SlideShare a Scribd company logo
1 of 39
โรคไข้ปวดข้อ
ยุงลาย
(ชิคุนกุนยา)
2
สารบัญ
โรคไข้ปวดข้อยุงลายคืออะไร?
อาการของโรค
การรักษาและป้องกันโรคไข้ปวดข้อยุงลาย
ยุงลายพาหะนําโรค
ความแตกต่างระหว่างโรคชิคุนกุนยากับโรคไข้เลือดออก
โรคอื่นๆที่มาจากยุงลาย
ที่มาและความสําคัญ
วัตถุประสงค์
ผลที่คาดว่าจะได้รับ วิดิโอ1
วิดิโอ2
วิดิโอ3
ผู้จัดทํา
อ้างอิง
ที่มาและความสําคัญของโครงงาน
เนื่องจากการรักษาโรคภัยไข้เจ็บในปัจจุบันยังไม่ครอบคลุมไปถึงทุกโรค ยังคงมีโรคบางอย่างที่ยัง
รักษาให้หายขาดไม่ได้ ยังคงรักษาได้เพียงรักษาตามอาการที่ตรวจพบเท่านั้น โรคที่เกิดจากยุง เป็น
พาหะนําโรคนั้นมีหลากหลาย เช่น ไข้เลือดออก โรคชิคุนกุนยา ไวรัสซิกา มาลาเรีย ที่ยังไม่มียารักษา
ที่ทําให้หายจากกรเป็นโรคได้อย่างถาวร และคนในปัจจุบันนั้น มักไม่สนใจดูแลรักษา เมื่อมีอาการคัน
หรืออาการอื่นๆเมื่อมียุงมากัด เพราะมักคิดว่าแค่ทายาก็คงหายไม่จําเป็นต้องไปหาหมอ นั้นเป็นอีก
สาเหตุหนึ่งที่คนในปัจจุบันนั้นเป็นโรคได้อย่างง่ายดาย และยิ่งเป็นเยอะขึ้น เมื่อความคิดเหล่านี้ค่อยๆ
กระจายเป็นวงกว้าง ตากปากต่อปาก โรคก็จะยังคงเป็นปัญหาสําคัญทางสาธารณสุขของประเทศ
ไทยและอีกหลายๆ ประเทศทั่วโลก
การส่งเสริมให้คนออกกําลังกายให้ร่างกายแข็งแรงเป็นการการสร้างสุขภาพที่ดีมาก แต่ก็ต้องไม่
ลืมที่จะต้องเฝ้าระวังตนเอง และคนในครอบครัวไม่ให้ได้รับเชื้อโรคชนิดต่างๆ เข้าสู่ร่างกายอัน
จะนําไปสู่การเกิดโรคได้ด้วย
ดังนั้น เราควรศึกษาเกี่ยวกับโรคที่เกิดจากยุง เป็นพาหะนําโรคมาเผยแพร่กันอย่าง
จริงจังทั้งเรื่องอาการ การรักษา วิธีป้องกัน ฯลฯ ยิ่งเรารู้มากเท่าไหร่ เราก็ยิ่ง ปลอดภัยจากโรค
มากเท่านั้น เพื่อชีวิตที่ห่างไกลจากการเป็นโรค
ที่มาและความสําคัญของโครงงาน
วัตถุประสงค์
1. เพื่อให้ทราบที่มาและวิธีป้องกันโรคไข้ปวดข้อยุงลาย
2. เพื่อเป็นสื่อการเรียนรู้ให้รู้จักกับโรคไข้ปวดข้อยุงลาย
3. เพื่อผู้เพื่อศึกษาและทําความเข้าใจเกี่ยวกับโรคไข้ปวดข้อยุงลาย
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1. มีความเข้าใจในหัวข้อที่สนใจมากขึ้น
2. สามารถหาวิธีแก้ปัญหาได้
3. สามาถนําไปเผยแพร่ให้กับสาธารณะชนได้
4. สามารถประยุกต์กับการใช้ชีวิตประจําวัน
โรคไข้ปวดข้อยุงลายคืออะไร?
โรคไข้ปวดข้อยุงลาย เกิดจากเชื้อไวรัสชิคุน
กุนยา ติดต่อมาสู่คนได้โดยมียุงลายบ้าน
(Aedes aegypti)และยุงลายสวน(Aedes
albopictus) เป็นพาหะนําโรค โดยยุงตัวเมีย
ซึ่งกัดเวลากลางวันและดูดเลือดคนเป็นอาหาร
จะกัดดูดเลือดผู้ป่วยซึ่งมีระยะไข้สูงจะเป็นระยะ
ที่มีไวรัสอยู่ในกระแสเลือดเชื้อไวรัสจะเข้าสู่ยุง
เพิ่มจํานวนมากขึ้นแล้วเดินทางเข้าสู่ต่อมนํ้า
ลายพร้อม ที่จะเข้าสู่คนที่ถูกกัดในครั้งต่อไป ซึ่ง
ระยะฟักตัวในยุงนี้ประมาณ 3-5 วัน
โรคไข้ปวดข้อยุงลายคืออะไร?
เมื่อยุงตัวนี้ไปกดคนอื่นอีกก็จะปล่อยเชื้อไวรัส
ไปยังผู้ที่ถูกกัดได้เมื่อเชื้อเข้าสู่ร่างกายคนและ
ผ่านระยะฟักตัวนานประมาณ 2-12 วัน(ที่พบ
บ่อยคือ3-7วัน)ก็จะทําให้เกิดอาการของโรคได้
จากการวิจัยพบว่ายุงสามารถถ่ายทอดเชื้อ
ไวรัสจากแม่ยุงไปยังลูกได้หลายรุ่นจึงควร
ป้องกันไมัให้ยุงลายกัดตลอดเวลา และแม้
บริเวณใกล้เคียงไม่มีรายงานผู้ป่วยแต่ท่านอาจ
ติดเชื้อจากยุงได้เนื่องจากผู้ที่ได้รับเชื้อบางคน
ไม่แสดงอาการแต่แพร่เชื้อไวรัสได้จึงไม่ควร
ประมาทเนื่องจากโรคนี้เกิดได้ทุกเพศทุกวัย
ไม่ใช่เพียงเฉพาะเด็ก
อาการของโรค
อาการของโรค
ผู้ป่วยจะมีอาการไข้สูงมากถึง 40 องศาอย่างฉับพลัน
มีผื่นแดงขึ้นตามร่างกายและอาจมีอาการคันร่วมด้วย
พบอาการตาแดงแต่ไม่ค่อยพบจุดเลือดออกในตาขาว
ส่วนใหญ่ในเด็กจะมีอาการไม่รุนแรงเท่ากับผู้ใหญ่
ผู้ใหญ่อาการที่เด่นชัดคืออาการปวดข้อ ซึ่งอาจพบข้อ
อักเสบได้ส่วนใหญ่จะเป็นที่ข้อเล็กๆ เช่น ข้อมือ ข้อเท้า
12
อาการปวดข้อจะพบได้หลายๆ ข้อ เปลี่ยนตําแหน่ง
ไปเรื่อยๆ อาการจะรุนแรงมากจนบางครั้งขยับข้อ
ไม่ได้อาการจะหายภายใน 1-12 สัปดาห์ผู้ป่วยบาง
รายอาจมีอาการปวดข้อเกิดขึ้นได้อีกภายใน 2-3
สัปดาห์ต่อมา และบางรายอาการปวดข้อจะอยู่ได้
นานเป็นเดือนหรือเป็นปีไม่พบผู้ป่วยที่มีอาการ
รุนแรงถึงช็อก ซึ่งแตกต่างจากโรค ไข้เลือดออก อาจ
พบ tourniquet test ให้ผลบวก และจุด
เลือดออก (petichiae) บริเวณผิวหนังได้
การรักษาและป้องกัน
โรคไข้ปวดข้อยุงลาย
การรักษาและป้ องกันโรคไข้ปวด
ข้อยุงลาย
การรักษาโรคไข้ปวดข้อยุงลาย ใช้หลักการเดียวกันกับ โรค
ไข้เลือดออก คือ การรักษาแบบประคับประคอง และป้องกัน
ภาวะแทรกซ้อน ร่วมกับป้องกันการแพร่กระจายเชื้อไวรัส
ชิคุณกุนยา การรักษาแบบประคับประคอง ได้แก่ การให้ยา
ลดไข้ แก้ปวด การให้สารนํ้าให้เพียงพอ และดูแลให้ผู้ป่วย
พักผ่อนให้เพียงพอ และป้องกันมิให้ยุงกัด ซึ่งเป็นสิ่งที่สําคัญ
ที่สุด โดยมีวิธีการป้องกันมิให้ยุงกัดได้ ดังนี้
การรักษาโรคชิคุนกุนยาในเด็ก
โรคนี้มักจะหายเองและยังไม่มียาเฉพาะสําหรับการรักษา รวมถึงไม่มีวัคซีนป้องกัน วิธีการรักษา
จึงเป็นการรักษาตามอาการ ดังนั้นสิ่งที่ผู้ปกครองทําได้คือการดูแลให้เด็กปฏิบัติ ดังนี้
• พักผ่อนและนอนหลับอย่างเพียงพอ อย่าให้ร่างกายขาดนํ้าและพักผ่อนอยู่กับบ้าน
• กินอาหารที่ดีต่อสุขภาพ เช่น ผักและผลไม้ที่อุดมด้วยวิตามินและแร่ธาตุเพื่อให้เด็กฟื้นตัวจาก
โรคได้เร็วยิ่งขึ้น
• เช็ดตัวเด็กด้วยนํ้าสะอาดเป็นระยะเพื่อลดไข้
• กินยาตามที่แพทย์สั่ง
การป้องกันยุงกัด เป็นวิธีที่ดีที่สุดในการป้องกัน
โรคที่เกิดจากยุง เนื่องจากโรคที่เกิดจากยุงนั้น
ไม่มีวิธีป้องกันการเกิดโรคได้โดยเฉพาะเมื่อ
ได้รับเชื่อจากยุงที่เป็นพาหะ วิธีที่ดีที่สุดในการ
ป้องกันโรค คือ “ป้องกันไม่ให้ยุงกัด” โดยมีวิธี
ช่วยในการป้องกันยุงกัด ดังนี้
1. ทําลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุง เช่น แหล่งนํ้าขังที่ไม่
จําเป็น เช่น นํ้าในกระถางดอกไม้ นํ้าในแจกัน นํ้าใน
ยางรถยนต์ นํ้าขังนอกบ้าน แหล่งนํ้าที่จําเป็นต้องใช้ก็
ให้หาภาชนะมาปิดให้เรียบร้อย
วิธีการป้องกันยุงกัด
2. จัดหาและใช้อุปกรณ์ป้องกัน
ยุงเช่นมุ้ง มุ้งลวด ในจุดที่ยุง
อาจจะเข้าตัวบ้านหรือใช้พัดลม
ในการเป่าในที่ที่มืด (เช่นใต้
โต๊ะ) เพื่อป้องกันยุงกัด
3. ใช้ยาทากันยุงถ้ามีความ
จําเป็นต้องออกนอกบ้านหรือไป
ในที่เสี่ยงต่อยุงชุกชุม
4. สวมใส่เสื้อผ้าที่มิดชิด หรือ
อุปกรณ์ป้องกันยุง โดยเฉพาะ
เด็กเล็ก หากมีความจําเป็น
ต้องออกนอกบ้าน
5. กําจัดตัวยุงไม่ให้แพร่พันธุ์
เช่น ใช้ยาฉีดพ่น อุปกรณ์ดักยุง
เช่น เครื่องดักยุงไฟฟ้า
ยุงลายพาหะนําโรค
วงจรชีวิตของยุงลายประกอบด้วยระยะต่างๆ 4 ระยะ
ได้แก่ ระยะไข่ ระยะลูกนํ้า ระยะตัวโม่ง และระยะตัวเต็มวัย
ทั้ง 4 ระยะมีความแตกต่างกันทั้งรูปร่างลักษณะและการ
ดํารงชีวิต ยุงลายจะวางไข่ตามภาชนะขังนํ้า นํ้านั้นอาจจะ
สะอาดหรือไม่ก็ได้ นํ้าหมักพืช หรือสัตว์มักเป็นนํ้า
ที่ยุงลายชอบวางไข่มากกว่านํ้าใสหรือนํ้าธรรมชาติ ดังนั้น
แหล่งเพาะพันธุ์ของยุงลายนอกบ้านจึงมักอยู่ตามวัสดุ
เหลือทิ้งที่รับนํ้าฝน นอกจากที่เราทราบกันดีว่าแหล่ง
เพาะพันธุ์ที่สําคัญ คือ โอ่งนํ้าดื่ม และนํ้าใช้ที่ไม่ปิดฝาทั้ง
ภายในและภายนอกบ้าน
ยุงลายพาหะนําโรค
มาตรการที่ใช้ควบคุมยุงลาย
การป้องกันและควบคุมโรคไข้ปวดข้อยุงลายมี
มาตรการหลักเน้นที่การควบคุมยุงลายที่เป็น
พาหะนําโรค ทั้งนี้จะไม่สามารถประสบ
ผลสําเร็จได้ถ้าหากขาดการมีส่วนร่วมของ
ชุมชน การกําจัดหรือควบคุมยุงลายจะได้ผลดี
นัํ้นต้องดําเนินการทุกระยะของยุง ได้แก่ ไข่
ลูกนํ้า ตัวโม่ง และยุง
1. การกําจัดหรือลดแหล่งเพาะพันธ์ยุงลาย
o การปิดภาชนะเก็บนํ้าด้วยฝาปิดขนาดพอเหมาะ เช่น ผ้ามุ้ง, ผ้ายาง, ผ้าพลาสติก
ฯลฯ มีข้อสังเกตว่าการปิดภาชนะไม่มิดชิด มีส่วนที่ยุงลายสามารถผ่านเข้าออกได้นี่
ยุงลายชอบไปวางไข่มากกวาภาชนะที่เปิด เพราะมีเงามืด
o การเปลี่ยนนํ้าในแจกันประดับต่างๆ ทุก 5 วัน
o การควํ่าภาชนะที่ไม่ได้ใช้ประโยชน์เพื่อมิให้รองรับนํ้า
o การเผา ฝัง ทําลาย หรือกลบทิ้งเศษวัสดุที่อาจเป็นที่รับนํ้าซึ่งจะเป็นแหล่งเพาะพันธุ์
ยุงลายได้
o การใช้สารเคมี เช่น ทรายอะเบท ซีโอไล้ท์เคลือบทีมีฟอส เอซายเอส เอส ซึ่งศึกษาแล้วว่า
ป้องกันลูกนํั้าได้ประมาณสามเดือน ส่วนสารกําจัดแมลงชนิดอื่น เช่น มอสแทบ นํ้าส้มสายชู
ผงซักฟอก ปูนแดง สารส้ม ต้องใส่ซํ้าทุกครั้งที่พบลูกนํ้ายุง จึงจําเป็นต้องตรวจดูลูกนํ้าทุก
สัปดาห์ ฯลฯ
o การใช้วิธีทางชีววิทยา ได้แก่ การใช้ตัวหํ้า เช่น ปลาหางนกยูง ปลากัด แมลงตับเต่า มวน
ตัวอ่อนแมลงปอ ฯลฯ ต้องตรวจดูว่ายังมีลูกนํ้ายุงหรือตัวโม่งเหลือรอดหรือไม่หากยังพบต้อง
เพิ่มจํานวนตัวหํ่้าเนื่องจากมีข้อจํากัดเรื่องการกิน และการอยู่รอด
o อื่นๆ เช่น ใช้ขันดักลูกนํ้า ใช้สวิงช้อนลูกนํ้า ใช้กับดักไข่ยุง ฯลฯ
2. การกําจัดลูกนํ้ายุงลาย
o การพ่นผลิตภัณฑ์อัดแก่สําหรับยุงโดยเฉพาะ เจ้าของบ้านดําเนินการได้เองโดยพนบริเวณมุมอับ
ของห้องหรือใต้โต๊ะ บริเวณห้อยแขวนเสื้อผ้า ปิดห้องทิ้งไว้สิบห้านาที
o การพ่นหมอกควัน (Thermal fogging) ใช้อากาศร้อนพ่นเป็นหมอกควันให้ฟุ้งกระจายไป
ในอากาศ จะได้สัมผัสกับตัวยุง ต้องอาศัยบุคลากรที่ชํานาญและพ่นในช่วงที่ยุงออกหากิน
ตอนกลางวันหรือก่อนพระอาทิตย์ตกจะกําจัดยุงลายที่หลบอยูในบ้านและบริเวณโดยรอบบ้านได้ แต่ต้อง
คํานวณปริมาณนํ้ายาให้เหมาะสมและปิดห้องอบไว้จึงจะได้ผลดี
3. การกําจัดยุงตัวเต็มวัย โดยพ่นเคมีกําจัดยุง
o การพ่นละอองฝอย หรือพ่นแบบ Ultra Low Volume (ULV) โดยพ่นนํ้ายาเคมี
จาก เครื่องพ่นที่มีแรงอัดอากาศผ่านรูพ่น กระจายออกมาเป็นละอองฝอย ขนาดเล็กมากซึ่ง
จะกระจายอยูในอากาศ และสัมผัสกับตัวยุง ต้องอาศัยบุคลากรที่ชํานาญ การพ่นแบบนี้
ได้ผลดีไม่มีควันและมลภาวะจากนํ้ามันและเนื่องจากนํ้ายามีความเข้มข้นสูง ละอองขนาด
เล็กมากสามารถลอยอยู่ในอากาศได้นาน มีโอกาสที่จะสัมผัสกับยุงได้มากกว่า
4. การป้องกันตัวเองไม่ให้ยุงกัด
o การนอนในมุ้ง ใช้มุ้งหรือเต้นท์ชุบนํ้ายากันยุง
นอนในบ้านที่ติดมุ้งลวด
o การใส่เสื้อผ้ามิดชิดหรือเสื้อเคลือบสารป้องกันยุง
เมื่อเข้าไปในบริเวณที่มียุงชุกชุมนอกบ้าน
o การใช้สารทาป้องกนยุงที่ทดสอบแล้วว่ามีประสิทธิภาพที่ดี
o การใช้ยาจุดกันยุง
o การใช้เครื่องไล่ยุงไฟฟ้า
o การใช้ไม้ตียุงไฟฟ้า
ความแตกต่างระหว่างโรคชิคุนกุนยา
กับโรคไข้เลือดออก
ความแตกต่างระหว่างโรคชิคุนกุนยา
กับโรคไข้เลือดออก
ผู้ป่วยที่ติดเชื้อไวรัสชิคุนกุนยาจะมีไข้สูงขึ้นอย่างเฉียบพลันกว่าโรคไข้เลือดออก
และระยะเวลาของไข้สั้นกว่าประมาณ 2 วัน ในขณะที่ไข้เลือดออก ไข้จะลดลงใน
เวลาประมาณ 4 วัน และไวรัสชิคุนกุนยาไม่ทําให้พลาสม่ารั่วออกนอกเส้นเลือด
ผู้ป่วยส่วนใหญ่จึงไม่เกิดอาการช็อค นอกจากนี้ผู้ป่วยสามารถมีผื่นแดงเป็นปื้นและ
ตาแดงได้บ่อยกว่าไข้เลือดออก รวมถึงพบอาการปวดตามตัว ตามข้อได้มากกว่า
โรคอื่นๆที่มาจากยุงลาย
30
โรคอื่นๆที่มาจากยุงลาย
1. ไข้เลือดออก
พาหะ : ยุงลาย ที่ออกหากินตอนกลางวัน (ปัจจุบัน
พบยุงลายตอนกลางคืน ช่วงโพล้เพล้อยู่บ้าง)
อาการ : หลังถูกยุงลายกัด 5-8 วัน จะมีไข้สูง
เฉียบพลัน ปวดเมื่อยตามร่างกาย เบื่ออาหาร หรืออาจ
อาเจียน มีผื่นแดงๆ ตามร่างกาย อาจเลือดออกง่าย
ถ่ายอุจจาระเป็นสีดํา และเสี่ยงต่ออาการแทรกซ้อน
อื่นๆ เช่น ช็อก ชัก บวม แน่นหน้าอก ปวดท้อง หรือมี
เลือดออกในอวัยวะภายใน
31
2. มาลาเรีย
พาหะ : ยุงก้นปล่อง พบได้มากในป่า พื้นที่รกๆ
อากาศร้อนชื้น แหล่งนํ้าต่างๆ หรือพื้นที่อื่นๆ ทั่วไป
อาการ : มีไข้ ปวดศีรษะ ปวดเมื่อยตามตัว
อ่อนเพลีย ชีพจรเต้นเร็ว หนาวสั่น คลื่นไส้อาเจียน
หน้าซีดปากซีดจากการที่เม็ดเลือดแดงถูกทําลาย
เริ่มเข้าสู่ภาวะโลหิตจาง ตัวเหลืองเหมือนดีซ่าน และ
อาจมีปัสสาวะสีเข้มเหมือนสีนํ้าปลา
32
3. เท้าช้าง
พาหะ : โรคเกิดจากพยาธิตัวกลม โดยมียุง
เป็นพาหะ
อาการ : มีไข้สูงเฉียบพลัน หลอดนํ้าเหลือง
และต่อมนํ้าเหลืองอักเสบ โดยอาจพบได้บริเวณ
อวัยวะต่างๆ เช่น ขา ช่องท้องด้านหลัง ท่อนํ้าเชื้อ
อสุจิ หรือเต้านม ผิวหนังบริเวณที่อับเสบจะบวม
แดง มีนํ้าเหลืองคั่ง คลําเป็นก้อนขรุขระ แต่ใน
บางรายอาจไม่แสดงอาการบวมชัดเจน
33
4. ไข้สมองอักเสบ
พาหะ : ยุงรําคาญ พบในนาข้าว เพราะเป็นแหล่ง
แพร่พันธุ์ และมีหมูเป็นรังของโรค โดยยุงรําคาญไปกัด
หมูที่เป็นโรค และแพร่เชื้อต่อสู่คน และสัตว์อื่นๆ
อาการ : หลังรับเชื้อ 5-15 วัน จะมีไข้สูง อาเจียน
ปวดศีรษะ อ่อนเพลีย หลังจากนั้นจะเริ่มมีอาการ
ผิดปกติทางสมอง เช่น คอแข็ง สติสัมปชัญญะลดลง
ซึม หรือ เพ้อ คลั่ง ชัก หมดสติ หรืออาจมือสั่น
เป็นอัมพาต ซึ่งหลังจากอาการของโรคหายไป อาจ
หลงเหลือความผิดปกติของสมองอยู่บ้าง เช่น
พูดไม่ชัด เกร็ง ชัก หรือสติไม่ค่อยปกติ
อ้างอิง
http://nih.dmsc.moph.go.th/data/data/fact_sheet/2_57.pdf
https://www.bumrungrad.com/
https://www.thaihealth.or.th/Content/50142-
https://www.honestdocs.co/what-is-it-chikungunya-
disease
http://www.boe.moph.go.th/fact/Chikungunya.htm
https://www.thaipost.net/main/detail/14072
ผู้จัดทา
นางสาวจิรัชยา เมืองไชย
เลขที่ 32 ชั้น ม.6/4
นางสาวเขมิกา สุพะศิริ
เลขที่ 27 ชั้น ม.6/4
ขอบคุณ
39

More Related Content

What's hot

การดื้อยาของแบคทีเรีย
การดื้อยาของแบคทีเรียการดื้อยาของแบคทีเรีย
การดื้อยาของแบคทีเรีย2077842018
 
หลักทั่วไปในการให้วัคซีน
หลักทั่วไปในการให้วัคซีน หลักทั่วไปในการให้วัคซีน
หลักทั่วไปในการให้วัคซีน sucheera Leethochawalit
 
โรคอุบัติใหม่ 1
โรคอุบัติใหม่ 1โรคอุบัติใหม่ 1
โรคอุบัติใหม่ 1Prachaya Sriswang
 
Emergency prevention
Emergency preventionEmergency prevention
Emergency preventiontaem
 
แนวทางการดาเน ํ นงานป ิ องก ้ นควบค ั มการระบาดของโรคม ุ ือ เท้า ปาก สําหรบแพ...
แนวทางการดาเน ํ นงานป ิ องก ้ นควบค ั มการระบาดของโรคม ุ ือ เท้า ปาก สําหรบแพ...แนวทางการดาเน ํ นงานป ิ องก ้ นควบค ั มการระบาดของโรคม ุ ือ เท้า ปาก สําหรบแพ...
แนวทางการดาเน ํ นงานป ิ องก ้ นควบค ั มการระบาดของโรคม ุ ือ เท้า ปาก สําหรบแพ...Loveis1able Khumpuangdee
 
Infectious PPE
Infectious PPEInfectious PPE
Infectious PPEtaem
 
การควบคุมป้องกันแบคทีเรียดื้อยา
การควบคุมป้องกันแบคทีเรียดื้อยา การควบคุมป้องกันแบคทีเรียดื้อยา
การควบคุมป้องกันแบคทีเรียดื้อยา Utai Sukviwatsirikul
 
แนวทางการป้องกันการแพร่กระจายเชื้อดื้อยา
 แนวทางการป้องกันการแพร่กระจายเชื้อดื้อยา แนวทางการป้องกันการแพร่กระจายเชื้อดื้อยา
แนวทางการป้องกันการแพร่กระจายเชื้อดื้อยาUtai Sukviwatsirikul
 
Cross hypersensivity to NSIADs, Allergic and pseudoallergic reactions.
Cross hypersensivity to NSIADs, Allergic and pseudoallergic reactions.Cross hypersensivity to NSIADs, Allergic and pseudoallergic reactions.
Cross hypersensivity to NSIADs, Allergic and pseudoallergic reactions.Utai Sukviwatsirikul
 
2การจัดลำดับความสำคัญโรคติดต่อนำโดยแมลง
2การจัดลำดับความสำคัญโรคติดต่อนำโดยแมลง2การจัดลำดับความสำคัญโรคติดต่อนำโดยแมลง
2การจัดลำดับความสำคัญโรคติดต่อนำโดยแมลงนายสามารถ เฮียงสุข
 

What's hot (20)

การดื้อยาของแบคทีเรีย
การดื้อยาของแบคทีเรียการดื้อยาของแบคทีเรีย
การดื้อยาของแบคทีเรีย
 
หลักทั่วไปในการให้วัคซีน
หลักทั่วไปในการให้วัคซีน หลักทั่วไปในการให้วัคซีน
หลักทั่วไปในการให้วัคซีน
 
โรคอุบัติใหม่ 1
โรคอุบัติใหม่ 1โรคอุบัติใหม่ 1
โรคอุบัติใหม่ 1
 
Emergency prevention
Emergency preventionEmergency prevention
Emergency prevention
 
Rabies
RabiesRabies
Rabies
 
แนวทางการดาเน ํ นงานป ิ องก ้ นควบค ั มการระบาดของโรคม ุ ือ เท้า ปาก สําหรบแพ...
แนวทางการดาเน ํ นงานป ิ องก ้ นควบค ั มการระบาดของโรคม ุ ือ เท้า ปาก สําหรบแพ...แนวทางการดาเน ํ นงานป ิ องก ้ นควบค ั มการระบาดของโรคม ุ ือ เท้า ปาก สําหรบแพ...
แนวทางการดาเน ํ นงานป ิ องก ้ นควบค ั มการระบาดของโรคม ุ ือ เท้า ปาก สําหรบแพ...
 
Infectious PPE
Infectious PPEInfectious PPE
Infectious PPE
 
Paraqaut
ParaqautParaqaut
Paraqaut
 
Factsheet hfm
Factsheet hfmFactsheet hfm
Factsheet hfm
 
K 5
K 5K 5
K 5
 
Factsheet
FactsheetFactsheet
Factsheet
 
Protec
ProtecProtec
Protec
 
การควบคุมป้องกันแบคทีเรียดื้อยา
การควบคุมป้องกันแบคทีเรียดื้อยา การควบคุมป้องกันแบคทีเรียดื้อยา
การควบคุมป้องกันแบคทีเรียดื้อยา
 
แนวทางการป้องกันการแพร่กระจายเชื้อดื้อยา
 แนวทางการป้องกันการแพร่กระจายเชื้อดื้อยา แนวทางการป้องกันการแพร่กระจายเชื้อดื้อยา
แนวทางการป้องกันการแพร่กระจายเชื้อดื้อยา
 
Zoonosis
ZoonosisZoonosis
Zoonosis
 
Cross hypersensivity to NSIADs, Allergic and pseudoallergic reactions.
Cross hypersensivity to NSIADs, Allergic and pseudoallergic reactions.Cross hypersensivity to NSIADs, Allergic and pseudoallergic reactions.
Cross hypersensivity to NSIADs, Allergic and pseudoallergic reactions.
 
Skilllab2
Skilllab2Skilllab2
Skilllab2
 
2การจัดลำดับความสำคัญโรคติดต่อนำโดยแมลง
2การจัดลำดับความสำคัญโรคติดต่อนำโดยแมลง2การจัดลำดับความสำคัญโรคติดต่อนำโดยแมลง
2การจัดลำดับความสำคัญโรคติดต่อนำโดยแมลง
 
Guideline diarrhea
Guideline diarrheaGuideline diarrhea
Guideline diarrhea
 
Adr assessment and monitoring
Adr assessment and monitoringAdr assessment and monitoring
Adr assessment and monitoring
 

Similar to Presentation

สรรพคุณกระเทียม
สรรพคุณกระเทียมสรรพคุณกระเทียม
สรรพคุณกระเทียมGuenu Nam
 
Finalpresentationl20 23
Finalpresentationl20 23Finalpresentationl20 23
Finalpresentationl20 23mewsanit
 
Cpg osteoarthritis of knee 2554
Cpg osteoarthritis of knee 2554Cpg osteoarthritis of knee 2554
Cpg osteoarthritis of knee 2554Utai Sukviwatsirikul
 
Cpg osteoarthritis or osteoarthrosis 2554
Cpg osteoarthritis or osteoarthrosis 2554Cpg osteoarthritis or osteoarthrosis 2554
Cpg osteoarthritis or osteoarthrosis 2554Utai Sukviwatsirikul
 
สไลด์นำเสนอ AIDS
สไลด์นำเสนอ AIDSสไลด์นำเสนอ AIDS
สไลด์นำเสนอ AIDSpipepipe10
 
งานนำเสนอ Nan
งานนำเสนอ Nanงานนำเสนอ Nan
งานนำเสนอ Nannannee
 
การป้องกันโรคเอดส์ (Hiv)
การป้องกันโรคเอดส์ (Hiv)การป้องกันโรคเอดส์ (Hiv)
การป้องกันโรคเอดส์ (Hiv)BowBow580146
 
9789740335368
97897403353689789740335368
9789740335368CUPress
 
เยื่อหุ้มปอดอักเสบ
เยื่อหุ้มปอดอักเสบเยื่อหุ้มปอดอักเสบ
เยื่อหุ้มปอดอักเสบWan Ngamwongwan
 
อาหารกับสารเคมีที่ก่อให้เกิดมะเร็ง.pdf
อาหารกับสารเคมีที่ก่อให้เกิดมะเร็ง.pdfอาหารกับสารเคมีที่ก่อให้เกิดมะเร็ง.pdf
อาหารกับสารเคมีที่ก่อให้เกิดมะเร็ง.pdfpitsanu duangkartok
 
โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์nuttanansaiutpu
 
เรื่องของโรคทางระบบ ที่สัมพันธ์กับสุขภาพช่องปาก
เรื่องของโรคทางระบบ ที่สัมพันธ์กับสุขภาพช่องปากเรื่องของโรคทางระบบ ที่สัมพันธ์กับสุขภาพช่องปาก
เรื่องของโรคทางระบบ ที่สัมพันธ์กับสุขภาพช่องปากอาม อีฟ
 
เรื่องของโรคทางระบบ ที่สัมพันธ์กับสุขภาพช่องปาก
เรื่องของโรคทางระบบ ที่สัมพันธ์กับสุขภาพช่องปากเรื่องของโรคทางระบบ ที่สัมพันธ์กับสุขภาพช่องปาก
เรื่องของโรคทางระบบ ที่สัมพันธ์กับสุขภาพช่องปากอาม อีฟ
 
โรคแผลในกระเพราะอาหารที่เกิดจากบุหรี่
โรคแผลในกระเพราะอาหารที่เกิดจากบุหรี่โรคแผลในกระเพราะอาหารที่เกิดจากบุหรี่
โรคแผลในกระเพราะอาหารที่เกิดจากบุหรี่Wan Ngamwongwan
 
คำแนะนำสำหรับผู้ป่วยหวัด 2009
คำแนะนำสำหรับผู้ป่วยหวัด 2009คำแนะนำสำหรับผู้ป่วยหวัด 2009
คำแนะนำสำหรับผู้ป่วยหวัด 2009Adisorn Tanprasert
 
คำแนะนำสำหรับผู้ดูแลผู้ป่วยหวัด 2009
คำแนะนำสำหรับผู้ดูแลผู้ป่วยหวัด 2009คำแนะนำสำหรับผู้ดูแลผู้ป่วยหวัด 2009
คำแนะนำสำหรับผู้ดูแลผู้ป่วยหวัด 2009Adisorn Tanprasert
 
Brochure promethee B C thailandais
Brochure promethee B C thailandaisBrochure promethee B C thailandais
Brochure promethee B C thailandaissoshepatites
 
โรคมือเท้าปาก
โรคมือเท้าปาก โรคมือเท้าปาก
โรคมือเท้าปาก sivapong klongpanich
 
ระบบภูมิคุุ้มกัน
ระบบภูมิคุุ้มกันระบบภูมิคุุ้มกัน
ระบบภูมิคุุ้มกันKankamol Kunrat
 

Similar to Presentation (20)

สรรพคุณกระเทียม
สรรพคุณกระเทียมสรรพคุณกระเทียม
สรรพคุณกระเทียม
 
Finalpresentationl20 23
Finalpresentationl20 23Finalpresentationl20 23
Finalpresentationl20 23
 
Cpg osteoarthritis of knee 2554
Cpg osteoarthritis of knee 2554Cpg osteoarthritis of knee 2554
Cpg osteoarthritis of knee 2554
 
Cpg osteoarthritis
Cpg osteoarthritisCpg osteoarthritis
Cpg osteoarthritis
 
Cpg osteoarthritis or osteoarthrosis 2554
Cpg osteoarthritis or osteoarthrosis 2554Cpg osteoarthritis or osteoarthrosis 2554
Cpg osteoarthritis or osteoarthrosis 2554
 
สไลด์นำเสนอ AIDS
สไลด์นำเสนอ AIDSสไลด์นำเสนอ AIDS
สไลด์นำเสนอ AIDS
 
งานนำเสนอ Nan
งานนำเสนอ Nanงานนำเสนอ Nan
งานนำเสนอ Nan
 
การป้องกันโรคเอดส์ (Hiv)
การป้องกันโรคเอดส์ (Hiv)การป้องกันโรคเอดส์ (Hiv)
การป้องกันโรคเอดส์ (Hiv)
 
9789740335368
97897403353689789740335368
9789740335368
 
เยื่อหุ้มปอดอักเสบ
เยื่อหุ้มปอดอักเสบเยื่อหุ้มปอดอักเสบ
เยื่อหุ้มปอดอักเสบ
 
อาหารกับสารเคมีที่ก่อให้เกิดมะเร็ง.pdf
อาหารกับสารเคมีที่ก่อให้เกิดมะเร็ง.pdfอาหารกับสารเคมีที่ก่อให้เกิดมะเร็ง.pdf
อาหารกับสารเคมีที่ก่อให้เกิดมะเร็ง.pdf
 
โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
 
เรื่องของโรคทางระบบ ที่สัมพันธ์กับสุขภาพช่องปาก
เรื่องของโรคทางระบบ ที่สัมพันธ์กับสุขภาพช่องปากเรื่องของโรคทางระบบ ที่สัมพันธ์กับสุขภาพช่องปาก
เรื่องของโรคทางระบบ ที่สัมพันธ์กับสุขภาพช่องปาก
 
เรื่องของโรคทางระบบ ที่สัมพันธ์กับสุขภาพช่องปาก
เรื่องของโรคทางระบบ ที่สัมพันธ์กับสุขภาพช่องปากเรื่องของโรคทางระบบ ที่สัมพันธ์กับสุขภาพช่องปาก
เรื่องของโรคทางระบบ ที่สัมพันธ์กับสุขภาพช่องปาก
 
โรคแผลในกระเพราะอาหารที่เกิดจากบุหรี่
โรคแผลในกระเพราะอาหารที่เกิดจากบุหรี่โรคแผลในกระเพราะอาหารที่เกิดจากบุหรี่
โรคแผลในกระเพราะอาหารที่เกิดจากบุหรี่
 
คำแนะนำสำหรับผู้ป่วยหวัด 2009
คำแนะนำสำหรับผู้ป่วยหวัด 2009คำแนะนำสำหรับผู้ป่วยหวัด 2009
คำแนะนำสำหรับผู้ป่วยหวัด 2009
 
คำแนะนำสำหรับผู้ดูแลผู้ป่วยหวัด 2009
คำแนะนำสำหรับผู้ดูแลผู้ป่วยหวัด 2009คำแนะนำสำหรับผู้ดูแลผู้ป่วยหวัด 2009
คำแนะนำสำหรับผู้ดูแลผู้ป่วยหวัด 2009
 
Brochure promethee B C thailandais
Brochure promethee B C thailandaisBrochure promethee B C thailandais
Brochure promethee B C thailandais
 
โรคมือเท้าปาก
โรคมือเท้าปาก โรคมือเท้าปาก
โรคมือเท้าปาก
 
ระบบภูมิคุุ้มกัน
ระบบภูมิคุุ้มกันระบบภูมิคุุ้มกัน
ระบบภูมิคุุ้มกัน
 

More from ssuser8b25961 (16)

Comproject2
Comproject2Comproject2
Comproject2
 
Gramshire elementary-1
Gramshire elementary-1Gramshire elementary-1
Gramshire elementary-1
 
Work 3
Work 3Work 3
Work 3
 
Work 2
Work 2Work 2
Work 2
 
Work
WorkWork
Work
 
2562 final-project -1
2562 final-project -12562 final-project -1
2562 final-project -1
 
2562 final-project 22 (1)
2562 final-project 22 (1)2562 final-project 22 (1)
2562 final-project 22 (1)
 
2562 final-project 22
2562 final-project 222562 final-project 22
2562 final-project 22
 
2562 final-project 22
2562 final-project 222562 final-project 22
2562 final-project 22
 
Work 1-khemmika 1
Work 1-khemmika 1Work 1-khemmika 1
Work 1-khemmika 1
 
Work2
Work2Work2
Work2
 
Work2
Work2Work2
Work2
 
Work2
Work2Work2
Work2
 
work1pjcom
work1pjcomwork1pjcom
work1pjcom
 
work1pjcom
work1pjcomwork1pjcom
work1pjcom
 
2562 final-project jiratchaya-32
2562 final-project jiratchaya-322562 final-project jiratchaya-32
2562 final-project jiratchaya-32
 

Presentation