SlideShare a Scribd company logo
1 of 14
เรื่องของโรคทางระบบ ที่สัมพันธ์กับสุขภาพช่องปาก ...
สังคมไทยก็จะเข้าสู่สังคมผู้สูงวัย (ดูจากสัดส่วนผู้สูงอายุมากกว่า 10%) แสดงว่า จะมีผู้สูงอายุ
มากขึ้นๆ และเป็นสังคมที่ ... เราจะต้องหันมาดูแลผู้สูงอายุ
เรื่องอายุขัยเฉลี่ย ก็คือ ถ้าเราเป็นชาย และมีโอกาสอายุยืน โดยผ่านไม่เป็นเบาหวาน ความดัน
ไม่ Heart attack ตายไปก่อน ก็จะบวกไปอีก 19 ปี ชายจะอยู่ที่ 79 ปี ผู้หญิงก็จะแถมไปอีก 2 ปี
ประมาณ 81.5
ใน paper ของการ review บางครั้งก็เริ่มต้นจากคำาถามที่ว่า บางคนเขามีการแยกฟัน แยกปาก
ออกจากร่างกาย ซึ่งมันก็เป็นมานาน จนบางครั้งเราก็ลืม หมอฟันก็ลืม บางครั้งคนไข้ก็ลืมว่ามัน
สำาคัญ ... ต้องขอเริ่มที่ เราต้องให้ความสำาคัญว่า ปากก็เป็นส่วนหนึ่งของสุขภาพ
ร่างกายของผู้สูงอายุก่อน และให้ทันตแพทย์เรา และบุคลากรด้านสาธารณสุข
ทั้งหมด เข้าใจตรงนี้ด้วย
โรคเบาหวาน ... ถ้าคนไข้เป็นเบาหวาน เราก็จะระมัดระวังในการที่จะให้การรักษาทางด้าน
ทันตกรรม
ภาวะเหงือกอักเสบ เป็นหนึ่งในปัจจัยเสี่ยงของโรคเบาหวาน เราเคยเรียนมาว่า เบาหวานจะ
ทำาให้เป็นโรค Perio ตอนนี้ ปัจจุบันนี้ลูกศรก็จะไป 2 ด้าน ... เพราะฉะนั้น ถ้า เหงือกอักเสบ เป็น
หนึ่งในปัจจัยเสี่ยง ถ้าเราดูแลไม่ให้เขามีเหงือกอักเสบ เราก็จะทำาให้เขาลดความเสี่ยงในเรื่อง
ของโรคเบาหวาน เราจะสำาคัญมากขึ้น ... นี่คือจุดขาย ว่า ทำาไมหมอฟันต้องเข้ามายุ่ง ก็เพราะ
ว่าเรามีส่วนของการที่จะลดเรื่องของเบาหวานที่เกิดขึ้นตั้งเยอะ
อีกส่วนหนึ่งที่ต้องสนใจเรื่องเบาหวาน ก็คือ เรื่อง Oral complication ที่พบ คือ เรื่องปากแห้ง
การติดเชื้อได้ง่าย การสะสม plaque มากขึ้น และเสี่ยงต่อการเกิดฟันผุ
ตัวอย่างบาง case ... คนนี้เป็นคนไข้ระยะเริ่มแรก อายุ 55 ปี เป็นเบาหวานก็จะมีเหงือกอักเสบ
รุนแรงได้ ในกรณีที่มี plaque เกาะ เพราะว่า อาจจะเกิดความรุนแรงในแต่ละซี่ ซึ่งอันนี้ก็คือ สิ่ง
ที่เราจะพบได้ในคนไข้ และ Alveolar bone จะสูญเสียได้มาก และเร็ว
ถึงแม้ว่าบางคนจะได้รับการรักษาแล้วก็ตามก็ยังมีโอกาสเสี่ยงอยู่ ซึ่งโรคปริทันต์ ก็จะส่งผลทั้ง 2
ทาง คือ กระบวนการทั้งหมดจะก่อให้เกิดการอักเสบ เมื่อเกิดการอักเสบ ก็จะเข้าไปสู่ในระบบ
เลือด จุดต่างๆ ของร่างกาย และในส่วนของช่องปาก ทำาให้เหงือกอักเสบ สูญเสียกระดูก
จากประสบการณ์ของตัวเอง เวลาที่เราพูดกับประชาชน หรือคนไข้ ก็อาจทำาให้เกิดความตื่น
ตระหนกได้เช่นกัน ... ถ้าเราพูดถึงสิ่งที่เขากลัว อาจพูดว่า มีโอกาส ... ก็ไม่ใช่แปลว่า ทุกคน
เพราะฉะนั้น เราก็ต้องดูว่า เวลาที่เราคุยกับใคร เราจะให้ข้อมูลเขาอย่างไร เรามีเวลาให้เขา
เยอะไหม และคนที่ฟังเข้าใจมากน้อยแค่ไหน
ทำาไมจึงเป็นโรคเบาหวานกันเยอะ
... ทุกคนคงจะรู้ว่า การเปลี่ยนแปลงของเรื่องอาหาร เป็นส่วนหนึ่ง เพราะว่าวิถีตะวันตกที่เข้ามา
คงเป็นส่วนหนึ่งที่ทำาให้ผู้สูงอายุเข้าสู่การเป็นเบาหวานมากขึ้น สิ่งดีดีที่เรากินในอดีต มันไม่
เหมือนเดิมแล้ว การบริโภคผัก ผลไม้ลดลง ทำาให้เราได้รับพวกแป้ง นำ้าตาลเพิ่มขึ้น เด็กรุ่นใหม่
ไม่รู้จักอาหารพื้นเมือง และไม่แน่ใจว่า อีกหน่อยมันจะยังอยู่หรือเปล่า ในเรื่องของอาหารพื้น
บ้าน
วิถีชีวิตผู้สูงอายุที่เปลี่ยนไป ทำาให้ผู้สูงอายุเกิดภาวะพึ่งพา
• ภาวะไม่อยากกินข้าว ก็คือ ต้องกินอาหารคนเดียว และก็ไม่มีรายได้พอที่จะซื้ออาหารที่
ตัวเองอยากกินเหมือนในอดีต ลูกทำาอะไรให้ก็ต้องกินอย่างนั้น
• ความที่อายุยืนขึ้น และไม่แข็งแรง
• ปัญหาสังคมเศรษฐกิจ ความเครียด อาจเพราะว่า ภาวะเศรษฐกิจ ลูกทิ้ง
ตอนนี้ ทั้ง Trend ทั้งโรค เขาก็สนใจในเรื่องของความสัมพันธ์ ทั้งเรื่องของเบาหวานจะส่งผลต่อ
อะไรบ้าง ทั้งโรคหัวใจ โรคทางระบบหลอดเลือด และ Oral Health
โรคความดันโลหิตสูง ... จะเป็นโรคทางสุขภาพที่พบมาก ในผู้สูงอายุทั่วโลก และเราเอง
ในคนไทยร้อยละ 50 จะมีภาวะความดันโลหิตสูง และจะเพิ่มขึ้นตามอายุ ที่น่าตกใจ คือ 58%
ไม่รู้ตัวมาก่อนว่า ตัวเองเป็น ... ดังนั้น การประเมินของเราก็จะช่วยว่า ถ้าเราสามารถใช้ความรู้
ของเราไปช่วยในการประเมินความเสี่ยง จากข้อมูลที่ง่ายๆ ก็จะช่วยให้คนร้อยละ 60 ได้ดูแลตัว
เองดีขึ้น
• โรคความดันโลหิตสูงส่วนใหญ่มีความสัมพันธ์กับอายุที่เพิ่มขึ้น วิถีชีวิตที่เปลี่ยนแปลง
ความเฉื่อยชา ความอ้วน ไม่ออกกำาลังกาย สูบบุหรี่ ความเครียด บางคนก็จะมีหลายๆ
อย่างในนี้
• ที่น่าเป็นห่วงอันหนึ่ง คือ การแสดงออกไม่มี เราก็บอกว่า เราไม่ได้เป็น ยกเว้นมีอาการ
เริ่มเตือน ที่เห็นชัดก็คือ เริ่มมีอาการปวดศีรษะ
• ความดันโลหิตสูงก็จะสัมพันธ์กับ Xerostomia จากยา มีหลายตัวที่ส่งผลถึงเรื่องของ
อาการปากแห้ง ก็มีแผ่นคราบจุลินทรีย์เกาะติดง่าย ฟันผุ เคี้ยวกลืนอาหารลำาบาก ติดเชื้อ
ราได้ง่าย ปวดแสบปวดร้อน
นอกจากนั้นก็จะมีอีกหลายโรค ที่เจอ เช่น ปอดอักเสบ ... เพราะว่าแบคทีเรียที่ก่อให้เกิดโรค
เหงือก ก็จะมีโอกาสก่อให้เกิดการอักเสบของปอดได้ ขึ้นอยู่กับว่า เราจะไปศึกษาคนไข้ที่เกิด
ปอดอักเสบ แล้วมาวัดความเสี่ยง หรือความรุนแรงของโรคปริทันต์ในช่องปาก ก็พบความ
สัมพันธ์ และมี paper ที่ศึกษาเรื่องนี้
อีกอันหนึ่งที่เข้าใจง่าย คือ เรื่อง ภาวะโภชนาการ เขาเข้าใจ เพราะว่าไม่มีฟัน เคี้ยวอาหารไม่
ได้ ก็จะเป็นเรื่องตรงไปตรงมา ... แต่ว่าเรื่องของเราที่ไปสัมพันธ์กับเรื่องของโภชนาการ คือ ถ้า
เขากินอาหารไม่ได้ ก็จะส่งผลต่อการรับสารอาหาร ทั้งช่วงปกติ คือ ทั่วไป แต่ยามที่เขาเจ็บป่วย
โอกาสที่เขาจะฟื้นตัว ก็จะช้า ... หมอจะบอกเอง ว่า หมอรักษาแทบตาย ไม่ได้ต้องมีหมอฟันมา
ช่วยด้วย
ดังนั้น ถ้าเรื่องของการไม่มีฟัน และมีการเปลี่ยนแปลง ทั้งชนิดของอาหารที่มีปริมาณไม่พอ ไป
กินของที่ไม่มีประโยชน์ เช่น ไปกินแป้งเยอะขึ้น กินไฟเบอร์ไม่ได้ ก็จะเสี่ยงต่อการเป็นโรคเรื้อรัง
มากขึ้นด้วย
และทฤษฎีที่ว่ามีการเกิดการอักเสบเรื้อรังในร่างกาย ก็จะเป็นเรื่องของหลายๆ ส่วนของ
ร่างกาย ที่มีการอักเสบเกิดขึ้น ก็จะส่งผลไปที่โรคเบาหวาน โรคหัวใจ Oral Health ... เพราะว่า
ถ้ามีปัญหาทางช่องปาก ก็จะส่งผลถึงจุดต่างๆ ของร่างกาย
เรื่องของโรคปริทันต์ แบ่งง่ายที่สุด เป็น 2 โรค คือ เหงือกอักเสบ และปริทันต์อักเสบ ... โรคปริ
ทันต์ เป็นโรคติดเชื้อ เหมือนโรคฟันผุ แต่เป็นเชื้อคนละตัว และลักษณะการดำาเนินโรคจะต่างกัน
เพราะว่าโรคปริทันต์จะเกิดจากเนื้อเยื่ออ่อน คือ เหงือก
โรคเหงือกอักเสบ
• จะมีการอักเสบ และมีการทำาลายอยู่เฉพาะในเนื้อเยื่อเหงือก ไม่ลุกลามไปถึงอวัยวะปริ
ทันต์อื่นๆ
• จะรักษาหายได้ และกลับมามีสภาพเหมือนเดิม และมีสุขภาพที่ดีได้
โรคเหงือกอักเสบ
โรคปริทันต์อักเสบ
• เชื้อก่อโรคก็จะเปลี่ยนไป จะเป็นเชื้อที่เป็น anaerobe และมีการทำาลายของอวัยวะปริ
ทันต์ลึกลงไป
• มีการสูญเสียการยึดเกาะของอวัยวะปริทันต์ มีการทำาลายถึงกระดูกเบ้าฟัน มีร่องลึกปริ
ทันต์
โรคปริทันต์อักเสบ
คนที่เป็นโรคเหงือกอักเสบทุกคน ไม่จำาเป็นจะต้องลุกลามมาถึงปริทันต์อักเสบ แต่
คนที่เป็นโรคปริทันต์อักเสบ อาการของโรคจะเริ่มจากเหงือกอักเสบก่อน เพราะ
ฉะนั้น ถ้าเราจะป้องกันโรคปริทันต์อักเสบ เราก็ต้องตรวจวัดได้ตั้งแต่เป็นโรค
เหงือกอักเสบ
การประเมินความเสี่ยงในผู้สูงอายุ ขั้นตอนการตรวจจะมี
Subjective report
• การสอบถามข้อมูลส่วนตัว ประวัติการเจ็บป่วย สภาพสังคม เศรษฐกิจ
• สภาพที่รักษาโรคปริทันต์มาแล้ว และโรคทางระบบต่างๆ
• เราจะต้องดูหมดว่า คนไข้ได้รับยาอะไรไหม มีโรคอะไรไหมที่ทั้งสภาพของโรค และยาที่
ได้รับ จะมาเกี่ยวข้องกับอวัยวะในช่องปาก
• โรคที่เห็นชัดๆ คือ เบาหวาน เพราะว่า สภาพโรคเบาหวานจะมามีผลของสุขภาพช่อง
ปากได้ เพราะว่า ระดับนำ้าตาลในเลือด ถ้าสูงขึ้น ระดับนำ้าตาลใน Gingival fluid ก็จะสูง
ขึ้นด้วย ซึ่งจะเป็นผลทำาให้การเจริญเติบโตของเชื้อในร่องลึกปริทันต์ ในร่องเหงือกมาก
ขึ้น โรคก็จะลุกลามได้ง่ายขึ้น
• การใช้ยารักษาโรคทางระบบหลายๆ โรค ก็จะเป็นเหตุให้มีความผิดปกติในช่องปากได้
อีก
Objective report คือ การตรวจข้อมูลในช่องปาก สภาพเนื้อเยื่อ
Assessment เป็นการรวบรวมการตรวจ ทั้ง Subjective และ Objective มารวม เพื่อที่จะ
พิจารณาโรค การวินิจฉัยโรคอาจมีการวินิจฉัยได้หลายโรค แต่ข้อมูลทั้งหมดที่จะรวบรวมได้
เราควรจะมีการตรวจเพิ่มเติมหรือไม่ก็แล้วแต่ แต่สามารถสรุปมาได้ว่า โรคที่เป็นจริงๆ นั้น เป็น
อะไร และในส่วนของผู้สูงอายุเอง การสรุปโรคตรงนี้ คือ รวมไว้ด้วยว่า โรคนี้เกิดด้วย โรค
เหงือก หรือฟันของเขาเอง หรือมีอิทธิพลของโรคทางระบบ การใช้ยาเพื่อรักษาโรคทางระบบ
เข้ามาร่วม
Plan คือ การวางแผนการรักษา ... ต้องระวังเรื่องการวางแผนการรักษาในผู้สูงอายุ สิ่งที่
อยากให้ระลึกอยู่ตลอด คือ ก่อนจะวางแผนต้องดูองค์รวมของคนไข้คนนั้นก่อน
อย่าดูแต่เฉพาะในช่องปาก และอย่าคิดว่า ตัวทันตแพทย์ หรือผู้รักษาทำาอะไรได้
ให้ดูองค์รวมของคนไข้คนนั้น ทั้งสภาพร่างกาย จิตใจ เศรษฐานะ สภาพช่องปาก
รวมถึงความต้องการของคนไข้ด้วย ประมวลว่า คนไข้ควรจะได้รับการรักษาใน
ลักษณะไหน อย่าคิดว่า เราทำาได้ แล้วเราก็จะทำาให้คนไข้ได้สำาเร็จ ให้เอาคนไข้
เป็นที่ตั้ง
ในเรื่องของ ความเสี่ยงของโรคปริทันต์ เราจะได้มาจากการตรวจ ... การตรวจที่เป็นการตรวจ
สภาพปริทันต์ คือ การใช้ Probe
ลักษณะการตรวจในผู้สูงอายุ จะเป็น Periodontal screening and report ซึ่งได้รับการยินยอม
มาจากสมาคม Dental Hygienist และสมาคมปริทันต์ ของอเมริกา คะแนน หรือ Code ที่อ้างอิง
เหมือน CPI และ Probe ที่ใช้จะเป็น probe ที้เป็น CPI หรือ WHO Probe มีลูกบอลกลมๆ ซึ่งมี
รัศมี มม. การตรวจเพื่อจะได้ Code มา มี แบบ ตรวจ จุดในฟัน ซี่ หรือว่าเดินเครื่องมือ (คือ การ
สอดเข้า และดึงขึ้นนิดหนึ่ง และสอดเข้าไปใหม่) ไปรอบๆ ตัวฟัน
หน้าตาของ Probe
การตรวจนี้จะเป็นการตรวจบันทึกคะแนนที่สูงที่สุดที่ตรวจได้ใน sextant นั้นๆ ... เป็นการตรวจ
ทุกซี่ แต่เลขบันทึกจะเป็นเลขตัวเดียว ที่สูงที่สุด
เรื่อง เกี่ยวกับ Code และความเสี่ยง
Code 0 ... จะบอกเราว่า
• คนไข้ดูแลตัวเองได้ เหงือกไม่มีการอักเสบ ไม่มีการเป็นโรค และบอกด้วยว่า ไม่มีหิน
นำ้าลาย ไม่มีขอบวัสดุอุดที่ไม่ดี หรือ ไม่ต้องการการรักษา
• แต่ว่าในส่วนลึกๆ ของความไม่ต้องการการรักษานี้ สิ่งที่ไม่ว่าจะเป็นทันตแพทย์ หรือทัน
ตาภิบาลจะให้ได้ ก็คือ การยำ้าในเรื่องของการดูแลสุขภาพช่องปากของตนเอง วิธีการ
แปรงฟัน การทำาความสะอาดซอกฟัน
• ในผู้ใหญ่ที่เราสอนวิธีการแปรงฟัน การทำาความสะอาดซอกฟัน ให้ดูความสามารถของ
คนไข้ด้วยว่า ทำาได้แค่ไหน เช่น ต้องหาแปรงที่เหมาะสมกับความสามารถในการใช้มือ
ของคนได้ Floss บางคนอาจใช้ไม่ได้เลย
• เพราะฉะนั้น เครื่องมือที่แนะนำา ควรจะเป็นน้อยชิ้นที่สุด
• ในคนไข้ที่เราตรวจได้ Code 0 เราบอกแล้วว่า เป็นผู้ที่ไม่ต้องการการรักษา แต่ต้องการ
คำาแนะนำา ย้ำ้าเตือนนิดหนึ่งว่า สิ่งที่คุณทำา ทำาดีแล้วนะ ทำาต่อไปอย้่าพลาดนะ
Code 1 จะคล้าย้ Code 0 ... คือ
• ย้ังสามารถมองเห็นแถบดำา ไม่มีหินนำ้าลาย้ ไม่มีขอบวัสดุอุดที่ไม่ดี สภาพเหงือกแข็งแรง
แต่ว่า มีเลือดออกเมื่อหย้ั่ง Probe ลงไป แสดงว่า เริ่มมีการอักเสบในลักษณะเป็น
Subclinical
• หมาย้ความว่า เราย้ังไม่เห็นว่าเหงือกแดง บวม จนจับได้ชัดว่า อักเสบ แต่การที่มีเลือด
ออกเมื่อหย้ั่งนี่แสดงว่า เริ่มแล้ว คือ มี Plaque แน่นอน
• เพราะฉะนั้น เราต้องย้ำ้าเรื่อง OHI อีกที คือ เรื่อง การดูแลสุขภาพช่องปาก
• แล้วควรจะได้รับการ remove plaque ออก บางตำาแหน่งอาจจำาเป็นต้อง scaling บาง
ตำาแหน่งอาจขัดเฉย้ๆ
• หรือว่า ดูแล้วตัดสินใจได้ว่า สภาพที่เป็นอยู้่ แค่แปรงก็หาย้ แปรงก็ออกหมด ก็ขึ้นอยู้่กับ
ดุลพินิจของหมอว่า จะต้องให้การรักษาหรือไม่
Code 2 ...
• แถบดำามองเห็น มีหินนำ้าลาย้เหนือเหงือก ใต้เหงือก มีขอบวัสดุอุดที่ไม่ดี
• ไม่ได้พูดถึงเรื่องเลือดออก หรือไม่ออก ก็คือ ต้องรักษา ต้องมีสิ่งที่ต้องแก้ไข อย้่างน้อย้
ขอบวัสดุอุดที่ไม่ดี ก็ต้องอุดใหม่ หรือขัด มีหินนำ้าลาย้ก็ต้องขูดออก
• การรักษาคือ การขูดหินนำ้าลาย้ ขัดฟัน และแก้ไขในส่วนที่บกพร่อง ไม่ดี ที่เป็นสาเหตุ
ทำาให้เกิดโรค
ตั้งแต่ Code 0-2 ย้ังอยู้่ในสถานะโรคเหงือกอักเสบ เพราะว่า Sulcus ย้ังไม่มากกว่า 3.5 นี่
เป็นการตรวจในลักษณะ Survey
ถ้า Code ตั้งแต่ 3 ขึ้นไป เริ่มเห็นแถบดำาบางส่วน บางส่วนเข้าไปอยู้่ใน sulcus แล้ว ลึก
3.5-5.5 ตอนนี้จะเป็นโรคปริทันต์อักเสบที่จะต้องรักษาโดย้ทันตแพทย้์เฉพาะทาง หรือ
ทันตแพทย้์ที่ได้ฝึกหัดมาเฉพาะในเรื่องของเกลารากฟัน เพราะว่าเป็นโรคที่ลุกลามเข้าไปถึง
รากฟันแล้ว
Code 4 คือ มองไม่เห็นเงาดำาแล้ว จะมีร่องลึกปริทันต์เกิน 5.5 มม. การรักษาอาจต้องมีการ
ตกแต่งเหงือก การผ่าตัด การควบคุมสภาพการอักเสบมากกว่า ขูดหินปูนธรรมดา อาจจะต้องมี
การใช้ย้าร่วมด้วย้ในการรักษา ต้องส่งต่อทันตแพทย้์ผู้ชำานาญเฉพาะทาง ใน Code นี้จะมีพิเศษ
คือ อาการที่ผิดปกติ เพราะว่าจะมีร่องลึกปริทันต์ที่ involve ไปถึงรอย้แย้กรากฟัน มีการโย้กของ
ตัวฟัน มีความผิดปกติของเนื้อเย้ื่อเหงือก จะมีเหงือกร่น
ลักษณะของ Furcation involve = รอย้โรค ลึกเข้าไปรอย้แย้กของรากฟัน อาการนี้ที่เกิดกับฟัน
ล่างจะรักษาได้ง่าย้กว่า ที่เกิดในฟันบน และรอย้โรคที่ involve เข้าไปในฟันมีหลาย้ระดับ ตั้งแต่
สอด probe เข้าไปได้ หรือสอดทะลุอีกด้าน ซึ่งเป็นความรุนแรงของรอย้โรค ที่จะต้อง Code ไว้
ด้วย้เครื่องหมาย้ * ...
Mobility คือ การโย้กมีหลาย้ระดับ แต่ในกรณีนี้ ถ้ามีการโย้กก็ให้ใส่เครื่องหมาย้ * แล้ว
เรื่องความผิดปกติของขอบเหงือก หรือ Oral mucosa ได้แก่ เหงือกร่น ที่อยู้่ใน code ที่ระบุว่า
เหงือกร่นมากกว่าเท่าไร ก็ใช้ Probe วัด ... วิธีหาว่ามีเหงือกร่นเท่าไร ก็คือ การใช้ Probe หรือ
Explore ย้้อนให้ Oral mucosa เคลื่อนขึ้นมา ดูว่ามีตัวเหงือกถึงขอบเหงือกหรือเปล่า ถ้าถึงขอบ
เหงือก แสดงว่า Attach gingiva ตรงนี้ไม่มีเลย้ อาจจะต้องรักษาโดย้วิธีผ่าตัดหรืออื่นๆ และเมื่อ
เราตามคนไข้ไป คนไข้สามารถดูแลได้ระย้ะหนึ่ง ซึ่งไม่มีการร่นมากขึ้น ก็อาจคงไว้อย้่างนี้ได้
โดย้ไม่จำาเป็นต้องรักษา
การตรวจอีกวิธีหนึ่ง คือ การย้้อมสี สีที่ติดตรง Gingiva กับ Oral mocosa จะมีสีที่แตกต่างกัน
เกร็ดเล็กๆ อาจารย้์จุฬาลักษณ์ย้ำ้าให้พวกเราได้ทราบกันด้วย้นะคะว่า
• อายุ้ไม่ได้เป็นปัจจัย้ของโรคปริทันต์เลย้ แต่ด้วย้ความมากของอายุ้ จะเป็นระย้ะเวลาของ
การสะสมคราบจุลินทรีย้์ สะสมสภาพโรคมากพอที่จะทำาให้โรคลุกลาม และก่อเหตุขึ้นมา
• อายุ้ไม่ใช่เป็นตัวเลขที่เป็นข้อห้ามสำาหรับการรักษาทางปริทันต์ ถ้าคนไข้ควบคุมโรคทาง
ระบบได้ ดูแลสุขภาพช่องปากได้เอง หรือแม้แต่คนที่เป็นคนดูแลเขาทำาให้ได้ เราก็ย้ัง
สามารถรักษาให้เขาได้
• ในเรื่องของ Code เรามี Code 0 ถึง 4 และมีดอกจันทน์ เวลาจะลง Code มี 6 ช่อง
แต่ละช่องจะวัดซี่ฟัน แต่ว่าในแต่ละช่องจะใส่ตัวเลขเพีย้งที่สูงที่สุด ที่จะวัดได้ และถ้า
บริเวณไหนที่มีเหตุการณ์ที่เราจะต้องดอกจันทน์ ก็ต้องดอกจันทน์ที่ตัวเลขนั้นๆ ด้วย้
• เมื่อเราได้ Code ออกมาตัวไหน จะมี guide ว่า เราจะให้การรักษาอย้่างไร วิธีการรักษา
ควรเลือกช่องที่มี Code สูงที่สุด และทำาการรักษาตาม Guide ของ Code นั้นๆ จะได้รับ
การรักษาที่ครบถ้วน
• ในการที่เราจะตัดสินใจว่าคนไข้ที่อยู้่ในมือเราต้องไปทำาการรักษาอย้่างไร ใน Code
แรกๆ 0, 1, 2 มักไม่ค่อย้มีปัญหา แต่ถ้าเป็น Code 3, 4 และดอกจันทน์ บางครั้งการ
ตัดสินใจจะอยู้่ตรงเส้น ว่า เราจะส่งต่อ หรือถอนออกเองได้เลย้ เราต้องใช้เรื่องโรคทาง
ระบบ สภาพเสี่ย้งต่างๆ ของคนไข้ ทั้งร่างกาย้ มาช่วย้พิจารณาว่าจะส่งต่อหรือไม่
• พอเราจะส่งต่อ กรณีการรักษาอาจต้องทำาศัลย้กรรมปริทันต์ ต้องดูว่า คนไข้ต้องพร้อม
เมื่อเราเป็นคนดูคนไข้เป็นคนแรก เราอยู้่กับคนไข้แล้วพักหนึ่ง รู้ข้อมูลของคนไข้แล้ว
เราสามารถใช้ตรงนี้ ช่วย้ตัดสินใจได้ว่า เราจะรักษาคนไข้ด้วย้การถอนฟันออกเลย้ หรือ
ว่าจะส่งต่อ
• ผู้ป่วย้จะต้องเข้าใจว่า การรักษาถึงขั้นผ่าตัดจะต้องทำาอย้่างไร จะต้องทำาถึงขั้นฉีดย้าชา
ต้องทำานาน 1 ถึง 1 ชม.ครึ่ง ต้องอ้าปากอยู้่นาน ต้องมีคนพาไป ต้องมีคนอยู้่ด้วย้ ต้องมี
คนรับกลับ จะมีแผลในช่องปากประมาณ 7 วัน ถึงจะได้ตัดไหน แผลจะอยู้่ประมาณ 2
อาทิตย้์ ถึงจะมีสภาพปกติ
• คนไข้ย้ินดีร่วมมือหรือเปล่า คนไข้จะย้ินดีทำาถึงตรงนั้นไหม คนไข้อาจต้องการถอนฟัน
ไปเลย้
• ทันตแพทย้์ที่เราส่งไป ต้องติดต่อกับคนไข้ได้ ต้องมีการร่วมมือกัน
• ต้องแน่ใจว่า ผู้สูงอายุ้ดูแลสุขภาพช่องปากได้จริง เพราะว่า การผ่าตัดให้กับคนไข้ ต้อง
ดูด้วย้ว่า เขาดูแลตัวเองได้หรือไม่ ถ้าผู้สูงอายุ้ดูแลตัวเองไม่ได้ มีคนที่ดูแลเขาได้หรือไม่
ถึงจะทำาการรักษาให้ได้
• กรณีมีโรคทางระบบ ทันตแพทย้์เองต้องติดต่อกับหมอที่ทำาการรักษาเรื่องโรคทางระบบ
ได้ด้วย้ เพราะว่าอย้่างน้อย้ต้องมีการติดต่อกันก่อนว่า สามารถทำาได้หรือไม่ เพราะว่า
บางคนที่ได้รับย้าละลาย้ลิ่มเลือด เราให้หยุ้ดย้าก่อน 7 วัน สภาพของคนไข้ก็อาจหยุ้ดไม่
ได้เลย้ ต้องให้หมอเป็นคนสั่งให้หยุ้ดให้
• การคำานวณย้าให้คนไข้ ต้องคำานึงถึงด้วย้ เพราะว่าในผู้สูงอายุ้จะมีผลทั้งเรื่องของการ
ได้รับย้า การขับย้า ทางไต ทางตับ จะผิดกับคนที่อ่อนวัย้กว่า ในลักษณะที่เสื่อมลง ก็
ต้องนึกเสมอว่า ย้าตัวนี้จะขับออกทางไหน ช้า หรือเร็ว ถ้าเราไม่ทราบระบบนี้ คนไข้อาจ
มีการ Hang ย้า และเป็นอันตราย้ได้
ตัวแปรตัวต่อไปที่เขาใช้ทำานาย้ฟันผุ คือ เชื้อโรค ที่เรารู้จักกัน มี 2 ตัว คือ Mutan
Streptococci และ Lactobacilli แรกเริ่มเราจะรู้จัก Lactobacilli ก่อน เพราะว่าในที่ที่มี
ฟันผุ เราจะเจอ Lactobacilli เย้อะ และเมื่อไรมีการกินนำ้าตาลที่มี ferment ได้ ก็จะเจอ
Lactobacilli เย้อะ ก็เลย้มีคนสนใจว่า ฟันผุ กับ Lactobacilli มันเกี่ย้วข้องกัน ถัดมาอีก 20 ปี ก็มี
คนเจอ Strep Mutan ซึ่งปัจจุบันนี้ เราพบว่า มันไม่ใช่ Strep Mutan มันมีหลาย้ๆ ตัว เราเลย้
เรีย้กใหม่ว่า Mutan Strptococci เพราะว่ามีหลาย้ตัว แต่ว่าพฤติกรรมเหมือนกัน ในที่ที่ไม่เจอ
Lactobacilli เราพบว่า Mutan Strptococci ก็สามารถผลิตกรด สามารถสร้าง plaque สามารถ
ทำาให้เกิดฟันผุได้เช่นเดีย้วกันกับ Lactobacilli ... Strep Mutan ก็มีความสำาคัญมากขึ้นเรื่อย้ๆ
เพราะว่า Strep Mutan เป็นพวก Aerobic ก็คือ อยู้่ในอากาศที่มี Oxygen ได้ ส่วน Lactobacilli
จะอยู้่ลึกๆ เพราะฉะนั้น 2 ตัวนี้จึงเป็น marker สำาคัญของการเกิดฟันผุ
เมื่อไม่นานมานี้ มีผู้เจอข้อมูลหลาย้เรื่อง ที่เริ่มขัดแย้้งกับทฤษฎีเก่า จน set up เป็นทฤษฎีใหม่ว่า
Ecological plaque นั่นก็คือ ใน plaque อยู้่กันเป็นสมาคม มีผู้ที่สนใจเอากราฟมาให้ดู พบว่า
เส้นสีดำา คือ plaque ที่มี Strep Mutan เส้นประคือ ไม่มี Strep Mutan คือ เมื่อโดนนำ้าตาล ไม่
ว่า plaque นั้นจะมี Strep Mutan หรือไม่มี ก็มีพฤติกรรมแบบเดิม คือ สร้างกรด
pH ลดลง และขาขึ้นก็ขึ้นช้าๆ เหมือนเดิม หมาย้ความว่า ย้ังมีตัวอื่นอีกที่เราไม่รู้
นั่นคือ เราจะ point ไปที่ Lactobacilli และ Strep Mutan อาจจะไม่เพีย้งพอใน
การป้องกันฟันผุ
ดังนั้น มีคนพย้าย้ามจะถามว่า แล้วเชื้อโรคไหนที่จะบอกว่า เรากำาลังอยู้่ใน process ที่กำาลังจะมี
ฟันผุแล้ว มีคนทดลองเย้อะ มีคนหนึ่ง (1990) พบว่า Mutan Strptococci ถ้าเย้อะกว่าในปริมาณ
หนึ่งนี่ ฟันผุจะเพิ่มขึ้น ถามว่า predict ได้เท่าไร Sensitivity 29% Specificity 88% Sensitivity
แปลว่า คนที่มีฟันผุใหม่เกิดขึ้น 100 คน มีเชื้อโรคที่ว่าเย้อะๆ กี่คน ก็คือ 29 คน ถ้า test นี้ดี บอก
ได้หมดทั้ง 100 คน แปลว่า คนที่เกิดฟันผุใหม่ 100 คน จะมีเชื้อโรคตัวนี้มากทั้ง 100 คน แต่ใน
ที่นี้มีเชื้อโรคตัวนี้มาก 29 คน อีก 71 คน เชื้อโรคไม่มาก แต่ฟันผุใหม่เหมือนกัน หมาย้ความว่า
ตัวนี้ predict ได้ไม่ค่อย้ work อย้่างไรก็ดี Specificity หมาย้ถึงคนที่ฟันไม่ผุ ทั้ง 100 คน มี
Strep Mutan น้อยกี่คน ในที่มี 88 คน บอกว่า ถ้าไม่มี Strep mutan ฟันจะไม่ผุค่อนข้างเชื่อได้
แต่ถ้ามี Strep mutan ฟันผุอาจจะเชื่อไม่ค่อยได้ ทำานองนี้ เพราะฉะนั้น test ที่ดี ต้องสูงทั้ง
Sensitivity และ Specificity ครับ
Van Houte, 1993 เขาไปค้นมาว่า Specificity และ Sensitivity ของการเอาเชื้อโรคมา predict
ฟันผุ มัมแม่นยำาเพียงใด ซึ่งออกมามันจะประมาณกัน เพราะปัจจุบันเราเริ่มพบแล้วว่า มันไม่ใช่
แค่ Strep mutan มันมีตัวอื่นอยู่อีก ที่ทำาให้ฟันผุได้ การใช้เชื้อโรคในการทำานายก็เลยอาจยัง
ไม่ 100% เขาก็เลยบอกว่า การที่จะทำานาย Risk โดยใช้ Single microbial ใช้ปัจจัยเรื่องจุล
ชีววิทยายังไม่แม่น แต่ว่าการทำานายเรื่อง Low caries risk ค่อนข้างดี เพราะว่าถ้าไม่มีเชื้อโรค
ไม่เป็น แต่ถ้ามีเชื้อโรคไม่แน่
เรื่องต่อไปคือ นำ้าลาย เขาก็บอกว่า เป็นเรื่องที่เราให้ความสนใจกันมาในระยะหลัง เพิ่มขึ้น
อย่างยิ่ง ปัจจัยในนำ้าลายที่ป้องกันฟันผุมีหลายตัว Flow rate, Buffer effect, Inorganic
component, Antimicrobial factors, Aggregation and adherence แต่ว่าตัวที่สำาคัญ 2 ตัว
คือ อัตราการหลั่งของนำ้าลาย และความสามารถในการสะเทินกรดด่าง
อัตราการหลั่งของนำ้าลาย ... เรามีคำาสำาคัญที่ใกล้เคียงกันมาก คือ Xerostomia กับ
Hyposalivation ... Xerostomia เป็น subjective report คือ เป็นความรู้สึก ของเจ้าตัวว่ามี
อาการปากแห้ง ส่วน Hyposalivation เป็นปริมาณตัวนำ้าลายที่หลั่งมาน้อยจริงๆ ซึ่งอาจจะไป
ด้วยกัน หรือไม่ไปด้วยกันก็ได้ แต่ก่อนเขาบอกว่า Hyposalivation เมื่อน้อยกว่า 0.1 มล. ต่อ
นาที เรียกว่านำ้าลายน้อย แต่หลังจากนั้นมา เขาก็มีการดูกันว่า เท่าไรจึงจะเป็นโรค โรคที่เกิด
จากนำ้าลายน้อยนี่ มีอะไรบ้าง มีฟันผุ มี Burning sensation แล้วเท่าไรกันแน่ที่จะเริ่มเป็น เมื่อ
สักไม่กี่ปีมานี้ ก็บอกว่า ตัวเลขที่เหมาะสม คือ 0.16 มล.ต่อนาที คือ พอปริมาณนำ้าลายตำ่ากว่า
0.16 มล.ต่อนาที ก็เป็นอัตราเสี่ยงต่อการเกิดโรคต่างๆ ขึ้นมาแล้ว เพราะฉะนั้นก็ควรจะนิยามเสีย
ใหม่ว่า นำ้าลายน้อย คือ ภาวะที่นำ้าลายไหลน้อยกว่า 0.16 มล.ต่อนาที แต่ยังเป็นเรื่องที่ถกเถียง
กันอยู่
ส่วนภาวะปากแห้ง บอกเองว่ารู้สึกว่าปากแห้งนั้น เนื่องจาก Xerostomia เป็นการรายงาน
ฉะนั้น จึงเกี่ยวข้องกับความเคยชินแต่ก่อน แต่ก่อนอาจจะมีนำ้าลายเยอะอยู่แล้ว แต่มันน้อยลง
กว่าเดิม แต่ยังไม่ถึงขั้น 0.16 มล.ต่อนาที ตัวเองก็บอกว่าปากแห้ง หรือบอกว่า ปากแห้งตั้งนาน
แล้ว ตอนนี้ก็ยังแห้งเท่าเดิม เพราะฉะนั้น Xerostomia ก็เป็นมาตั้งแต่เกิด Xerostomia จึงเชื่อ
ไม่ได้มากนักว่า สัมพันธ์กับโรคอะไร Hyposalivation จะแน่นอนมากกว่า และถ้านำ้าลายน้อย
กว่าเดิม จนถึงครึ่งหนึ่งของอัตราที่เคยเป็นอยู่นี่ เจ้าตัวจะ report ซึ่งพบว่า สิ่งที่สำาคัญ คือ เพศ ผู้
หญิงจะรายงานว่าตัวเองมีภาวะปากแห้งมากกว่าผู้ชาย ก็จะประกอบกับเรื่องฮอร์โมน และอะไร
หลายอย่าง
เรื่องนำ้าลายน้อยจริงๆ สัมพันธ์กับยาที่กิน เช่น ยาที่กินจากโรคเบาหวาน Sjogen's syndrome
ที่ทำาให้นำ้าลายน้อย
แล้วนำ้าลายน้อยมีปัญหาอะไร Stephan curve ที่เขาทำาลองว่า นำ้าลายระดับต่างๆ จะเกิดอะไร
ขึ้นกับ Stephan curve ในภาวะการทดลองที่ไม่มีนำ้าลายอยู่เลย Stephan curve ลงแล้วจะไม่
ขึ้น เพราะฉะนั้น นำ้าลายจะเป็นตัวให้ Stephan curve มันกลับขึ้นมาได้ เพราะฉะนั้น ถ้าในปาก
เราเป็นกรดอยู่ตลอดเวลา ฟันก็จะผุอย่างรวดเร็ว ซึ่งกลไกนั้นก็คือ กลไกการสะเทินกรดนั่นเอง
คือ การที่มันมี Carbonate กระจายอยู่ในนำ้าลาย พอมีกรดอ่อนเข้ามาก็จะไปรวมกับกรดตัวที่
เป็น H ion กลายเป็นนำ้า และ Carbondioxide เพราะฉะนั้น กรดออกมาเท่าไรก็หายไปเท่านั้น ก็
ขึ้นอยู่กับว่า นำ้าลายเรามีตัวพวกนี้เยอะแค่ไหน ถ้ามีเยอะก็จะกลายเป็นก๊าซ แต่ถ้านำ้าลายเราไม่
เก่งมีด่างพวกนี้อยู่น้อย เมื่อหมด ก็จะเกิดกรด เพราะฉะนั้นจะเป็น balance 2 เรื่อง คือ ถ้าเรามี
เชื้อโรค หรือมีอาหารที่ผลิตกรดไม่เยอะ นำ้าลายจะไม่ดีก็ไม่เป็นไร หรือถ้าเกิดนำ้าลายเราดี เราก็
มีต้นทุนเยอะ
หน่อย ก็ไปสู้กันได้ ก็เป็น 2 เรื่องที่ไปสัมพันธ์กัน

More Related Content

What's hot

การทาฟลูออไรด์วานิช
การทาฟลูออไรด์วานิชการทาฟลูออไรด์วานิช
การทาฟลูออไรด์วานิชBallista Pg
 
การดูแลทันตสุขภาพแต่ละช่วงวัย
การดูแลทันตสุขภาพแต่ละช่วงวัยการดูแลทันตสุขภาพแต่ละช่วงวัย
การดูแลทันตสุขภาพแต่ละช่วงวัยBallista Pg
 
การตรวจคัดกรองสุขภาพช่องปากสี่สี-คนพิการ
การตรวจคัดกรองสุขภาพช่องปากสี่สี-คนพิการ การตรวจคัดกรองสุขภาพช่องปากสี่สี-คนพิการ
การตรวจคัดกรองสุขภาพช่องปากสี่สี-คนพิการ Nithimar Or
 
โรคฟันผุ
โรคฟันผุโรคฟันผุ
โรคฟันผุBallista Pg
 
การดูแลสุขภาพช่องปากในผู้ป่วยเบาหวาน หน้า ๑ ,แผ่นพับ
การดูแลสุขภาพช่องปากในผู้ป่วยเบาหวาน หน้า ๑ ,แผ่นพับ การดูแลสุขภาพช่องปากในผู้ป่วยเบาหวาน หน้า ๑ ,แผ่นพับ
การดูแลสุขภาพช่องปากในผู้ป่วยเบาหวาน หน้า ๑ ,แผ่นพับ dentyomaraj
 
ใบงานวิชาการเงินธุรกิจ
ใบงานวิชาการเงินธุรกิจใบงานวิชาการเงินธุรกิจ
ใบงานวิชาการเงินธุรกิจOrawonya Wbac
 
อาหาร 5 หมู่
อาหาร 5 หมู่อาหาร 5 หมู่
อาหาร 5 หมู่kasamaporn
 
แผ่นสไลด์ - ความหมายและความสำคัญของอาหารและโภชนาการ
แผ่นสไลด์ - ความหมายและความสำคัญของอาหารและโภชนาการแผ่นสไลด์ - ความหมายและความสำคัญของอาหารและโภชนาการ
แผ่นสไลด์ - ความหมายและความสำคัญของอาหารและโภชนาการNattaka_Su
 
การควบคุมและป้องกันฟันผุ
การควบคุมและป้องกันฟันผุ การควบคุมและป้องกันฟันผุ
การควบคุมและป้องกันฟันผุ Dr.Ratchaneewan Sinawat Poomsa-ad
 
Appoarch anemia
Appoarch anemiaAppoarch anemia
Appoarch anemiarung.3001
 
การจัดการข้อร้องเรียนฉบับย่อ
การจัดการข้อร้องเรียนฉบับย่อการจัดการข้อร้องเรียนฉบับย่อ
การจัดการข้อร้องเรียนฉบับย่อSuradet Sriangkoon
 
ฟันปลอม
ฟันปลอมฟันปลอม
ฟันปลอมBallista Pg
 
อาหารกระดูก แผ่นพับ
อาหารกระดูก แผ่นพับอาหารกระดูก แผ่นพับ
อาหารกระดูก แผ่นพับTODSAPRON TAWANNA
 
การดูแลเครื่องมือและอุปกรณ์ในการบำบัด
การดูแลเครื่องมือและอุปกรณ์ในการบำบัดการดูแลเครื่องมือและอุปกรณ์ในการบำบัด
การดูแลเครื่องมือและอุปกรณ์ในการบำบัดtechno UCH
 
หนังสือความรู้เรื่องโรคไต
หนังสือความรู้เรื่องโรคไตหนังสือความรู้เรื่องโรคไต
หนังสือความรู้เรื่องโรคไตCAPD AngThong
 
การทำความสะอาดช่องปาก
การทำความสะอาดช่องปากการทำความสะอาดช่องปาก
การทำความสะอาดช่องปากBallista Pg
 

What's hot (20)

บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3
 
ปริทันต์
ปริทันต์ปริทันต์
ปริทันต์
 
การทาฟลูออไรด์วานิช
การทาฟลูออไรด์วานิชการทาฟลูออไรด์วานิช
การทาฟลูออไรด์วานิช
 
͹ѹآ֡ 1950
͹ѹآ֡  1950͹ѹآ֡  1950
͹ѹآ֡ 1950
 
การดูแลทันตสุขภาพแต่ละช่วงวัย
การดูแลทันตสุขภาพแต่ละช่วงวัยการดูแลทันตสุขภาพแต่ละช่วงวัย
การดูแลทันตสุขภาพแต่ละช่วงวัย
 
การตรวจคัดกรองสุขภาพช่องปากสี่สี-คนพิการ
การตรวจคัดกรองสุขภาพช่องปากสี่สี-คนพิการ การตรวจคัดกรองสุขภาพช่องปากสี่สี-คนพิการ
การตรวจคัดกรองสุขภาพช่องปากสี่สี-คนพิการ
 
โรคฟันผุ
โรคฟันผุโรคฟันผุ
โรคฟันผุ
 
การดูแลสุขภาพช่องปากในผู้ป่วยเบาหวาน หน้า ๑ ,แผ่นพับ
การดูแลสุขภาพช่องปากในผู้ป่วยเบาหวาน หน้า ๑ ,แผ่นพับ การดูแลสุขภาพช่องปากในผู้ป่วยเบาหวาน หน้า ๑ ,แผ่นพับ
การดูแลสุขภาพช่องปากในผู้ป่วยเบาหวาน หน้า ๑ ,แผ่นพับ
 
ใบงานวิชาการเงินธุรกิจ
ใบงานวิชาการเงินธุรกิจใบงานวิชาการเงินธุรกิจ
ใบงานวิชาการเงินธุรกิจ
 
อาหาร 5 หมู่
อาหาร 5 หมู่อาหาร 5 หมู่
อาหาร 5 หมู่
 
แผ่นสไลด์ - ความหมายและความสำคัญของอาหารและโภชนาการ
แผ่นสไลด์ - ความหมายและความสำคัญของอาหารและโภชนาการแผ่นสไลด์ - ความหมายและความสำคัญของอาหารและโภชนาการ
แผ่นสไลด์ - ความหมายและความสำคัญของอาหารและโภชนาการ
 
การควบคุมและป้องกันฟันผุ
การควบคุมและป้องกันฟันผุ การควบคุมและป้องกันฟันผุ
การควบคุมและป้องกันฟันผุ
 
Appoarch anemia
Appoarch anemiaAppoarch anemia
Appoarch anemia
 
การจัดการข้อร้องเรียนฉบับย่อ
การจัดการข้อร้องเรียนฉบับย่อการจัดการข้อร้องเรียนฉบับย่อ
การจัดการข้อร้องเรียนฉบับย่อ
 
ฟันปลอม
ฟันปลอมฟันปลอม
ฟันปลอม
 
อาหารกระดูก แผ่นพับ
อาหารกระดูก แผ่นพับอาหารกระดูก แผ่นพับ
อาหารกระดูก แผ่นพับ
 
การดูแลเครื่องมือและอุปกรณ์ในการบำบัด
การดูแลเครื่องมือและอุปกรณ์ในการบำบัดการดูแลเครื่องมือและอุปกรณ์ในการบำบัด
การดูแลเครื่องมือและอุปกรณ์ในการบำบัด
 
หนังสือความรู้เรื่องโรคไต
หนังสือความรู้เรื่องโรคไตหนังสือความรู้เรื่องโรคไต
หนังสือความรู้เรื่องโรคไต
 
การทำความสะอาดช่องปาก
การทำความสะอาดช่องปากการทำความสะอาดช่องปาก
การทำความสะอาดช่องปาก
 
3
33
3
 

Viewers also liked

การเกิดปริทันต์ในผู้ป่วยโรคเบาหวาน
การเกิดปริทันต์ในผู้ป่วยโรคเบาหวานการเกิดปริทันต์ในผู้ป่วยโรคเบาหวาน
การเกิดปริทันต์ในผู้ป่วยโรคเบาหวานTangMa Salee
 
งานส่งเสริมทันตสุขภาพและป้องกันโรคช่องปาก
งานส่งเสริมทันตสุขภาพและป้องกันโรคช่องปากงานส่งเสริมทันตสุขภาพและป้องกันโรคช่องปาก
งานส่งเสริมทันตสุขภาพและป้องกันโรคช่องปากtechno UCH
 
คู่มือ เบาหวานเบาใจห่างไกลโรคทันตกรรม
คู่มือ เบาหวานเบาใจห่างไกลโรคทันตกรรมคู่มือ เบาหวานเบาใจห่างไกลโรคทันตกรรม
คู่มือ เบาหวานเบาใจห่างไกลโรคทันตกรรมภัคจิรา คำเขียว
 
โรคปริทันต์
โรคปริทันต์โรคปริทันต์
โรคปริทันต์Ballista Pg
 
เรื่องฟันฟัน
เรื่องฟันฟันเรื่องฟันฟัน
เรื่องฟันฟันan1030
 
วิจัยช่องปาก
วิจัยช่องปากวิจัยช่องปาก
วิจัยช่องปากChuchai Sornchumni
 
การส่งเสริมสุขภาพช่องปากคนพิการ
การส่งเสริมสุขภาพช่องปากคนพิการการส่งเสริมสุขภาพช่องปากคนพิการ
การส่งเสริมสุขภาพช่องปากคนพิการPattima Burapholkul
 
การศึกษาการยอมรับรูปแบบการนำเสนอหัวข้อโครงงานแบบเสมือนสำหรับรายวิชาโครงงานนัก...
การศึกษาการยอมรับรูปแบบการนำเสนอหัวข้อโครงงานแบบเสมือนสำหรับรายวิชาโครงงานนัก...การศึกษาการยอมรับรูปแบบการนำเสนอหัวข้อโครงงานแบบเสมือนสำหรับรายวิชาโครงงานนัก...
การศึกษาการยอมรับรูปแบบการนำเสนอหัวข้อโครงงานแบบเสมือนสำหรับรายวิชาโครงงานนัก...Nakhon Pathom Rajabhat University
 
การเตรียมผู้ป่วยเพื่อระงับความรู้สึก
การเตรียมผู้ป่วยเพื่อระงับความรู้สึกการเตรียมผู้ป่วยเพื่อระงับความรู้สึก
การเตรียมผู้ป่วยเพื่อระงับความรู้สึกtechno UCH
 
การให้บริการทันตกรรมเอื้ออาทรผู้สูงอายุ
การให้บริการทันตกรรมเอื้ออาทรผู้สูงอายุการให้บริการทันตกรรมเอื้ออาทรผู้สูงอายุ
การให้บริการทันตกรรมเอื้ออาทรผู้สูงอายุTheerachai Anuwongjaroen
 
การสำรวจสภาวะฟันผุ Oral serway
การสำรวจสภาวะฟันผุ Oral serwayการสำรวจสภาวะฟันผุ Oral serway
การสำรวจสภาวะฟันผุ Oral serwayApples Dansirima
 
การดูแลสุขภาพ ดร.สุมน
การดูแลสุขภาพ ดร.สุมนการดูแลสุขภาพ ดร.สุมน
การดูแลสุขภาพ ดร.สุมนSomwang Piyaphaneerat
 
การดูแลสุขภาพในวัยรุ่น
การดูแลสุขภาพในวัยรุ่นการดูแลสุขภาพในวัยรุ่น
การดูแลสุขภาพในวัยรุ่นNamfon fon
 
อบรมสอ.อสมป่าบอน
อบรมสอ.อสมป่าบอนอบรมสอ.อสมป่าบอน
อบรมสอ.อสมป่าบอนBallista Pg
 
การดูแลสุขภาพ
การดูแลสุขภาพการดูแลสุขภาพ
การดูแลสุขภาพsivakorn35
 

Viewers also liked (19)

การเกิดปริทันต์ในผู้ป่วยโรคเบาหวาน
การเกิดปริทันต์ในผู้ป่วยโรคเบาหวานการเกิดปริทันต์ในผู้ป่วยโรคเบาหวาน
การเกิดปริทันต์ในผู้ป่วยโรคเบาหวาน
 
งานส่งเสริมทันตสุขภาพและป้องกันโรคช่องปาก
งานส่งเสริมทันตสุขภาพและป้องกันโรคช่องปากงานส่งเสริมทันตสุขภาพและป้องกันโรคช่องปาก
งานส่งเสริมทันตสุขภาพและป้องกันโรคช่องปาก
 
คู่มือ เบาหวานเบาใจห่างไกลโรคทันตกรรม
คู่มือ เบาหวานเบาใจห่างไกลโรคทันตกรรมคู่มือ เบาหวานเบาใจห่างไกลโรคทันตกรรม
คู่มือ เบาหวานเบาใจห่างไกลโรคทันตกรรม
 
โรคปริทันต์
โรคปริทันต์โรคปริทันต์
โรคปริทันต์
 
เรื่องฟันฟัน
เรื่องฟันฟันเรื่องฟันฟัน
เรื่องฟันฟัน
 
วิจัยช่องปาก
วิจัยช่องปากวิจัยช่องปาก
วิจัยช่องปาก
 
การส่งเสริมสุขภาพช่องปากคนพิการ
การส่งเสริมสุขภาพช่องปากคนพิการการส่งเสริมสุขภาพช่องปากคนพิการ
การส่งเสริมสุขภาพช่องปากคนพิการ
 
HIV
HIV HIV
HIV
 
การศึกษาการยอมรับรูปแบบการนำเสนอหัวข้อโครงงานแบบเสมือนสำหรับรายวิชาโครงงานนัก...
การศึกษาการยอมรับรูปแบบการนำเสนอหัวข้อโครงงานแบบเสมือนสำหรับรายวิชาโครงงานนัก...การศึกษาการยอมรับรูปแบบการนำเสนอหัวข้อโครงงานแบบเสมือนสำหรับรายวิชาโครงงานนัก...
การศึกษาการยอมรับรูปแบบการนำเสนอหัวข้อโครงงานแบบเสมือนสำหรับรายวิชาโครงงานนัก...
 
การเตรียมผู้ป่วยเพื่อระงับความรู้สึก
การเตรียมผู้ป่วยเพื่อระงับความรู้สึกการเตรียมผู้ป่วยเพื่อระงับความรู้สึก
การเตรียมผู้ป่วยเพื่อระงับความรู้สึก
 
การให้บริการทันตกรรมเอื้ออาทรผู้สูงอายุ
การให้บริการทันตกรรมเอื้ออาทรผู้สูงอายุการให้บริการทันตกรรมเอื้ออาทรผู้สูงอายุ
การให้บริการทันตกรรมเอื้ออาทรผู้สูงอายุ
 
การสำรวจสภาวะฟันผุ Oral serway
การสำรวจสภาวะฟันผุ Oral serwayการสำรวจสภาวะฟันผุ Oral serway
การสำรวจสภาวะฟันผุ Oral serway
 
Opy final lec
Opy final lecOpy final lec
Opy final lec
 
การดูแลสุขภาพ ดร.สุมน
การดูแลสุขภาพ ดร.สุมนการดูแลสุขภาพ ดร.สุมน
การดูแลสุขภาพ ดร.สุมน
 
การดูแลสุขภาพในวัยรุ่น
การดูแลสุขภาพในวัยรุ่นการดูแลสุขภาพในวัยรุ่น
การดูแลสุขภาพในวัยรุ่น
 
Plaque control53
Plaque control53Plaque control53
Plaque control53
 
อบรมสอ.อสมป่าบอน
อบรมสอ.อสมป่าบอนอบรมสอ.อสมป่าบอน
อบรมสอ.อสมป่าบอน
 
การดูแลสุขภาพ
การดูแลสุขภาพการดูแลสุขภาพ
การดูแลสุขภาพ
 
Ohi & curette
Ohi & curetteOhi & curette
Ohi & curette
 

Similar to เรื่องของโรคทางระบบ ที่สัมพันธ์กับสุขภาพช่องปาก

Sex education
Sex education Sex education
Sex education atit604
 
โรคจากการสูบบุหรี
โรคจากการสูบบุหรีโรคจากการสูบบุหรี
โรคจากการสูบบุหรีWan Ngamwongwan
 
สุขศึกษา ม. 5 หน่วยที่ 7.pptx
สุขศึกษา ม. 5 หน่วยที่ 7.pptxสุขศึกษา ม. 5 หน่วยที่ 7.pptx
สุขศึกษา ม. 5 หน่วยที่ 7.pptxKritwarongTheychasir
 
เรื่องน่ารู้เกี่ยวกับการปฐมพยาบาลเบื้องต้น
เรื่องน่ารู้เกี่ยวกับการปฐมพยาบาลเบื้องต้นเรื่องน่ารู้เกี่ยวกับการปฐมพยาบาลเบื้องต้น
เรื่องน่ารู้เกี่ยวกับการปฐมพยาบาลเบื้องต้นguest8be8a6
 
เรื่องน่ารู้เกี่ยวกับการปฐมพยาบาลเบื้องต้น
เรื่องน่ารู้เกี่ยวกับการปฐมพยาบาลเบื้องต้นเรื่องน่ารู้เกี่ยวกับการปฐมพยาบาลเบื้องต้น
เรื่องน่ารู้เกี่ยวกับการปฐมพยาบาลเบื้องต้นJanjira Majai
 
การป้องกันโรคเอดส์ (Hiv)
การป้องกันโรคเอดส์ (Hiv)การป้องกันโรคเอดส์ (Hiv)
การป้องกันโรคเอดส์ (Hiv)BowBow580146
 
Finalpresentationl20 23
Finalpresentationl20 23Finalpresentationl20 23
Finalpresentationl20 23mewsanit
 
9789740335368
97897403353689789740335368
9789740335368CUPress
 
โรคเอดส์
โรคเอดส์โรคเอดส์
โรคเอดส์tichana
 
โรคเอดส์
โรคเอดส์โรคเอดส์
โรคเอดส์tichana
 
การป้องกันโรคเอดส์ (Hiv)
การป้องกันโรคเอดส์ (Hiv)การป้องกันโรคเอดส์ (Hiv)
การป้องกันโรคเอดส์ (Hiv)BowBow580146
 
เรื่องน่ารู้เกี่ยวกับการปฐมพยาบาลเบื้องต้น123
เรื่องน่ารู้เกี่ยวกับการปฐมพยาบาลเบื้องต้น123เรื่องน่ารู้เกี่ยวกับการปฐมพยาบาลเบื้องต้น123
เรื่องน่ารู้เกี่ยวกับการปฐมพยาบาลเบื้องต้น123Janjira Majai
 
อาหารกับสารเคมีที่ก่อให้เกิดมะเร็ง.pdf
อาหารกับสารเคมีที่ก่อให้เกิดมะเร็ง.pdfอาหารกับสารเคมีที่ก่อให้เกิดมะเร็ง.pdf
อาหารกับสารเคมีที่ก่อให้เกิดมะเร็ง.pdfpitsanu duangkartok
 
ชีววิทยา(ม.4 4) เรื่อง โรคหลอดลมอักเสบ (1)
ชีววิทยา(ม.4 4) เรื่อง โรคหลอดลมอักเสบ (1)ชีววิทยา(ม.4 4) เรื่อง โรคหลอดลมอักเสบ (1)
ชีววิทยา(ม.4 4) เรื่อง โรคหลอดลมอักเสบ (1)Wan Ngamwongwan
 
โครงการพัฒนาการดูแลผู้สูงอายุระยะยาว(ตัวอย่าง)
โครงการพัฒนาการดูแลผู้สูงอายุระยะยาว(ตัวอย่าง)โครงการพัฒนาการดูแลผู้สูงอายุระยะยาว(ตัวอย่าง)
โครงการพัฒนาการดูแลผู้สูงอายุระยะยาว(ตัวอย่าง)Chuchai Sornchumni
 
โรคระบบทางเดินหายใจ
โรคระบบทางเดินหายใจโรคระบบทางเดินหายใจ
โรคระบบทางเดินหายใจWan Ngamwongwan
 
2562 final-project 22
2562 final-project 222562 final-project 22
2562 final-project 22Napisa22
 
โรคทางพันธุกรรม
โรคทางพันธุกรรมโรคทางพันธุกรรม
โรคทางพันธุกรรมRoongroeng
 

Similar to เรื่องของโรคทางระบบ ที่สัมพันธ์กับสุขภาพช่องปาก (20)

Sex education
Sex education Sex education
Sex education
 
โรคจากการสูบบุหรี
โรคจากการสูบบุหรีโรคจากการสูบบุหรี
โรคจากการสูบบุหรี
 
สุขศึกษา ม. 5 หน่วยที่ 7.pptx
สุขศึกษา ม. 5 หน่วยที่ 7.pptxสุขศึกษา ม. 5 หน่วยที่ 7.pptx
สุขศึกษา ม. 5 หน่วยที่ 7.pptx
 
เรื่องน่ารู้เกี่ยวกับการปฐมพยาบาลเบื้องต้น
เรื่องน่ารู้เกี่ยวกับการปฐมพยาบาลเบื้องต้นเรื่องน่ารู้เกี่ยวกับการปฐมพยาบาลเบื้องต้น
เรื่องน่ารู้เกี่ยวกับการปฐมพยาบาลเบื้องต้น
 
เรื่องน่ารู้เกี่ยวกับการปฐมพยาบาลเบื้องต้น
เรื่องน่ารู้เกี่ยวกับการปฐมพยาบาลเบื้องต้นเรื่องน่ารู้เกี่ยวกับการปฐมพยาบาลเบื้องต้น
เรื่องน่ารู้เกี่ยวกับการปฐมพยาบาลเบื้องต้น
 
การป้องกันโรคเอดส์ (Hiv)
การป้องกันโรคเอดส์ (Hiv)การป้องกันโรคเอดส์ (Hiv)
การป้องกันโรคเอดส์ (Hiv)
 
Finalpresentationl20 23
Finalpresentationl20 23Finalpresentationl20 23
Finalpresentationl20 23
 
9789740335368
97897403353689789740335368
9789740335368
 
โรคเอดส์
โรคเอดส์โรคเอดส์
โรคเอดส์
 
โรคเอดส์
โรคเอดส์โรคเอดส์
โรคเอดส์
 
การป้องกันโรคเอดส์ (Hiv)
การป้องกันโรคเอดส์ (Hiv)การป้องกันโรคเอดส์ (Hiv)
การป้องกันโรคเอดส์ (Hiv)
 
เรื่องน่ารู้เกี่ยวกับการปฐมพยาบาลเบื้องต้น123
เรื่องน่ารู้เกี่ยวกับการปฐมพยาบาลเบื้องต้น123เรื่องน่ารู้เกี่ยวกับการปฐมพยาบาลเบื้องต้น123
เรื่องน่ารู้เกี่ยวกับการปฐมพยาบาลเบื้องต้น123
 
อาหารกับสารเคมีที่ก่อให้เกิดมะเร็ง.pdf
อาหารกับสารเคมีที่ก่อให้เกิดมะเร็ง.pdfอาหารกับสารเคมีที่ก่อให้เกิดมะเร็ง.pdf
อาหารกับสารเคมีที่ก่อให้เกิดมะเร็ง.pdf
 
ชีววิทยา(ม.4 4) เรื่อง โรคหลอดลมอักเสบ (1)
ชีววิทยา(ม.4 4) เรื่อง โรคหลอดลมอักเสบ (1)ชีววิทยา(ม.4 4) เรื่อง โรคหลอดลมอักเสบ (1)
ชีววิทยา(ม.4 4) เรื่อง โรคหลอดลมอักเสบ (1)
 
Presentation
PresentationPresentation
Presentation
 
โครงการพัฒนาการดูแลผู้สูงอายุระยะยาว(ตัวอย่าง)
โครงการพัฒนาการดูแลผู้สูงอายุระยะยาว(ตัวอย่าง)โครงการพัฒนาการดูแลผู้สูงอายุระยะยาว(ตัวอย่าง)
โครงการพัฒนาการดูแลผู้สูงอายุระยะยาว(ตัวอย่าง)
 
โรคระบบทางเดินหายใจ
โรคระบบทางเดินหายใจโรคระบบทางเดินหายใจ
โรคระบบทางเดินหายใจ
 
การรักษามะเร็งตับ
การรักษามะเร็งตับการรักษามะเร็งตับ
การรักษามะเร็งตับ
 
2562 final-project 22
2562 final-project 222562 final-project 22
2562 final-project 22
 
โรคทางพันธุกรรม
โรคทางพันธุกรรมโรคทางพันธุกรรม
โรคทางพันธุกรรม
 

เรื่องของโรคทางระบบ ที่สัมพันธ์กับสุขภาพช่องปาก

  • 1. เรื่องของโรคทางระบบ ที่สัมพันธ์กับสุขภาพช่องปาก ... สังคมไทยก็จะเข้าสู่สังคมผู้สูงวัย (ดูจากสัดส่วนผู้สูงอายุมากกว่า 10%) แสดงว่า จะมีผู้สูงอายุ มากขึ้นๆ และเป็นสังคมที่ ... เราจะต้องหันมาดูแลผู้สูงอายุ เรื่องอายุขัยเฉลี่ย ก็คือ ถ้าเราเป็นชาย และมีโอกาสอายุยืน โดยผ่านไม่เป็นเบาหวาน ความดัน ไม่ Heart attack ตายไปก่อน ก็จะบวกไปอีก 19 ปี ชายจะอยู่ที่ 79 ปี ผู้หญิงก็จะแถมไปอีก 2 ปี ประมาณ 81.5 ใน paper ของการ review บางครั้งก็เริ่มต้นจากคำาถามที่ว่า บางคนเขามีการแยกฟัน แยกปาก ออกจากร่างกาย ซึ่งมันก็เป็นมานาน จนบางครั้งเราก็ลืม หมอฟันก็ลืม บางครั้งคนไข้ก็ลืมว่ามัน สำาคัญ ... ต้องขอเริ่มที่ เราต้องให้ความสำาคัญว่า ปากก็เป็นส่วนหนึ่งของสุขภาพ ร่างกายของผู้สูงอายุก่อน และให้ทันตแพทย์เรา และบุคลากรด้านสาธารณสุข ทั้งหมด เข้าใจตรงนี้ด้วย โรคเบาหวาน ... ถ้าคนไข้เป็นเบาหวาน เราก็จะระมัดระวังในการที่จะให้การรักษาทางด้าน ทันตกรรม ภาวะเหงือกอักเสบ เป็นหนึ่งในปัจจัยเสี่ยงของโรคเบาหวาน เราเคยเรียนมาว่า เบาหวานจะ ทำาให้เป็นโรค Perio ตอนนี้ ปัจจุบันนี้ลูกศรก็จะไป 2 ด้าน ... เพราะฉะนั้น ถ้า เหงือกอักเสบ เป็น หนึ่งในปัจจัยเสี่ยง ถ้าเราดูแลไม่ให้เขามีเหงือกอักเสบ เราก็จะทำาให้เขาลดความเสี่ยงในเรื่อง ของโรคเบาหวาน เราจะสำาคัญมากขึ้น ... นี่คือจุดขาย ว่า ทำาไมหมอฟันต้องเข้ามายุ่ง ก็เพราะ ว่าเรามีส่วนของการที่จะลดเรื่องของเบาหวานที่เกิดขึ้นตั้งเยอะ อีกส่วนหนึ่งที่ต้องสนใจเรื่องเบาหวาน ก็คือ เรื่อง Oral complication ที่พบ คือ เรื่องปากแห้ง การติดเชื้อได้ง่าย การสะสม plaque มากขึ้น และเสี่ยงต่อการเกิดฟันผุ ตัวอย่างบาง case ... คนนี้เป็นคนไข้ระยะเริ่มแรก อายุ 55 ปี เป็นเบาหวานก็จะมีเหงือกอักเสบ รุนแรงได้ ในกรณีที่มี plaque เกาะ เพราะว่า อาจจะเกิดความรุนแรงในแต่ละซี่ ซึ่งอันนี้ก็คือ สิ่ง ที่เราจะพบได้ในคนไข้ และ Alveolar bone จะสูญเสียได้มาก และเร็ว
  • 2. ถึงแม้ว่าบางคนจะได้รับการรักษาแล้วก็ตามก็ยังมีโอกาสเสี่ยงอยู่ ซึ่งโรคปริทันต์ ก็จะส่งผลทั้ง 2 ทาง คือ กระบวนการทั้งหมดจะก่อให้เกิดการอักเสบ เมื่อเกิดการอักเสบ ก็จะเข้าไปสู่ในระบบ เลือด จุดต่างๆ ของร่างกาย และในส่วนของช่องปาก ทำาให้เหงือกอักเสบ สูญเสียกระดูก จากประสบการณ์ของตัวเอง เวลาที่เราพูดกับประชาชน หรือคนไข้ ก็อาจทำาให้เกิดความตื่น ตระหนกได้เช่นกัน ... ถ้าเราพูดถึงสิ่งที่เขากลัว อาจพูดว่า มีโอกาส ... ก็ไม่ใช่แปลว่า ทุกคน เพราะฉะนั้น เราก็ต้องดูว่า เวลาที่เราคุยกับใคร เราจะให้ข้อมูลเขาอย่างไร เรามีเวลาให้เขา เยอะไหม และคนที่ฟังเข้าใจมากน้อยแค่ไหน ทำาไมจึงเป็นโรคเบาหวานกันเยอะ ... ทุกคนคงจะรู้ว่า การเปลี่ยนแปลงของเรื่องอาหาร เป็นส่วนหนึ่ง เพราะว่าวิถีตะวันตกที่เข้ามา คงเป็นส่วนหนึ่งที่ทำาให้ผู้สูงอายุเข้าสู่การเป็นเบาหวานมากขึ้น สิ่งดีดีที่เรากินในอดีต มันไม่ เหมือนเดิมแล้ว การบริโภคผัก ผลไม้ลดลง ทำาให้เราได้รับพวกแป้ง นำ้าตาลเพิ่มขึ้น เด็กรุ่นใหม่ ไม่รู้จักอาหารพื้นเมือง และไม่แน่ใจว่า อีกหน่อยมันจะยังอยู่หรือเปล่า ในเรื่องของอาหารพื้น บ้าน วิถีชีวิตผู้สูงอายุที่เปลี่ยนไป ทำาให้ผู้สูงอายุเกิดภาวะพึ่งพา • ภาวะไม่อยากกินข้าว ก็คือ ต้องกินอาหารคนเดียว และก็ไม่มีรายได้พอที่จะซื้ออาหารที่ ตัวเองอยากกินเหมือนในอดีต ลูกทำาอะไรให้ก็ต้องกินอย่างนั้น • ความที่อายุยืนขึ้น และไม่แข็งแรง • ปัญหาสังคมเศรษฐกิจ ความเครียด อาจเพราะว่า ภาวะเศรษฐกิจ ลูกทิ้ง ตอนนี้ ทั้ง Trend ทั้งโรค เขาก็สนใจในเรื่องของความสัมพันธ์ ทั้งเรื่องของเบาหวานจะส่งผลต่อ อะไรบ้าง ทั้งโรคหัวใจ โรคทางระบบหลอดเลือด และ Oral Health
  • 3. โรคความดันโลหิตสูง ... จะเป็นโรคทางสุขภาพที่พบมาก ในผู้สูงอายุทั่วโลก และเราเอง ในคนไทยร้อยละ 50 จะมีภาวะความดันโลหิตสูง และจะเพิ่มขึ้นตามอายุ ที่น่าตกใจ คือ 58% ไม่รู้ตัวมาก่อนว่า ตัวเองเป็น ... ดังนั้น การประเมินของเราก็จะช่วยว่า ถ้าเราสามารถใช้ความรู้ ของเราไปช่วยในการประเมินความเสี่ยง จากข้อมูลที่ง่ายๆ ก็จะช่วยให้คนร้อยละ 60 ได้ดูแลตัว เองดีขึ้น • โรคความดันโลหิตสูงส่วนใหญ่มีความสัมพันธ์กับอายุที่เพิ่มขึ้น วิถีชีวิตที่เปลี่ยนแปลง ความเฉื่อยชา ความอ้วน ไม่ออกกำาลังกาย สูบบุหรี่ ความเครียด บางคนก็จะมีหลายๆ อย่างในนี้ • ที่น่าเป็นห่วงอันหนึ่ง คือ การแสดงออกไม่มี เราก็บอกว่า เราไม่ได้เป็น ยกเว้นมีอาการ เริ่มเตือน ที่เห็นชัดก็คือ เริ่มมีอาการปวดศีรษะ • ความดันโลหิตสูงก็จะสัมพันธ์กับ Xerostomia จากยา มีหลายตัวที่ส่งผลถึงเรื่องของ อาการปากแห้ง ก็มีแผ่นคราบจุลินทรีย์เกาะติดง่าย ฟันผุ เคี้ยวกลืนอาหารลำาบาก ติดเชื้อ ราได้ง่าย ปวดแสบปวดร้อน นอกจากนั้นก็จะมีอีกหลายโรค ที่เจอ เช่น ปอดอักเสบ ... เพราะว่าแบคทีเรียที่ก่อให้เกิดโรค เหงือก ก็จะมีโอกาสก่อให้เกิดการอักเสบของปอดได้ ขึ้นอยู่กับว่า เราจะไปศึกษาคนไข้ที่เกิด ปอดอักเสบ แล้วมาวัดความเสี่ยง หรือความรุนแรงของโรคปริทันต์ในช่องปาก ก็พบความ สัมพันธ์ และมี paper ที่ศึกษาเรื่องนี้ อีกอันหนึ่งที่เข้าใจง่าย คือ เรื่อง ภาวะโภชนาการ เขาเข้าใจ เพราะว่าไม่มีฟัน เคี้ยวอาหารไม่ ได้ ก็จะเป็นเรื่องตรงไปตรงมา ... แต่ว่าเรื่องของเราที่ไปสัมพันธ์กับเรื่องของโภชนาการ คือ ถ้า เขากินอาหารไม่ได้ ก็จะส่งผลต่อการรับสารอาหาร ทั้งช่วงปกติ คือ ทั่วไป แต่ยามที่เขาเจ็บป่วย โอกาสที่เขาจะฟื้นตัว ก็จะช้า ... หมอจะบอกเอง ว่า หมอรักษาแทบตาย ไม่ได้ต้องมีหมอฟันมา ช่วยด้วย ดังนั้น ถ้าเรื่องของการไม่มีฟัน และมีการเปลี่ยนแปลง ทั้งชนิดของอาหารที่มีปริมาณไม่พอ ไป กินของที่ไม่มีประโยชน์ เช่น ไปกินแป้งเยอะขึ้น กินไฟเบอร์ไม่ได้ ก็จะเสี่ยงต่อการเป็นโรคเรื้อรัง มากขึ้นด้วย และทฤษฎีที่ว่ามีการเกิดการอักเสบเรื้อรังในร่างกาย ก็จะเป็นเรื่องของหลายๆ ส่วนของ ร่างกาย ที่มีการอักเสบเกิดขึ้น ก็จะส่งผลไปที่โรคเบาหวาน โรคหัวใจ Oral Health ... เพราะว่า ถ้ามีปัญหาทางช่องปาก ก็จะส่งผลถึงจุดต่างๆ ของร่างกาย
  • 4. เรื่องของโรคปริทันต์ แบ่งง่ายที่สุด เป็น 2 โรค คือ เหงือกอักเสบ และปริทันต์อักเสบ ... โรคปริ ทันต์ เป็นโรคติดเชื้อ เหมือนโรคฟันผุ แต่เป็นเชื้อคนละตัว และลักษณะการดำาเนินโรคจะต่างกัน เพราะว่าโรคปริทันต์จะเกิดจากเนื้อเยื่ออ่อน คือ เหงือก โรคเหงือกอักเสบ • จะมีการอักเสบ และมีการทำาลายอยู่เฉพาะในเนื้อเยื่อเหงือก ไม่ลุกลามไปถึงอวัยวะปริ ทันต์อื่นๆ • จะรักษาหายได้ และกลับมามีสภาพเหมือนเดิม และมีสุขภาพที่ดีได้
  • 5. โรคเหงือกอักเสบ โรคปริทันต์อักเสบ • เชื้อก่อโรคก็จะเปลี่ยนไป จะเป็นเชื้อที่เป็น anaerobe และมีการทำาลายของอวัยวะปริ ทันต์ลึกลงไป • มีการสูญเสียการยึดเกาะของอวัยวะปริทันต์ มีการทำาลายถึงกระดูกเบ้าฟัน มีร่องลึกปริ ทันต์
  • 6. โรคปริทันต์อักเสบ คนที่เป็นโรคเหงือกอักเสบทุกคน ไม่จำาเป็นจะต้องลุกลามมาถึงปริทันต์อักเสบ แต่ คนที่เป็นโรคปริทันต์อักเสบ อาการของโรคจะเริ่มจากเหงือกอักเสบก่อน เพราะ ฉะนั้น ถ้าเราจะป้องกันโรคปริทันต์อักเสบ เราก็ต้องตรวจวัดได้ตั้งแต่เป็นโรค เหงือกอักเสบ การประเมินความเสี่ยงในผู้สูงอายุ ขั้นตอนการตรวจจะมี Subjective report • การสอบถามข้อมูลส่วนตัว ประวัติการเจ็บป่วย สภาพสังคม เศรษฐกิจ • สภาพที่รักษาโรคปริทันต์มาแล้ว และโรคทางระบบต่างๆ • เราจะต้องดูหมดว่า คนไข้ได้รับยาอะไรไหม มีโรคอะไรไหมที่ทั้งสภาพของโรค และยาที่ ได้รับ จะมาเกี่ยวข้องกับอวัยวะในช่องปาก • โรคที่เห็นชัดๆ คือ เบาหวาน เพราะว่า สภาพโรคเบาหวานจะมามีผลของสุขภาพช่อง ปากได้ เพราะว่า ระดับนำ้าตาลในเลือด ถ้าสูงขึ้น ระดับนำ้าตาลใน Gingival fluid ก็จะสูง ขึ้นด้วย ซึ่งจะเป็นผลทำาให้การเจริญเติบโตของเชื้อในร่องลึกปริทันต์ ในร่องเหงือกมาก ขึ้น โรคก็จะลุกลามได้ง่ายขึ้น • การใช้ยารักษาโรคทางระบบหลายๆ โรค ก็จะเป็นเหตุให้มีความผิดปกติในช่องปากได้ อีก
  • 7. Objective report คือ การตรวจข้อมูลในช่องปาก สภาพเนื้อเยื่อ Assessment เป็นการรวบรวมการตรวจ ทั้ง Subjective และ Objective มารวม เพื่อที่จะ พิจารณาโรค การวินิจฉัยโรคอาจมีการวินิจฉัยได้หลายโรค แต่ข้อมูลทั้งหมดที่จะรวบรวมได้ เราควรจะมีการตรวจเพิ่มเติมหรือไม่ก็แล้วแต่ แต่สามารถสรุปมาได้ว่า โรคที่เป็นจริงๆ นั้น เป็น อะไร และในส่วนของผู้สูงอายุเอง การสรุปโรคตรงนี้ คือ รวมไว้ด้วยว่า โรคนี้เกิดด้วย โรค เหงือก หรือฟันของเขาเอง หรือมีอิทธิพลของโรคทางระบบ การใช้ยาเพื่อรักษาโรคทางระบบ เข้ามาร่วม Plan คือ การวางแผนการรักษา ... ต้องระวังเรื่องการวางแผนการรักษาในผู้สูงอายุ สิ่งที่ อยากให้ระลึกอยู่ตลอด คือ ก่อนจะวางแผนต้องดูองค์รวมของคนไข้คนนั้นก่อน อย่าดูแต่เฉพาะในช่องปาก และอย่าคิดว่า ตัวทันตแพทย์ หรือผู้รักษาทำาอะไรได้ ให้ดูองค์รวมของคนไข้คนนั้น ทั้งสภาพร่างกาย จิตใจ เศรษฐานะ สภาพช่องปาก รวมถึงความต้องการของคนไข้ด้วย ประมวลว่า คนไข้ควรจะได้รับการรักษาใน ลักษณะไหน อย่าคิดว่า เราทำาได้ แล้วเราก็จะทำาให้คนไข้ได้สำาเร็จ ให้เอาคนไข้ เป็นที่ตั้ง ในเรื่องของ ความเสี่ยงของโรคปริทันต์ เราจะได้มาจากการตรวจ ... การตรวจที่เป็นการตรวจ สภาพปริทันต์ คือ การใช้ Probe ลักษณะการตรวจในผู้สูงอายุ จะเป็น Periodontal screening and report ซึ่งได้รับการยินยอม มาจากสมาคม Dental Hygienist และสมาคมปริทันต์ ของอเมริกา คะแนน หรือ Code ที่อ้างอิง เหมือน CPI และ Probe ที่ใช้จะเป็น probe ที้เป็น CPI หรือ WHO Probe มีลูกบอลกลมๆ ซึ่งมี รัศมี มม. การตรวจเพื่อจะได้ Code มา มี แบบ ตรวจ จุดในฟัน ซี่ หรือว่าเดินเครื่องมือ (คือ การ สอดเข้า และดึงขึ้นนิดหนึ่ง และสอดเข้าไปใหม่) ไปรอบๆ ตัวฟัน
  • 8. หน้าตาของ Probe การตรวจนี้จะเป็นการตรวจบันทึกคะแนนที่สูงที่สุดที่ตรวจได้ใน sextant นั้นๆ ... เป็นการตรวจ ทุกซี่ แต่เลขบันทึกจะเป็นเลขตัวเดียว ที่สูงที่สุด เรื่อง เกี่ยวกับ Code และความเสี่ยง Code 0 ... จะบอกเราว่า • คนไข้ดูแลตัวเองได้ เหงือกไม่มีการอักเสบ ไม่มีการเป็นโรค และบอกด้วยว่า ไม่มีหิน นำ้าลาย ไม่มีขอบวัสดุอุดที่ไม่ดี หรือ ไม่ต้องการการรักษา • แต่ว่าในส่วนลึกๆ ของความไม่ต้องการการรักษานี้ สิ่งที่ไม่ว่าจะเป็นทันตแพทย์ หรือทัน ตาภิบาลจะให้ได้ ก็คือ การยำ้าในเรื่องของการดูแลสุขภาพช่องปากของตนเอง วิธีการ แปรงฟัน การทำาความสะอาดซอกฟัน • ในผู้ใหญ่ที่เราสอนวิธีการแปรงฟัน การทำาความสะอาดซอกฟัน ให้ดูความสามารถของ คนไข้ด้วยว่า ทำาได้แค่ไหน เช่น ต้องหาแปรงที่เหมาะสมกับความสามารถในการใช้มือ ของคนได้ Floss บางคนอาจใช้ไม่ได้เลย • เพราะฉะนั้น เครื่องมือที่แนะนำา ควรจะเป็นน้อยชิ้นที่สุด
  • 9. • ในคนไข้ที่เราตรวจได้ Code 0 เราบอกแล้วว่า เป็นผู้ที่ไม่ต้องการการรักษา แต่ต้องการ คำาแนะนำา ย้ำ้าเตือนนิดหนึ่งว่า สิ่งที่คุณทำา ทำาดีแล้วนะ ทำาต่อไปอย้่าพลาดนะ Code 1 จะคล้าย้ Code 0 ... คือ • ย้ังสามารถมองเห็นแถบดำา ไม่มีหินนำ้าลาย้ ไม่มีขอบวัสดุอุดที่ไม่ดี สภาพเหงือกแข็งแรง แต่ว่า มีเลือดออกเมื่อหย้ั่ง Probe ลงไป แสดงว่า เริ่มมีการอักเสบในลักษณะเป็น Subclinical • หมาย้ความว่า เราย้ังไม่เห็นว่าเหงือกแดง บวม จนจับได้ชัดว่า อักเสบ แต่การที่มีเลือด ออกเมื่อหย้ั่งนี่แสดงว่า เริ่มแล้ว คือ มี Plaque แน่นอน • เพราะฉะนั้น เราต้องย้ำ้าเรื่อง OHI อีกที คือ เรื่อง การดูแลสุขภาพช่องปาก • แล้วควรจะได้รับการ remove plaque ออก บางตำาแหน่งอาจจำาเป็นต้อง scaling บาง ตำาแหน่งอาจขัดเฉย้ๆ • หรือว่า ดูแล้วตัดสินใจได้ว่า สภาพที่เป็นอยู้่ แค่แปรงก็หาย้ แปรงก็ออกหมด ก็ขึ้นอยู้่กับ ดุลพินิจของหมอว่า จะต้องให้การรักษาหรือไม่ Code 2 ... • แถบดำามองเห็น มีหินนำ้าลาย้เหนือเหงือก ใต้เหงือก มีขอบวัสดุอุดที่ไม่ดี • ไม่ได้พูดถึงเรื่องเลือดออก หรือไม่ออก ก็คือ ต้องรักษา ต้องมีสิ่งที่ต้องแก้ไข อย้่างน้อย้ ขอบวัสดุอุดที่ไม่ดี ก็ต้องอุดใหม่ หรือขัด มีหินนำ้าลาย้ก็ต้องขูดออก • การรักษาคือ การขูดหินนำ้าลาย้ ขัดฟัน และแก้ไขในส่วนที่บกพร่อง ไม่ดี ที่เป็นสาเหตุ ทำาให้เกิดโรค ตั้งแต่ Code 0-2 ย้ังอยู้่ในสถานะโรคเหงือกอักเสบ เพราะว่า Sulcus ย้ังไม่มากกว่า 3.5 นี่ เป็นการตรวจในลักษณะ Survey ถ้า Code ตั้งแต่ 3 ขึ้นไป เริ่มเห็นแถบดำาบางส่วน บางส่วนเข้าไปอยู้่ใน sulcus แล้ว ลึก 3.5-5.5 ตอนนี้จะเป็นโรคปริทันต์อักเสบที่จะต้องรักษาโดย้ทันตแพทย้์เฉพาะทาง หรือ ทันตแพทย้์ที่ได้ฝึกหัดมาเฉพาะในเรื่องของเกลารากฟัน เพราะว่าเป็นโรคที่ลุกลามเข้าไปถึง รากฟันแล้ว Code 4 คือ มองไม่เห็นเงาดำาแล้ว จะมีร่องลึกปริทันต์เกิน 5.5 มม. การรักษาอาจต้องมีการ ตกแต่งเหงือก การผ่าตัด การควบคุมสภาพการอักเสบมากกว่า ขูดหินปูนธรรมดา อาจจะต้องมี การใช้ย้าร่วมด้วย้ในการรักษา ต้องส่งต่อทันตแพทย้์ผู้ชำานาญเฉพาะทาง ใน Code นี้จะมีพิเศษ
  • 10. คือ อาการที่ผิดปกติ เพราะว่าจะมีร่องลึกปริทันต์ที่ involve ไปถึงรอย้แย้กรากฟัน มีการโย้กของ ตัวฟัน มีความผิดปกติของเนื้อเย้ื่อเหงือก จะมีเหงือกร่น ลักษณะของ Furcation involve = รอย้โรค ลึกเข้าไปรอย้แย้กของรากฟัน อาการนี้ที่เกิดกับฟัน ล่างจะรักษาได้ง่าย้กว่า ที่เกิดในฟันบน และรอย้โรคที่ involve เข้าไปในฟันมีหลาย้ระดับ ตั้งแต่ สอด probe เข้าไปได้ หรือสอดทะลุอีกด้าน ซึ่งเป็นความรุนแรงของรอย้โรค ที่จะต้อง Code ไว้ ด้วย้เครื่องหมาย้ * ... Mobility คือ การโย้กมีหลาย้ระดับ แต่ในกรณีนี้ ถ้ามีการโย้กก็ให้ใส่เครื่องหมาย้ * แล้ว เรื่องความผิดปกติของขอบเหงือก หรือ Oral mucosa ได้แก่ เหงือกร่น ที่อยู้่ใน code ที่ระบุว่า เหงือกร่นมากกว่าเท่าไร ก็ใช้ Probe วัด ... วิธีหาว่ามีเหงือกร่นเท่าไร ก็คือ การใช้ Probe หรือ Explore ย้้อนให้ Oral mucosa เคลื่อนขึ้นมา ดูว่ามีตัวเหงือกถึงขอบเหงือกหรือเปล่า ถ้าถึงขอบ เหงือก แสดงว่า Attach gingiva ตรงนี้ไม่มีเลย้ อาจจะต้องรักษาโดย้วิธีผ่าตัดหรืออื่นๆ และเมื่อ เราตามคนไข้ไป คนไข้สามารถดูแลได้ระย้ะหนึ่ง ซึ่งไม่มีการร่นมากขึ้น ก็อาจคงไว้อย้่างนี้ได้ โดย้ไม่จำาเป็นต้องรักษา การตรวจอีกวิธีหนึ่ง คือ การย้้อมสี สีที่ติดตรง Gingiva กับ Oral mocosa จะมีสีที่แตกต่างกัน เกร็ดเล็กๆ อาจารย้์จุฬาลักษณ์ย้ำ้าให้พวกเราได้ทราบกันด้วย้นะคะว่า • อายุ้ไม่ได้เป็นปัจจัย้ของโรคปริทันต์เลย้ แต่ด้วย้ความมากของอายุ้ จะเป็นระย้ะเวลาของ การสะสมคราบจุลินทรีย้์ สะสมสภาพโรคมากพอที่จะทำาให้โรคลุกลาม และก่อเหตุขึ้นมา • อายุ้ไม่ใช่เป็นตัวเลขที่เป็นข้อห้ามสำาหรับการรักษาทางปริทันต์ ถ้าคนไข้ควบคุมโรคทาง ระบบได้ ดูแลสุขภาพช่องปากได้เอง หรือแม้แต่คนที่เป็นคนดูแลเขาทำาให้ได้ เราก็ย้ัง สามารถรักษาให้เขาได้ • ในเรื่องของ Code เรามี Code 0 ถึง 4 และมีดอกจันทน์ เวลาจะลง Code มี 6 ช่อง แต่ละช่องจะวัดซี่ฟัน แต่ว่าในแต่ละช่องจะใส่ตัวเลขเพีย้งที่สูงที่สุด ที่จะวัดได้ และถ้า บริเวณไหนที่มีเหตุการณ์ที่เราจะต้องดอกจันทน์ ก็ต้องดอกจันทน์ที่ตัวเลขนั้นๆ ด้วย้
  • 11. • เมื่อเราได้ Code ออกมาตัวไหน จะมี guide ว่า เราจะให้การรักษาอย้่างไร วิธีการรักษา ควรเลือกช่องที่มี Code สูงที่สุด และทำาการรักษาตาม Guide ของ Code นั้นๆ จะได้รับ การรักษาที่ครบถ้วน • ในการที่เราจะตัดสินใจว่าคนไข้ที่อยู้่ในมือเราต้องไปทำาการรักษาอย้่างไร ใน Code แรกๆ 0, 1, 2 มักไม่ค่อย้มีปัญหา แต่ถ้าเป็น Code 3, 4 และดอกจันทน์ บางครั้งการ ตัดสินใจจะอยู้่ตรงเส้น ว่า เราจะส่งต่อ หรือถอนออกเองได้เลย้ เราต้องใช้เรื่องโรคทาง ระบบ สภาพเสี่ย้งต่างๆ ของคนไข้ ทั้งร่างกาย้ มาช่วย้พิจารณาว่าจะส่งต่อหรือไม่ • พอเราจะส่งต่อ กรณีการรักษาอาจต้องทำาศัลย้กรรมปริทันต์ ต้องดูว่า คนไข้ต้องพร้อม เมื่อเราเป็นคนดูคนไข้เป็นคนแรก เราอยู้่กับคนไข้แล้วพักหนึ่ง รู้ข้อมูลของคนไข้แล้ว เราสามารถใช้ตรงนี้ ช่วย้ตัดสินใจได้ว่า เราจะรักษาคนไข้ด้วย้การถอนฟันออกเลย้ หรือ ว่าจะส่งต่อ • ผู้ป่วย้จะต้องเข้าใจว่า การรักษาถึงขั้นผ่าตัดจะต้องทำาอย้่างไร จะต้องทำาถึงขั้นฉีดย้าชา ต้องทำานาน 1 ถึง 1 ชม.ครึ่ง ต้องอ้าปากอยู้่นาน ต้องมีคนพาไป ต้องมีคนอยู้่ด้วย้ ต้องมี คนรับกลับ จะมีแผลในช่องปากประมาณ 7 วัน ถึงจะได้ตัดไหน แผลจะอยู้่ประมาณ 2 อาทิตย้์ ถึงจะมีสภาพปกติ • คนไข้ย้ินดีร่วมมือหรือเปล่า คนไข้จะย้ินดีทำาถึงตรงนั้นไหม คนไข้อาจต้องการถอนฟัน ไปเลย้ • ทันตแพทย้์ที่เราส่งไป ต้องติดต่อกับคนไข้ได้ ต้องมีการร่วมมือกัน • ต้องแน่ใจว่า ผู้สูงอายุ้ดูแลสุขภาพช่องปากได้จริง เพราะว่า การผ่าตัดให้กับคนไข้ ต้อง ดูด้วย้ว่า เขาดูแลตัวเองได้หรือไม่ ถ้าผู้สูงอายุ้ดูแลตัวเองไม่ได้ มีคนที่ดูแลเขาได้หรือไม่ ถึงจะทำาการรักษาให้ได้ • กรณีมีโรคทางระบบ ทันตแพทย้์เองต้องติดต่อกับหมอที่ทำาการรักษาเรื่องโรคทางระบบ ได้ด้วย้ เพราะว่าอย้่างน้อย้ต้องมีการติดต่อกันก่อนว่า สามารถทำาได้หรือไม่ เพราะว่า บางคนที่ได้รับย้าละลาย้ลิ่มเลือด เราให้หยุ้ดย้าก่อน 7 วัน สภาพของคนไข้ก็อาจหยุ้ดไม่ ได้เลย้ ต้องให้หมอเป็นคนสั่งให้หยุ้ดให้ • การคำานวณย้าให้คนไข้ ต้องคำานึงถึงด้วย้ เพราะว่าในผู้สูงอายุ้จะมีผลทั้งเรื่องของการ ได้รับย้า การขับย้า ทางไต ทางตับ จะผิดกับคนที่อ่อนวัย้กว่า ในลักษณะที่เสื่อมลง ก็ ต้องนึกเสมอว่า ย้าตัวนี้จะขับออกทางไหน ช้า หรือเร็ว ถ้าเราไม่ทราบระบบนี้ คนไข้อาจ มีการ Hang ย้า และเป็นอันตราย้ได้ ตัวแปรตัวต่อไปที่เขาใช้ทำานาย้ฟันผุ คือ เชื้อโรค ที่เรารู้จักกัน มี 2 ตัว คือ Mutan Streptococci และ Lactobacilli แรกเริ่มเราจะรู้จัก Lactobacilli ก่อน เพราะว่าในที่ที่มี
  • 12. ฟันผุ เราจะเจอ Lactobacilli เย้อะ และเมื่อไรมีการกินนำ้าตาลที่มี ferment ได้ ก็จะเจอ Lactobacilli เย้อะ ก็เลย้มีคนสนใจว่า ฟันผุ กับ Lactobacilli มันเกี่ย้วข้องกัน ถัดมาอีก 20 ปี ก็มี คนเจอ Strep Mutan ซึ่งปัจจุบันนี้ เราพบว่า มันไม่ใช่ Strep Mutan มันมีหลาย้ๆ ตัว เราเลย้ เรีย้กใหม่ว่า Mutan Strptococci เพราะว่ามีหลาย้ตัว แต่ว่าพฤติกรรมเหมือนกัน ในที่ที่ไม่เจอ Lactobacilli เราพบว่า Mutan Strptococci ก็สามารถผลิตกรด สามารถสร้าง plaque สามารถ ทำาให้เกิดฟันผุได้เช่นเดีย้วกันกับ Lactobacilli ... Strep Mutan ก็มีความสำาคัญมากขึ้นเรื่อย้ๆ เพราะว่า Strep Mutan เป็นพวก Aerobic ก็คือ อยู้่ในอากาศที่มี Oxygen ได้ ส่วน Lactobacilli จะอยู้่ลึกๆ เพราะฉะนั้น 2 ตัวนี้จึงเป็น marker สำาคัญของการเกิดฟันผุ เมื่อไม่นานมานี้ มีผู้เจอข้อมูลหลาย้เรื่อง ที่เริ่มขัดแย้้งกับทฤษฎีเก่า จน set up เป็นทฤษฎีใหม่ว่า Ecological plaque นั่นก็คือ ใน plaque อยู้่กันเป็นสมาคม มีผู้ที่สนใจเอากราฟมาให้ดู พบว่า เส้นสีดำา คือ plaque ที่มี Strep Mutan เส้นประคือ ไม่มี Strep Mutan คือ เมื่อโดนนำ้าตาล ไม่ ว่า plaque นั้นจะมี Strep Mutan หรือไม่มี ก็มีพฤติกรรมแบบเดิม คือ สร้างกรด pH ลดลง และขาขึ้นก็ขึ้นช้าๆ เหมือนเดิม หมาย้ความว่า ย้ังมีตัวอื่นอีกที่เราไม่รู้ นั่นคือ เราจะ point ไปที่ Lactobacilli และ Strep Mutan อาจจะไม่เพีย้งพอใน การป้องกันฟันผุ ดังนั้น มีคนพย้าย้ามจะถามว่า แล้วเชื้อโรคไหนที่จะบอกว่า เรากำาลังอยู้่ใน process ที่กำาลังจะมี ฟันผุแล้ว มีคนทดลองเย้อะ มีคนหนึ่ง (1990) พบว่า Mutan Strptococci ถ้าเย้อะกว่าในปริมาณ หนึ่งนี่ ฟันผุจะเพิ่มขึ้น ถามว่า predict ได้เท่าไร Sensitivity 29% Specificity 88% Sensitivity แปลว่า คนที่มีฟันผุใหม่เกิดขึ้น 100 คน มีเชื้อโรคที่ว่าเย้อะๆ กี่คน ก็คือ 29 คน ถ้า test นี้ดี บอก ได้หมดทั้ง 100 คน แปลว่า คนที่เกิดฟันผุใหม่ 100 คน จะมีเชื้อโรคตัวนี้มากทั้ง 100 คน แต่ใน ที่นี้มีเชื้อโรคตัวนี้มาก 29 คน อีก 71 คน เชื้อโรคไม่มาก แต่ฟันผุใหม่เหมือนกัน หมาย้ความว่า ตัวนี้ predict ได้ไม่ค่อย้ work อย้่างไรก็ดี Specificity หมาย้ถึงคนที่ฟันไม่ผุ ทั้ง 100 คน มี
  • 13. Strep Mutan น้อยกี่คน ในที่มี 88 คน บอกว่า ถ้าไม่มี Strep mutan ฟันจะไม่ผุค่อนข้างเชื่อได้ แต่ถ้ามี Strep mutan ฟันผุอาจจะเชื่อไม่ค่อยได้ ทำานองนี้ เพราะฉะนั้น test ที่ดี ต้องสูงทั้ง Sensitivity และ Specificity ครับ Van Houte, 1993 เขาไปค้นมาว่า Specificity และ Sensitivity ของการเอาเชื้อโรคมา predict ฟันผุ มัมแม่นยำาเพียงใด ซึ่งออกมามันจะประมาณกัน เพราะปัจจุบันเราเริ่มพบแล้วว่า มันไม่ใช่ แค่ Strep mutan มันมีตัวอื่นอยู่อีก ที่ทำาให้ฟันผุได้ การใช้เชื้อโรคในการทำานายก็เลยอาจยัง ไม่ 100% เขาก็เลยบอกว่า การที่จะทำานาย Risk โดยใช้ Single microbial ใช้ปัจจัยเรื่องจุล ชีววิทยายังไม่แม่น แต่ว่าการทำานายเรื่อง Low caries risk ค่อนข้างดี เพราะว่าถ้าไม่มีเชื้อโรค ไม่เป็น แต่ถ้ามีเชื้อโรคไม่แน่ เรื่องต่อไปคือ นำ้าลาย เขาก็บอกว่า เป็นเรื่องที่เราให้ความสนใจกันมาในระยะหลัง เพิ่มขึ้น อย่างยิ่ง ปัจจัยในนำ้าลายที่ป้องกันฟันผุมีหลายตัว Flow rate, Buffer effect, Inorganic component, Antimicrobial factors, Aggregation and adherence แต่ว่าตัวที่สำาคัญ 2 ตัว คือ อัตราการหลั่งของนำ้าลาย และความสามารถในการสะเทินกรดด่าง อัตราการหลั่งของนำ้าลาย ... เรามีคำาสำาคัญที่ใกล้เคียงกันมาก คือ Xerostomia กับ Hyposalivation ... Xerostomia เป็น subjective report คือ เป็นความรู้สึก ของเจ้าตัวว่ามี อาการปากแห้ง ส่วน Hyposalivation เป็นปริมาณตัวนำ้าลายที่หลั่งมาน้อยจริงๆ ซึ่งอาจจะไป ด้วยกัน หรือไม่ไปด้วยกันก็ได้ แต่ก่อนเขาบอกว่า Hyposalivation เมื่อน้อยกว่า 0.1 มล. ต่อ นาที เรียกว่านำ้าลายน้อย แต่หลังจากนั้นมา เขาก็มีการดูกันว่า เท่าไรจึงจะเป็นโรค โรคที่เกิด จากนำ้าลายน้อยนี่ มีอะไรบ้าง มีฟันผุ มี Burning sensation แล้วเท่าไรกันแน่ที่จะเริ่มเป็น เมื่อ สักไม่กี่ปีมานี้ ก็บอกว่า ตัวเลขที่เหมาะสม คือ 0.16 มล.ต่อนาที คือ พอปริมาณนำ้าลายตำ่ากว่า 0.16 มล.ต่อนาที ก็เป็นอัตราเสี่ยงต่อการเกิดโรคต่างๆ ขึ้นมาแล้ว เพราะฉะนั้นก็ควรจะนิยามเสีย
  • 14. ใหม่ว่า นำ้าลายน้อย คือ ภาวะที่นำ้าลายไหลน้อยกว่า 0.16 มล.ต่อนาที แต่ยังเป็นเรื่องที่ถกเถียง กันอยู่ ส่วนภาวะปากแห้ง บอกเองว่ารู้สึกว่าปากแห้งนั้น เนื่องจาก Xerostomia เป็นการรายงาน ฉะนั้น จึงเกี่ยวข้องกับความเคยชินแต่ก่อน แต่ก่อนอาจจะมีนำ้าลายเยอะอยู่แล้ว แต่มันน้อยลง กว่าเดิม แต่ยังไม่ถึงขั้น 0.16 มล.ต่อนาที ตัวเองก็บอกว่าปากแห้ง หรือบอกว่า ปากแห้งตั้งนาน แล้ว ตอนนี้ก็ยังแห้งเท่าเดิม เพราะฉะนั้น Xerostomia ก็เป็นมาตั้งแต่เกิด Xerostomia จึงเชื่อ ไม่ได้มากนักว่า สัมพันธ์กับโรคอะไร Hyposalivation จะแน่นอนมากกว่า และถ้านำ้าลายน้อย กว่าเดิม จนถึงครึ่งหนึ่งของอัตราที่เคยเป็นอยู่นี่ เจ้าตัวจะ report ซึ่งพบว่า สิ่งที่สำาคัญ คือ เพศ ผู้ หญิงจะรายงานว่าตัวเองมีภาวะปากแห้งมากกว่าผู้ชาย ก็จะประกอบกับเรื่องฮอร์โมน และอะไร หลายอย่าง เรื่องนำ้าลายน้อยจริงๆ สัมพันธ์กับยาที่กิน เช่น ยาที่กินจากโรคเบาหวาน Sjogen's syndrome ที่ทำาให้นำ้าลายน้อย แล้วนำ้าลายน้อยมีปัญหาอะไร Stephan curve ที่เขาทำาลองว่า นำ้าลายระดับต่างๆ จะเกิดอะไร ขึ้นกับ Stephan curve ในภาวะการทดลองที่ไม่มีนำ้าลายอยู่เลย Stephan curve ลงแล้วจะไม่ ขึ้น เพราะฉะนั้น นำ้าลายจะเป็นตัวให้ Stephan curve มันกลับขึ้นมาได้ เพราะฉะนั้น ถ้าในปาก เราเป็นกรดอยู่ตลอดเวลา ฟันก็จะผุอย่างรวดเร็ว ซึ่งกลไกนั้นก็คือ กลไกการสะเทินกรดนั่นเอง คือ การที่มันมี Carbonate กระจายอยู่ในนำ้าลาย พอมีกรดอ่อนเข้ามาก็จะไปรวมกับกรดตัวที่ เป็น H ion กลายเป็นนำ้า และ Carbondioxide เพราะฉะนั้น กรดออกมาเท่าไรก็หายไปเท่านั้น ก็ ขึ้นอยู่กับว่า นำ้าลายเรามีตัวพวกนี้เยอะแค่ไหน ถ้ามีเยอะก็จะกลายเป็นก๊าซ แต่ถ้านำ้าลายเราไม่ เก่งมีด่างพวกนี้อยู่น้อย เมื่อหมด ก็จะเกิดกรด เพราะฉะนั้นจะเป็น balance 2 เรื่อง คือ ถ้าเรามี เชื้อโรค หรือมีอาหารที่ผลิตกรดไม่เยอะ นำ้าลายจะไม่ดีก็ไม่เป็นไร หรือถ้าเกิดนำ้าลายเราดี เราก็ มีต้นทุนเยอะ หน่อย ก็ไปสู้กันได้ ก็เป็น 2 เรื่องที่ไปสัมพันธ์กัน