SlideShare a Scribd company logo
การส่งเสริมสุขภาพช่อง 
ปากคนพิการ 
ทพญ.ภัตติมา บุรพลกุล สถาบนัราชานุกูล 
Free Powerpoint Templates Page 1
คนพิการ 
หมายถึง บุคคลซึ่งมีข้อจำากดัในการ 
ปฏิบัติกิจกรรมในชีวิตประจำาวันหรือเข้าไป 
มีสว่นร่วมทางสังคม เนอื่งจากมีความ 
บกพร่องทางการเหน็ การได้ยิน การ 
เคลอื่นไหว การสื่อสาร จิตใจ อารมณ์ 
พฤติกรรม สติปัญญาและการเรียนรู้หรือ 
ความบกพร่องอื่นใด ... 
ประกอบกับมีอุปสรรคในด้านต่างๆ และมี 
ความจำาเป็นเป็นพิเศษที่จะต้องได้รับความ 
ช่วยเหลือดา้นหนึ่งดา้นใด เพอื่ใหส้ามารถ 
ปฏิบัFree ติกิPowerpoint จกรรมในTemplates ชีวิตประจำาวันหรือเข้าPage ไป 
2
ประเภทความพิการ 
1. ความพิการทางการมองเห็น 
2. ความพิการทางการได้ยินและสื่อ 
ความหมาย 
3. ความพิการทางการเคลื่อนไหว 
หรือทางร่างกาย 
4. ความพิการทางจิตใจหรือ 
พฤติกรรม หรือออทสิติก 
5. ความพิการทางสติปัญญา 
6. ความพิการทางการเรียนรู้ 
Free Powerpoint Templates Page 3
คนพิการกับสุขภาพช่องปาก 
• ทำาไมคนพิการจึงมี 
ปัญหาสุขภาพช่อง 
ปากมากกว่า 
Free Powerpoint Templates Page 4
ข้อจำากัดด้านร่างกาย 
• ข้อจำากัดของร่างกายในการดูแลช่อง 
ปาก เช่น กล้ามเนื้อแขน มือ 
• ข้อจำากัดด้านระบบประสาทและกล้าม 
เนื้อทำาให้การควบคุมการเคลื่อนไหวไม่ 
ดีเสี่ยงต่ออุบัติเหตุพลัดตกหกล้ม ฟัน 
กระแทก 
• ความผิดปกติทางพันธุกรรมบางโรคส่ง 
ผลต่อสภาพในช่องปาก เช่น เนื้อฟัน 
อ่อนยุ่ย ลนิ้โต เพดานโหว่ ฟันเก ฟัน 
ขาดหาย ฟันขึ้นผดิที่ ฟันขึ้นช้า ฟันรูป 
ร่างผดิปกติ ขากรรไกรเติบโตไม่ได้ 
สัดส่วน 
Free Powerpoint Templates Page 5
ข้อจำากัดด้านจิตใจ พฤติกรรม 
• ความบกพร่องด้านการเรียนรู้ ปัญหา 
พฤติกรรม ส่งผลต่อความร่วมมือ 
• ผู้ป่วยจิตเวชไม่สามารถรับรู้เรื่องของ 
การดูแลตนเอง 
ในชีวิตประจำาวัน 
Free Powerpoint Templates Page 6
ปัญหาด้านอาหารและวิธีการรับ 
ประทาน 
• ลักษณะอาหารทตี่้องแตกต่างไปจากคนอื่น 
เช่น 
อาหารอ่อน <<แป้งเป็นส่วนมาก 
• วธิีการรับประทานอาหาร เช่น การดูดนมที่ 
ต้องใช้เวลานาน อาหารทางสายยาง 
• ความถี่ในการรับประทานอาหาร 
Free Powerpoint Templates Page 7
ปัญหาด้านอาหารและวิธีการรับ 
ประทาน 
• เด็กบางคนดื่มนำ้าไดน้้อย หรือไม่สามารถดื่ม 
นำ้าได้เอง 
• **การได้รับความรักความสงสารจากคนรอบ 
ข้างเป็นพิเศษ มักจะได้รับรางวัลเป็นขนม 
อาหารที่ชอบ 
• คนพิการบางคนไม่ควบคุมการเคี้ยว การ 
เคลอื่นไหวลิ้น 
หรือกล้ามเนื้อกระพงุ้แกม้ได้ตามปกติ มี 
Free Powerpoint Templates Page 8
ปัญหาทางด้านยารักษาโรค 
ประจำาตัว 
•กินยานำ้าเชื่อมต่อกันเป็นเวลา 
นาน.- ฟันผุ 
•ยารักษาโรคลมชกั -เหงือกโตขัด 
ขวางการขึ้น 
ของฟัน 
Free Powerpoint Templates Page 9 
•ยาจิตเวช - นำ้าลายไหลน้อย ปาก
ปัญหาทางสังคม 
• ครอบครัวทุ่มเทให้กับสุขภาพทางกาย 
มากกว่าช่องปาก 
• ไม่มีเวลาเอาใจใส่หรือมองข้ามสิ่งธรรมดาใน 
ชีวิตประจำาวัน 
(มาเมื่อปวด) 
• การยอมรับของสังคมเมื่อพาเด็กออกนอกบ้าน 
• สถานะทางเศรษฐกจิสังคมของผปู้กครอง 
เช่น การทำามาหากิน ฐานะทางการเงนิ 
• ความFree เป็นPowerpoint ไปได้ในกาTemplates รเดินทางไปรับบริPage การ 
10 
เช่น ความใกล้ของสถานบริการ พาหนะเดิน
ข้อจำากัดในการดูแลช่องปาก 
ตนเอง 
• ข้อจำากดัด้านกล้ามเนื้อ ระบบ 
ประสาททำาให้ไม่สามารถแปรงฟัน 
ได้เองอย่างทั่วถึง 
• ขาดอวัยวะที่ใช้ในการแปรงฟัน 
เช่น มือ แขน 
• เด็กทบี่กพร่องดา้นพัฒนาการฯ ไม่ 
สามารถเรียนรู้วิธีการแปรงฟันได้ 
อย่างเหมาะสม 
Free Powerpoint Templates Page 11
ปัญหาที่พบจากผู้ปกครอง 
ที่ดูแลช่องปากคนพิการ 
• เกร็งกล้ามเนอื้ปาก กัดแปรงสฟีัน กดันิ้ว 
มือผปู้กครอง 
• บางรายขย้อน อาเจียนได้งา่ย 
• เด็กไม่ยอมใหใ้ครจบัริมฝปีาก หรือตรวจ 
ช่องปาก 
• หายใจทางปาก กลืนผดิปกติ 
Free Powerpoint Templates Page 12
ความแตกต่างของการดูแล 
สุขภาพช่องปาก 
• พึ่งพาการดูแลอย่างต่อเนื่องจากผู้ 
ปกครอง/ผู้ดูแล 
• ต้องการความรัก ความเข้าใจ 
ความอดทนในการดูแล 
• โรคในช่องปากที่ไม่ได้รับการดูแล 
ส่งผลต่อสุขภาพทรีุ่นแรงกวา่ (การ 
ป้องกันให้ผลคุ้มค่ามาก) 
• ต้องการการดูแลร่วมกันจากหลายๆ 
ฝา่ย เช่น 
ทนัตบุคลากร นักกายภาพบำาบัด 
Free Powerpoint Templates Page 13
ความโชคดีของคนพิการใน 
การมี 
• โสชุขคดภี..าที่สพังคชม่อใหงค้ปวาามกสนทใจี่ดแีละมีนโย 
บายดูแลคนพิการ 
• โชคดี..ที่อาศัยอยู่ในชุมชนที่ดูแลสุขภาพ 
ช่องปากเขา 
เป็นอย่างดี 
• โชคดี..ที่เขามีค่ารักษา มีรถ มีคนพาไป 
สถานพยาบาล 
• โชคดี..ที่มีสถานพยาบาลทันตกรรมใน 
พื้นที่ 
• โชคดี...ที่ทันตบุคลากรสามารถและยินดี 
Free Powerpoint Templates Page 14
การป้องกันสุขภาพช่องปากคน 
พิการ 
• การรับประทานที่มีประโยชน์ ตามรูป 
แบบที่เหมาะสม 
• การทำาความสะอาดช่องปากประจำาวันที่ 
เหมาะกับแต่ละคน 
• ปรับสถานที่แปรงฟันสำาหรับคนพิการ 
อย่างเหมาะสม -หอ้ง รถเข็น เตียง ที่ 
บ้วนปาก 
• วธิีการแปรงฟัน เทคนิคการทำาความ 
สะอาดเฉพาะ 
• อุปกรณแ์ปรงฟันทเี่หมาะสม การ 
Free Powerpoint Templates Page 15
ตัวอย่างการดัดแปลง 
อุปกรณ์ที่ใช้ในการ 
แปรงฟัน 
Free Powerpoint Templates Page 16
หนังสติ๊กขนาดใหญ่ยึดแปรง 
Page 17 
ติดไว้กับ 
มือเด็กเพื่อให้แปรงไม่หลุด 
จากมือง่าย
ทำาด้ามแปรงให้ใหญ่ขึ้นหรือ 
จับไดง้่าย โดยเสยีบลงใน 
ลูกบอลหรือที่จับจักรยาน 
Page 18
แฮนด์จักรยานหรือไม้ไผ่เหลา 
Page 19
ทำาด้ามแปรงให้ยาวขึ้นโดยต่อ 
เข้ากับไม้หรือพลาสติกหาก 
Page 20 
เอื้อมมือไม่ถึง
ทำาด้ามแปรงให้โค้งงอโดยใช้ 
ความร้อนลนแล้วดัดเป็นมุมเพื่อ 
ให้สามารถวางแปรงลงบน 
เหงือกหรือฟันได้สะดวกขึ้น 
Page 21
แปรงไฟฟ้ากรณีขยับหมุนมือ 
Page 22 
ลำาบาก 
(ระวังแปรงหลุดลงคอถ้าเด็กกัด 
หรือเกร็งง่าย)
ไหมขัดฟัน แปรงซอกฟนัประเภท 
Page 23 
ต่างๆ
วิธีช่วยคนพิการในการแปรง 
ฟัน 
• คนพิการหรือเด็กพิเศษมักต้องให้ผู้ 
ปกครองเป็น 
ผทู้ำาให้หรือดูแลความสะอาดหลัง 
แปรงฟันเสมอ 
• ท่าทางในการแปรงฟันของผู้ 
ปกครองเป็นสิ่งสำาคัญ 
• ควรเป็นท่าทางที่สะดวกสบายทั้งสอง 
ฝ่าย 
Free Powerpoint Templates Page 24
นั่งบนรถเข็น/เก้าอี้– ผู้ 
ปกครองยืนข้างหลัง 
ใช้แขนพยุงศีรษะให้ติดลำาตัว 
หงายศีรษะเล็กน้อย ใช้หมอน 
Page 25 
หนุน 
(ระวังในคนอาเจียนง่ายหรือ 
กลืนลำาบาก)
คนพิการนั่ง 
Page 26 
พื้น 
- เอนหลังเล็กน้อย 
- ผู้ปกครองนั่งเก้าอี้ 
เข่าและขายึดหัวคน 
พิการไว้ 
(ไม่เหมาะกับคนลำา
คนพิการนอนพื้นหนุนหมอน 
Page 27 
ใบใหญ่ 
ผู้ปกครองคุกเข่าทศีี่รษะ ยึด 
ศีรษะให้นิ่งด้วยมือและแขนข้าง 
หนึ่ง ขณะอีกข้างหนึ่งใช้แปรง 
ฟัน
คนพิการที่นอนเตียงหรือเก้าอี้ 
Page 28 
ยาว 
ให้ศีรษะพาดบนตักของผปู้กครอง 
มือหนึ่งโอบพยุงศีรษะให้นงิ่ อีกมอื 
แปรง 
(คนที่ไม่ร่วมมือสามารถให้คนอื่นมา 
ช่วยจับแขนขาได้)
เด็กเล็กที่ไม่ให้ความ 
ร่วมมือ 
ผ้าห่มตัว หรือ คนช่วยจับ หรือ ขา 
โอบลำาตัวเด็ก 
Page 29
การที่คนพิการจะต้อง 
เอนตัวไปด้านหลังจะ 
ต้องระวังการสำาลักและ 
ขย้อนเป็นพิเศษ 
อาจแปรงโดยไม่ต้อง 
Page 30 
ใช้นำ้ามาก
คนพิการไม่สามารถอ้าปาก 
แปรงฟัน? 
• บางคนไม่ให้ความร่วมมือในการอ้า 
ปาก หรือ ความพิการบางอย่างทำาให้ 
เขาไม่สามารถอ้าปากได้ตามปกติ 
วิธีการดูแล 
• การใช้อุปกรณ์สอดระหว่างฟันบนและ 
ฟันล่างในด้านหนึ่ง จะทำาให้แปรงอีก 
ด้านหนึ่งได้สะดวก 
• ทันตบุคลากรควรสาธิตการใช้อุปกรณ์ 
ใหผู้้ปกครองดูก่อน มิฉะนั้นอาจเกดิ 
การบาดเจ็บ 
Free Powerpoint Templates Page 31
ตัวอย่างการดัดแปลง 
อุปกรณ์ที่ช่วยในการ 
อ้าปาก 
Free Powerpoint Templates Page 32
ไม้กดลิ้นหรือไม้ไอศครีม5- 
6อันวางซ้อนกันแล้วยึดติดกัน 
ด้วยกระดาษกาวหรือเทปใส 
Page 33
Page 34 
สอดเข้าตามแนวนอน
ค่อยๆหมุนปรับขึ้นแนวตั้ง 
Page 35
การช่วยอ้าปากในเด็กเล็ก 
Page 36
การเตรียมระบบบริการทันต 
กรรม 
สำาหรับคนพิการ 
Free Powerpoint Templates Page 37
การบริการทันตกรรมแก่คน 
พิการ 
• การเข้าถึงคลินิค 
Free Powerpoint Templates Page 38
Free Powerpoint Templates Page 39
Free Powerpoint Templates Page 40
บริเวณนั่ง 
คอย 
Free Powerpoint Templates Page 41
บริเวณรักษา 
Free Powerpoint Templates Page 42 
ทั่วไป
การเตรียมยูนิต 
ทำาฟัน 
Free Powerpoint Templates Page 43
ตำาแหน่ง/การ 
จัดการพฤติกรรม 
ขณะทำาฟัน 
Free Powerpoint Templates Page 44
ความพร้อมใน 
ภาวะฉุกเฉิน 
Free Powerpoint Templates Page 45
การสื่อสารกับคนพิการบาง 
ประเภท 
Free Powerpoint Templates Page 46
พื้นที่ทันต 
สุขศึกษา 
Free Powerpoint Templates Page 47
วิธี/เทคนิคการสอนแปรง 
ฟัน 
Free Powerpoint Templates Page 48
Free Powerpoint Templates Page 49
ข้อมูลที่สำาคัญ 
Free Powerpoint Templates Page 50
คำายินยอม 
ในการ 
รักษา 
Free Powerpoint Templates Page 51
การ 
บันทึก 
การรักษา 
Free Powerpoint Templates Page 52
บทบาทของสหวิชาชีพในการ 
ให้บริการ 
ทันตกรรมแก่คนพิการ 
Free Powerpoint Templates Page 53
ผู้ช่วยทันตแพทย์ 
การให้สุขศึกษา 
Free Powerpoint Templates Page 54
ผู้ช่วยทันตแพทย์ 
การจัดตำาแหน่ง 
ผู้ป่วย 
Free Powerpoint Templates Page 55
การปรับพฤติกรรม 
Free Powerpoint Templates Page 56
แพทย์ 
•โรคทางระบบ 
•ปัญหาจิตเวช 
•พัฒนาการเด็ก 
•พันธุศาสตร์ 
• แพทย์ทางเลือก 
•อื่นๆ 
Free Powerpoint Templates Page 57
พยาบาล 
จนท. 
สาธารณ 
สุข 
• การให้ความรู้แก่ครอบครัว 
• การคัดกรองสุขภาพช่องปาก 
• การคัดกรองพฤติกรรมก่อนการทำาฟัน 
Free Powerpoint Templates Page 58
นักจิตวิทยา 
• การปรับพฤติกรรมก่อนทำาฟัน เช่น 
ทำาร้ายตนเอง/ผู้อื่น 
• การจัดการความเครียดของ 
ครอบครัว 
Free Powerpoint Templates Page 59
นักกายภาพบำาบัด 
ท่าทาง-ตำาแหน่งบนเก้าอี้ทำาฟัน 
เมื่อผู้ป่วยมีข้อจำากัดด้านการเคลื่อนไหว 
Free Powerpoint Templates Page 60
นักกิจกรรมบำาบัด 
• นำ้าลายไหลย้อย 
• กัดฟัน 
• ปัญหาการกลืน/อาเจียนง่าย 
• การประดิษฐ์อุปกรณ์เฉพาะ 
Free Powerpoint Templates Page 61
การบริการทันตกรรมในคน 
พิการ 
Free Powerpoint Templates Page 62
ผู้บกพร่องสติปัญญา 
• มีความพิการที่สมองหยุดพัฒนาหรือพัฒนาได้ 
ไม่สมบูรณ์ 
• มีความบกพร่องด้านทักษะและพัฒนาการด้าน 
ต่างๆ 
• มีความลำาบากในการดำารงชีวิตประจำาวัน 
• มีปัญหาในการเข้าสังคม 
• อาจมีปัญหาด้านพฤติกรรม 
Free Powerpoint Templates Page 63
ระดับความรุนแรง 
ความรุนแรง ระดับเชาวน์ 
ปัญญา(IQ) 
Mild 50-55 
Moderate 35-40 
Severe 20-25 ถึง 35-40 
Profound ตำ่ากว่า20 หรือ 25 
Free Powerpoint Templates Page 64
การสื่อสาร 
• ค่อยๆฟังอย่างช้าๆและตั้งใจ 
• ใช้เวลาบริการที่ไม่นาน 
• เริ่มจากงานง่าย 
• นัดแต่เช้า 
Free Powerpoint Templates Page 65
การจัดการพฤติกรรม 
• Mild MR: พูดชัดๆตรงประเด็น, คล้าย 
การ คุยกบัเด็กทวั่ๆไป 
• Moderate : สื่อสารอย่างง่าย,อาจะต้อง 
ห่อตวั และให้แรงเสริมทางบวก 
• Severe to profound: อาจสื่อสารไม่ได้ 
เลย, ใช้การห่อตวั หรือ ดมยาสลบใน 
การทำาฟัน 
Free Powerpoint Templates Page 66
กลุ่มอาการดาวน์ 
• เป็นความผิดปกติของโครโมโซมคู่ที่ ๒๑ 
• รูปร่างเล็ก กล้ามเนอื้อ่อนแรง เดินแกว่งไปมา(waddling gait) 
• ศีรษะเล็ก หน้าแบน หางตาเฉียงขึ้น(mongoloid face) 
• จมกูเล็ก แบน แฟบ 
• คอสั้นกว่าปกติ นวิ้สั้น นวิ้ก้อยมรีอยพับเพียง ๑ รอยและเล็กกว่า 
ปกติ 
• ช่องว่างระหว่างนิ้วหัวแม่มือกับนิ้วชี้กว้างกว่าปกติทั้งนิ้วมือและ 
นิ้วเท้า 
• พัฒนาการช้า 
• มีแนวโน้มนำ้าหนักเกินจากการรับประทานอาหารจำาพวกแป้งมาก 
และไม่ค่อยมีกิจกรรม 
Free Powerpoint Templates Page 67
Free Powerpoint Templates Page 68
โรคทางระบบของกลุ่มอาการดาวน์ 
• พบเป็นโรคหัวใจร้อยละ๓๐-๔๐ 
• มีการติดเชอื้ของระบบทางเดินหายใจได้ง่าย การขับ 
เสมหะทำาได้ไม่ดี มีภาวการณ์อุดตันของทางเดินหายใจ 
ชนิดเฉียบพลันและเรื้อรัง 
• มี sleep apnea 
• มีอัตราเสี่ยงสูงของการเกิดมะเร็งเม็ดเลือดขาว 
• ระบบกล้ามเนื้อไม่แข็งแรง 
• มีการชักร้อยละ ๕-๑๐ 
Free Powerpoint Templates Page 69
Free Powerpoint Templates Page 70
การจัดการพฤติกรรมของผู้ป่วยกลุ่มอาการ 
ดาวน์ 
• ส่วนใหญ่มีความบกพร่องทางสติปัญญาระดับน้อย 
• อารมณด์ี ยิ้มง่าย ดูสดชนื่ 
• สามารถให้ความร่วมมือระยะสั้นๆ 
• สามารถใช้จิตวิทยาในการจัดการ 
– Tell show do 
– Distraction 
– Positive reinforcement 
Free Powerpoint Templates Page 71
ออทิสซึม (Autism) 
• ในทางการแพทย์ ภาวะออทิสซึม (Autism) เป็นโรค 
หรือกลุ่มอาการที่เกิดขึ้นในเด็ก เนื่องจากสมองผิดปกติ 
• เด็กที่เป็นโรคนี้จะอยู่แต่ในโลกของตนเอง และขาด 
ความสนใจที่จะมีสังคมร่วมกับคนอื่น เราเรียกเด็กที่เป็น 
โรคออทิสซึม ว่า “เด็กออทิสติก” 
Free Powerpoint Templates Page 72
ความบกพร่อง 3 ด้าน ใหญ่ๆ 
• 1. ความบกพร่องในการมีปฏสิัมพันธ์ เช่น ไมแ่สดงสีหน้าทา่ทางใน 
การตอบรับและสื่อสารกับผู้อื่น ไมส่บตา เรียกไมหั่น 
• 2. ความบกพร่องในการสื่อสาร เช่น พูดช้าหรือไมพู่ดและไมม่คีวาม 
พยายามในการสื่อสาร พูดตามหรือพูดสลับคำา 
• 3. การแสดงออกทางพฤติกรรมทผีิ่ดปกติ เช่น หมกหมนุ่อยกูั่บการก 
ระทำาอย่างใดอย่างหนึ่งทไี่มเ่หมาะสมหรือทำาซำ้าๆมากเกินไป ยึดติด 
กับขั้นตอนในการทำากิจวัตรประจำาวัน 
Free Powerpoint Templates Page 73
การจัดการทางพฤติกรรม 
• ไมส่ามารถใช้วิธี Tell–show–do 
• ห้าม Hand over mouth technic 
• ใช้เทคนิคพิเศษให้เกิดการเรียนรู้ขั้นตอนต่างๆ ในการทำาฟัน 
• นัดเป็นเวลาเดียวกัน สภาพแวดล้อมในคลินิกให้เหมือนเดิม 
• บุคลากรต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง เช่น ทันตแพทย์ ผู้ช่วยทันตแพทย์ 
พนักงานต้อนรับ ต้องเป็นบุคคลเดิม 
• การปรับพฤติกรรมของเด็กออทิสติกนั้น จะไม่ใช่การเลียนแบบหรือแบบอย่าง (modeling) 
• แต่ใช้วิธีการซักซ้อมความประพฤติที่บ้านโดยพ่อแม่หรือผู้ดูแล 
Free Powerpoint Templates Page 74
Cerebral palsy(สมองพิการ) 
• กลุ่มอาการของความพิการทางสมองอย่างถาวร 
• มีความผิดปกติทางประสาทและกล้ามเนื้อซึ่งมีผลต่อการ 
เคลื่อนไหวของร่างกาย 
• อาจมีความผิดปกติทางสายตา ดวงตา การได้ยิน และ 
บกพร่องทางสติปัญญา 
Free Powerpoint Templates Page 75
แบง่เป็น 3 กลุ่ม ดงันี้ 
• 1.กลมุ่แข็งเกร็ง(สปาสตกิ : spastic) 
พบมากทสี่ดุ โดยกล้ามเนื้อจะมีความตงึตัวมาก 
ผิดปกติทำาให้มีอาการเกร็ง 
• 2.กลุ่มที่มีการเคลื่อนไหวที่เกิดขึ้นเอง(อะธี 
ตอยด์ : athetoid ; อะแทกเซีย : ataxia) 
• 3.กลุ่มอาการผสมกัน(mixed type) 
Free Powerpoint Templates Page 76
ปัญหาและความผิดปกติที่เกิดร่วมกับเด็กสมองพิการ 
• 1. ภาวะปัญญาอ่อน 
• 2. ด้านการรับรู้ เรียนรู้และความคิด 
• 3. ด้านอารมณแ์ละสงัคม 
• 4. โรคลมชัก พบว่าประมาณ ร้อยละ 20-50 
• 5. ด้านการมองเห็น ตาเหล่ร้อยละ 20-60 
Free Powerpoint Templates Page 77
ปัญหาและความผิดปกติที่เกิดร่วมกับเด็กสมองพิการ 
• 6. ด้านการได้ยิน ควรพดูอย่างนิ่มนวล พดูซำ้าๆ ถ้า 
ตะโกนอาจทำาให้เด็กตกใจกลัว ร้องไห้ 
• 7. การสอื่ความหมาย 
• 8. ด้านกระดูก เด็กสมองพิการมกัจะพบการหลุดออก 
จากที่(dislocation) หรือการเคลื่อนออกจากที่บาง 
ส่วน(subluxation) ของข้อต่อต่างๆของร่างกาย 
• 9. ด้านฟันและร่องปาก ปญัหาฟันผุได้บอ่ย เนื่องจาก 
การดูแลรักษาความสะอาดฟันและช่องปากทำาได้ยาก 
ลำาบาก เด็กไม่สามารถอ้าปากหรือบ้วนนำ้าเองได้ 
Free Powerpoint Templates Page 78
ปัญหาโรคในช่องปากของผู้ป่วยสมอง 
พิการ 
• การดูแลช่องปากที่ลำาบากร่วมกับขา 
กรรไกรทเี่ตบิโตผิดปกติ ทำาให้เกดิฟนัผุ 
และเหงือกอักเสบได้มาก 
• การกัดฟนั(bruxism)และ ขบเน้นฟนั 
(tooth clenching) 
• ฟันหน้าหักหรือหลุกจากช่องปาก (หกล้ม 
ง่าย) 
• แนวโน้ม class II malocclusion 
Free Powerpoint Templates Page 79
การจัดการเพื่อการรักษาทางทันตกรรมใน 
ผู้ป่วยสมองพิการ 
• ควรจัดเก้าอี้ผู้ป่วยในตำาแหน่งที่ทันตแพทย์ 
จะทำาการรักษากอ่นจะวางเด็กลงบนเก้าอี้ 
ทนัตแพทย์ไม่ตอ้งปรับเก้าอใี้ห้เอนลงอกี 
• การปรับเก้าอี้จะทำาให้เด็กตกใจและเกิด 
การเกร็งของกล้ามเนอื้มากขึ้น 
• ไม่ทิ้งผู้ป่วยอยู่บนเก้าอี้ตามลำาพังโดยเด็ด 
ขาด 
Free Powerpoint Templates Page 80
การจัดการเพื่อการรักษาทางทันตกรรมใน 
ผู้ป่วยสมองพิการ 
• ประเมินความสามารถของการทรงตัว 
• และการเคลื่อนไหวของเด็กว่า อ้าปากได้หรือไม่ มีการก 
ระตุกของแขน-ขาหรือไม่ 
• อาจต้องมีการควบคุมการเคลื่อนไหวของร่างกายด้วยชุด 
ควบคุมการเคลื่อนไหวของร่างกาย (Papoose board) 
• ต้องรัดไม่แน่นจนเกินไปและไม่ฝืนตำาแหน่งปกติของ 
แขน-ขาของผปู้่วย 
• การตรวจฟันครั้งแรก ควรเริ่มด้วยการใช้กระจกสอ่งปาก 
เพียงอย่างเดียวก่อน 
Free Powerpoint Templates Page 81
การจัดการเพื่อการรักษาทางทันตกรรมใน 
ผู้ป่วยสมองพิการ 
• ควรใช้ยาชาเฉพาะที่ชนิดออกฤทธริ์ะยะสนั้ เนื่องจาก 
เด็กอาจกัดปากเป็น 
• ใช้ Mouth gag ช่วยอ้าปากผปู้่วยและต้องควบคุมศีรษะ 
ของเด็กให้นิ่งในขณะกรอฟัน 
• ต้องมีผู้ช่วยทันตแพทย์อีก 1 คนช่วยประคองศีรษะของผู้ 
ป่วยให้อยู่นิ่ง Mouth gag ต้องไม่กดแก้มและริมฝีปาก 
• ใช้เครื่องดูดนำ้าลายความเร็วสูงคอยดูดนำ้าลาย หรือ 
เสมหะตลอดจนนำ้าจากหัวกรอมิให้ไหลลงคอผปู้่วย มิให้ 
ผู้ป่วยสำาลักนำ้า เนื่องจากผปู้่วยไม่สามารถควบคุมการ 
กลืน จึงสำาลักนำ้าได้ง่าย 
Free Powerpoint Templates Page 82
การจัดการเพื่อการรักษาทางทันตกรรมใน 
ผู้ป่วยสมองพิการ 
• เด็กสมองพิการบางคนที่ไม่ให้ความร่วมมือ ร้องไห้มาก 
มักจะเกร็งตัว กลั้นหายใจจนเกิดอาการเขียวได้ 
• ต้องซักซ้อมและมีอุปกรณ์ช่วยฟื้นคืนชีพ เครื่องช่วย 
หายใจ ถังออกซิเจนพร้อม เพื่อช่วยแก้ไขภาวะสมอง 
ขาดออกซิเจน 
• ขณะทำาการรักษา ทั้งทันตแพทย์ และผู้ช่วยทันตแพทย์ 
ต้องคอยสังเกตสีหน้า สขีองเนื้อเยื่อช่องปากและ 
ปฏิกิริยาของผู้ป่วย 
Free Powerpoint Templates Page 83
การจัดการเพื่อการรักษาทางทันตกรรมใน 
ผู้ป่วยสมองพิการ 
• ทันตกรรมป้องกันเป็นสิ่งที่มีความจำาเป็นและมีคุณค่า 
มากกว่าการรักษา เนื่องจากเด็กมีขีดจำากัดของความ 
อดทนและความสามารถในการร่วมมือ 
• ต้องประเมินความสามารถของผู้ป่วยว่าช่วยตัวเองได้ 
มากน้อยเพียงไร แปรงฟันด้วยตัวเองได้หรือไม่หรือต้อง 
ให้ผปู้กครองช่วยเหลือ 
• ต้องแนะนำา ประยุกต์วิธีการแปรงฟันตลอดจนรูปร่างของ 
แปรงให้เหมาะสมกับผู้ป่วย 
Free Powerpoint Templates Page 84
การคัดกรองก่อนให้บริการ 
• ด้านร่างกาย 
– โรคประจำาตัว 
– ข้อควรระวังในแต่ละความพิการในการให้บริการทันต 
กรรม 
• ด้านพฤติกรรม 
– ความเสี่ยงของระดับพฤติกรรม 
– การจัดการพฤติกรรมสำาหรับความพิการแต่ละประเภท 
ในการให้บริการ 
Free Powerpoint Templates Page 85
Free Powerpoint Templates Page 86

More Related Content

What's hot

อบรมสอ.อสมป่าบอน
อบรมสอ.อสมป่าบอนอบรมสอ.อสมป่าบอน
อบรมสอ.อสมป่าบอน
Ballista Pg
 
ทันตสุขศึกษาฟันน้ำนม
ทันตสุขศึกษาฟันน้ำนมทันตสุขศึกษาฟันน้ำนม
ทันตสุขศึกษาฟันน้ำนม
Ballista Pg
 
โรคปริทันต์
โรคปริทันต์โรคปริทันต์
โรคปริทันต์
Ballista Pg
 
สุขภาพในช่องปาก ตอน โรคฟันผุ
สุขภาพในช่องปาก ตอน โรคฟันผุสุขภาพในช่องปาก ตอน โรคฟันผุ
สุขภาพในช่องปาก ตอน โรคฟันผุtechno UCH
 
งานส่งเสริมทันตสุขภาพและป้องกันโรคช่องปาก
งานส่งเสริมทันตสุขภาพและป้องกันโรคช่องปากงานส่งเสริมทันตสุขภาพและป้องกันโรคช่องปาก
งานส่งเสริมทันตสุขภาพและป้องกันโรคช่องปากtechno UCH
 
การควบคุมและป้องกันฟันผุ
การควบคุมและป้องกันฟันผุ การควบคุมและป้องกันฟันผุ
การควบคุมและป้องกันฟันผุ Dr.Ratchaneewan Sinawat Poomsa-ad
 
อาการที่สําคัญในผู้สูงอายุ
อาการที่สําคัญในผู้สูงอายุอาการที่สําคัญในผู้สูงอายุ
อาการที่สําคัญในผู้สูงอายุ
Utai Sukviwatsirikul
 
การตรวจคัดกรองสุขภาพช่องปากสี่สี-คนพิการ
การตรวจคัดกรองสุขภาพช่องปากสี่สี-คนพิการ การตรวจคัดกรองสุขภาพช่องปากสี่สี-คนพิการ
การตรวจคัดกรองสุขภาพช่องปากสี่สี-คนพิการ
Nithimar Or
 
Sealant
SealantSealant
Sealant
Ballista Pg
 
ทันตกรรมป้องกันในเด็กและวัยรุ่น
ทันตกรรมป้องกันในเด็กและวัยรุ่น ทันตกรรมป้องกันในเด็กและวัยรุ่น
ทันตกรรมป้องกันในเด็กและวัยรุ่น
dentyomaraj
 
การเกิดปริทันต์ในผู้ป่วยโรคเบาหวาน
การเกิดปริทันต์ในผู้ป่วยโรคเบาหวานการเกิดปริทันต์ในผู้ป่วยโรคเบาหวาน
การเกิดปริทันต์ในผู้ป่วยโรคเบาหวาน
TangMa Salee
 
การใช้ยาในผู้สูงอายุ
การใช้ยาในผู้สูงอายุการใช้ยาในผู้สูงอายุ
การใช้ยาในผู้สูงอายุ
Sirinoot Jantharangkul
 
ไม่ล้มไม่ลืม
ไม่ล้มไม่ลืมไม่ล้มไม่ลืม
ไม่ล้มไม่ลืม
Utai Sukviwatsirikul
 
ฟันคุด1 แผ่นพับ
ฟันคุด1 แผ่นพับฟันคุด1 แผ่นพับ
ฟันคุด1 แผ่นพับdentyomaraj
 
โรคเบาหวาน
โรคเบาหวานโรคเบาหวาน
โรคเบาหวานweerawatkatsiri
 
แนวทางการบริโภคอาหารสำหรับผู้สูงอายุ
แนวทางการบริโภคอาหารสำหรับผู้สูงอายุแนวทางการบริโภคอาหารสำหรับผู้สูงอายุ
แนวทางการบริโภคอาหารสำหรับผู้สูงอายุDashodragon KaoKaen
 
สุขภาพผู้สูงอายุ
สุขภาพผู้สูงอายุสุขภาพผู้สูงอายุ
สุขภาพผู้สูงอายุ
Utai Sukviwatsirikul
 
6 พฤติกรรมสุขภาพ
6 พฤติกรรมสุขภาพ6 พฤติกรรมสุขภาพ
6 พฤติกรรมสุขภาพWatcharin Chongkonsatit
 

What's hot (20)

อบรมสอ.อสมป่าบอน
อบรมสอ.อสมป่าบอนอบรมสอ.อสมป่าบอน
อบรมสอ.อสมป่าบอน
 
ทันตสุขศึกษาฟันน้ำนม
ทันตสุขศึกษาฟันน้ำนมทันตสุขศึกษาฟันน้ำนม
ทันตสุขศึกษาฟันน้ำนม
 
โรคปริทันต์
โรคปริทันต์โรคปริทันต์
โรคปริทันต์
 
สุขภาพในช่องปาก ตอน โรคฟันผุ
สุขภาพในช่องปาก ตอน โรคฟันผุสุขภาพในช่องปาก ตอน โรคฟันผุ
สุขภาพในช่องปาก ตอน โรคฟันผุ
 
งานส่งเสริมทันตสุขภาพและป้องกันโรคช่องปาก
งานส่งเสริมทันตสุขภาพและป้องกันโรคช่องปากงานส่งเสริมทันตสุขภาพและป้องกันโรคช่องปาก
งานส่งเสริมทันตสุขภาพและป้องกันโรคช่องปาก
 
ปริทันต์
ปริทันต์ปริทันต์
ปริทันต์
 
การควบคุมและป้องกันฟันผุ
การควบคุมและป้องกันฟันผุ การควบคุมและป้องกันฟันผุ
การควบคุมและป้องกันฟันผุ
 
อาการที่สําคัญในผู้สูงอายุ
อาการที่สําคัญในผู้สูงอายุอาการที่สําคัญในผู้สูงอายุ
อาการที่สําคัญในผู้สูงอายุ
 
การตรวจคัดกรองสุขภาพช่องปากสี่สี-คนพิการ
การตรวจคัดกรองสุขภาพช่องปากสี่สี-คนพิการ การตรวจคัดกรองสุขภาพช่องปากสี่สี-คนพิการ
การตรวจคัดกรองสุขภาพช่องปากสี่สี-คนพิการ
 
Sealant
SealantSealant
Sealant
 
ทันตกรรมป้องกันในเด็กและวัยรุ่น
ทันตกรรมป้องกันในเด็กและวัยรุ่น ทันตกรรมป้องกันในเด็กและวัยรุ่น
ทันตกรรมป้องกันในเด็กและวัยรุ่น
 
การเกิดปริทันต์ในผู้ป่วยโรคเบาหวาน
การเกิดปริทันต์ในผู้ป่วยโรคเบาหวานการเกิดปริทันต์ในผู้ป่วยโรคเบาหวาน
การเกิดปริทันต์ในผู้ป่วยโรคเบาหวาน
 
การใช้ยาในผู้สูงอายุ
การใช้ยาในผู้สูงอายุการใช้ยาในผู้สูงอายุ
การใช้ยาในผู้สูงอายุ
 
ไม่ล้มไม่ลืม
ไม่ล้มไม่ลืมไม่ล้มไม่ลืม
ไม่ล้มไม่ลืม
 
Plaque control53
Plaque control53Plaque control53
Plaque control53
 
ฟันคุด1 แผ่นพับ
ฟันคุด1 แผ่นพับฟันคุด1 แผ่นพับ
ฟันคุด1 แผ่นพับ
 
โรคเบาหวาน
โรคเบาหวานโรคเบาหวาน
โรคเบาหวาน
 
แนวทางการบริโภคอาหารสำหรับผู้สูงอายุ
แนวทางการบริโภคอาหารสำหรับผู้สูงอายุแนวทางการบริโภคอาหารสำหรับผู้สูงอายุ
แนวทางการบริโภคอาหารสำหรับผู้สูงอายุ
 
สุขภาพผู้สูงอายุ
สุขภาพผู้สูงอายุสุขภาพผู้สูงอายุ
สุขภาพผู้สูงอายุ
 
6 พฤติกรรมสุขภาพ
6 พฤติกรรมสุขภาพ6 พฤติกรรมสุขภาพ
6 พฤติกรรมสุขภาพ
 

Similar to การส่งเสริมสุขภาพช่องปากคนพิการ

Special dentistry
Special dentistrySpecial dentistry
Special dentistry
Nithimar Or
 
Slide ความรู้ด้านการเตรียมสุขภาพช่องปากและฟัน Oral hygiene สำหรับผู้ป่วยปากแ...
Slide ความรู้ด้านการเตรียมสุขภาพช่องปากและฟัน Oral hygiene  สำหรับผู้ป่วยปากแ...Slide ความรู้ด้านการเตรียมสุขภาพช่องปากและฟัน Oral hygiene  สำหรับผู้ป่วยปากแ...
Slide ความรู้ด้านการเตรียมสุขภาพช่องปากและฟัน Oral hygiene สำหรับผู้ป่วยปากแ...
cmucraniofacial
 
ผลงานเครือข่ายสร้างเสริมสุขภาพช่องปากคนพิการ
ผลงานเครือข่ายสร้างเสริมสุขภาพช่องปากคนพิการ ผลงานเครือข่ายสร้างเสริมสุขภาพช่องปากคนพิการ
ผลงานเครือข่ายสร้างเสริมสุขภาพช่องปากคนพิการ
Nithimar Or
 
1281507500 sex 3
1281507500 sex 31281507500 sex 3
1281507500 sex 3Nok Tiwung
 
PC02 :Assessment in PC
PC02 :Assessment in PCPC02 :Assessment in PC
PC02 :Assessment in PC
CAPD AngThong
 
Oral Health Ponetong
Oral Health PonetongOral Health Ponetong
Oral Health Ponetong
Nithimar Or
 
บทที่1 โครงการอ่านหนังสือให้กับผู้พิการทางสายตา
บทที่1 โครงการอ่านหนังสือให้กับผู้พิการทางสายตาบทที่1 โครงการอ่านหนังสือให้กับผู้พิการทางสายตา
บทที่1 โครงการอ่านหนังสือให้กับผู้พิการทางสายตา
Kull Ch.
 
Ummoa101
Ummoa101Ummoa101
Ummoa101
Nithimar Or
 
เด็กที่มีปัญหาทางการเรียนรู้
เด็กที่มีปัญหาทางการเรียนรู้เด็กที่มีปัญหาทางการเรียนรู้
เด็กที่มีปัญหาทางการเรียนรู้Atima Teraksee
 
เด็กพิการซ้ำซ็อน
เด็กพิการซ้ำซ็อนเด็กพิการซ้ำซ็อน
เด็กพิการซ้ำซ็อนDarika Roopdee
 
Guideline in child_health_supervision
Guideline in child_health_supervisionGuideline in child_health_supervision
Guideline in child_health_supervision
Utai Sukviwatsirikul
 
โครงการอ่านหนังสือให้กับผู้พิการทางสายตา
โครงการอ่านหนังสือให้กับผู้พิการทางสายตาโครงการอ่านหนังสือให้กับผู้พิการทางสายตา
โครงการอ่านหนังสือให้กับผู้พิการทางสายตา
พัน พัน
 
นวัตกรรม " พัฒนาระบบการดูแลคนพิการชุมชนคนปากน้ำ "
นวัตกรรม " พัฒนาระบบการดูแลคนพิการชุมชนคนปากน้ำ "นวัตกรรม " พัฒนาระบบการดูแลคนพิการชุมชนคนปากน้ำ "
นวัตกรรม " พัฒนาระบบการดูแลคนพิการชุมชนคนปากน้ำ "
Yanee Tongmanee
 
จุดเน้นที่ 4
จุดเน้นที่ 4จุดเน้นที่ 4
จุดเน้นที่ 4Suwakhon Phus
 
เรื่องฟัน
เรื่องฟันเรื่องฟัน
เรื่องฟันan1030
 
เรื่องฟันฟัน
เรื่องฟันฟันเรื่องฟันฟัน
เรื่องฟันฟันan1030
 

Similar to การส่งเสริมสุขภาพช่องปากคนพิการ (20)

Special dentistry
Special dentistrySpecial dentistry
Special dentistry
 
Slide ความรู้ด้านการเตรียมสุขภาพช่องปากและฟัน Oral hygiene สำหรับผู้ป่วยปากแ...
Slide ความรู้ด้านการเตรียมสุขภาพช่องปากและฟัน Oral hygiene  สำหรับผู้ป่วยปากแ...Slide ความรู้ด้านการเตรียมสุขภาพช่องปากและฟัน Oral hygiene  สำหรับผู้ป่วยปากแ...
Slide ความรู้ด้านการเตรียมสุขภาพช่องปากและฟัน Oral hygiene สำหรับผู้ป่วยปากแ...
 
ผลงานเครือข่ายสร้างเสริมสุขภาพช่องปากคนพิการ
ผลงานเครือข่ายสร้างเสริมสุขภาพช่องปากคนพิการ ผลงานเครือข่ายสร้างเสริมสุขภาพช่องปากคนพิการ
ผลงานเครือข่ายสร้างเสริมสุขภาพช่องปากคนพิการ
 
1281507500 sex 3
1281507500 sex 31281507500 sex 3
1281507500 sex 3
 
สุขศึกษา
สุขศึกษาสุขศึกษา
สุขศึกษา
 
PC02 :Assessment in PC
PC02 :Assessment in PCPC02 :Assessment in PC
PC02 :Assessment in PC
 
Oral Health Ponetong
Oral Health PonetongOral Health Ponetong
Oral Health Ponetong
 
บทที่1 โครงการอ่านหนังสือให้กับผู้พิการทางสายตา
บทที่1 โครงการอ่านหนังสือให้กับผู้พิการทางสายตาบทที่1 โครงการอ่านหนังสือให้กับผู้พิการทางสายตา
บทที่1 โครงการอ่านหนังสือให้กับผู้พิการทางสายตา
 
โครงการ จ ตอาสาพาน องแปรงฟ_น
โครงการ จ ตอาสาพาน องแปรงฟ_นโครงการ จ ตอาสาพาน องแปรงฟ_น
โครงการ จ ตอาสาพาน องแปรงฟ_น
 
Dental assistant course2
Dental assistant course2Dental assistant course2
Dental assistant course2
 
Dental assistant course MU
Dental assistant course MUDental assistant course MU
Dental assistant course MU
 
Ummoa101
Ummoa101Ummoa101
Ummoa101
 
เด็กที่มีปัญหาทางการเรียนรู้
เด็กที่มีปัญหาทางการเรียนรู้เด็กที่มีปัญหาทางการเรียนรู้
เด็กที่มีปัญหาทางการเรียนรู้
 
เด็กพิการซ้ำซ็อน
เด็กพิการซ้ำซ็อนเด็กพิการซ้ำซ็อน
เด็กพิการซ้ำซ็อน
 
Guideline in child_health_supervision
Guideline in child_health_supervisionGuideline in child_health_supervision
Guideline in child_health_supervision
 
โครงการอ่านหนังสือให้กับผู้พิการทางสายตา
โครงการอ่านหนังสือให้กับผู้พิการทางสายตาโครงการอ่านหนังสือให้กับผู้พิการทางสายตา
โครงการอ่านหนังสือให้กับผู้พิการทางสายตา
 
นวัตกรรม " พัฒนาระบบการดูแลคนพิการชุมชนคนปากน้ำ "
นวัตกรรม " พัฒนาระบบการดูแลคนพิการชุมชนคนปากน้ำ "นวัตกรรม " พัฒนาระบบการดูแลคนพิการชุมชนคนปากน้ำ "
นวัตกรรม " พัฒนาระบบการดูแลคนพิการชุมชนคนปากน้ำ "
 
จุดเน้นที่ 4
จุดเน้นที่ 4จุดเน้นที่ 4
จุดเน้นที่ 4
 
เรื่องฟัน
เรื่องฟันเรื่องฟัน
เรื่องฟัน
 
เรื่องฟันฟัน
เรื่องฟันฟันเรื่องฟันฟัน
เรื่องฟันฟัน
 

การส่งเสริมสุขภาพช่องปากคนพิการ