาก ภาษาอารพีจี (RPG) ภาษา RPG ยอมาจาก Report Program Generator เปนภาษาที่เหมาะกับงานดานธุรกิจ ดังนั้น ขอดีของภาษานี้ คือ นํามาใชพิมพรายงานแบบธรรมดาจนถึงรายงานทางธุรกิจที่มีรูปแบบยุงยากซับซอนไดเปน อยางดี มีความสามารถในการสรางฐานขอมูลและควบคุมเกี่ยวกับไฟลตาง ๆ ขอเสีย คือ มีความยุงยากไมอิสระในการเขียนโปรแกรมเนื่องจาก ลักษณะของโปรแกรมตองอยูในแบบฟอรมที่ กําหนดไวอยางตายตัว และเหมาะที่จะใชกับเครื่องคอมพิวเตอรขนาดใหญเทานั้น ใบความรูรายวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ ง 31201 โดยครูนอมจิตร เฉลยไกร หนา 11