SlideShare a Scribd company logo
โรคฟันผุ                             ระยะของการเกิดฟันผุ และการรักษา
            (Dental Caries)                     ระยะที่ 1 ฟันผุระยะเริ่มแรก
                                                ลักษณะ เป็นรอยสีดาตามหลุมร่องฟัน หรือ
    เป็นโรคที่ ฟันถูกทาลาย เกิดจาก              เห็นผิวฟันเป็นสีขาวขุ่น ยังไม่เป็นรู และไม่มี
การสลายแร่ธาตุของชั้นเคลือบฟันและเนื้อฟัน       อาการใดๆ
                                                การดูแลรักษา การแปรงฟันที่ดีและการใช้
                                                ฟลูออไรด์จะสามารถช่วยป้องกันไม่ให้เกิ ด
                                                การลุกลามของฟันผุได้                            ระยะที่ 3 ฟันผุลุกลามถึงโพรงประสาทฟัน
                                                                                                ลักษณะ มีอาการ ปวดฟันเวลาทานน้าร้อน
                                                                                                น้าเย็น หรือเวลาทานอาหาร หรือ ปวดฟัน
                                                                                                ตลอดเวลา และมีอาการปวดมากขึ้น
                                                                                                ในเวลากลางคืน
                                                                                                การดูแลรักษา รักษาคลองรากฟั นและบูรณะ
     สาเหตุ เกิดจากเชือแบคทีเรียที่ย่อยสลาย
                      ้                                                                         ฟันตามความเหมาะสม หรือ ถอนฟันและใส่ฟัน
น้าตาลที่เรากินเข้าไป ทาให้ได้กรด ซึ่ งกรดนี้                                                   ปลอมทดแทน
จะทาให้ชั้นเคลือบฟันและเนื้อฟันถูกทาลาย
จนกลายเป็นโรคฟันผุในที่สุด
                                                ระยะที่ 2 ฟันผุที่ลุกลามถึงชั้นเนื้อฟัน
                                                ลักษณะ ฟันมีสีดาและเป็นรู ชัดเจน บางครั้ง
                                                อาจไม่มีอาการ หรื่ออาจ เริ่ม มีอาการเสียวฟัน
                                                หรือปวดฟัน มีอาหารเข้าไปอุดในรู
                                                การดูแลรักษา อุดฟัน หรือ ครอบฟัน
ระยะที่ 4 ฟันผุทะลุโพรงประสาทฟันและเชื้อ            การป้องกันการเกิดฟันผุ
ลุกลามเข้าสู่ปลายรากฟัน
ลักษณะ ปวดฟันเวลาเคี้ยวอาหาร และอาจมีรู
เปิดของตุ่มหนองบริเวณเหงือกใกล้เคียงกับ
ฟันที่ผุ หรือ บวมบริเวณใบหน้า และเป็นไข้
                                           1. การแปรงฟันที่ถูกวิธีร่วมกับการใช้
                                           ไหมขัดฟันทาความสะ อาดซอกฟัน อย่างน้อย
                                           วันละ 2 ครั้ง
                                                                                           โรคฟันผุ
ถ้ามีการสะสมของหนองในช่องว่าง ใบหน้า มาก   2. หลีกเลี่ยงการกินอาหารหวาน เหนียว และ
อาจทาให้หายใจลาบากและเสียชีวิตได้          ติดฟันง่าย
การรักษา รักษารากฟัน หรือถอนฟัน และ         3. หลีกเลี่ยงการกินจุบกินจิบ ไม่เป็นเวลา
หากมีการสะสมของหนองบริเวณช่องว่าง          เนื่องจาก จะทาให้ช่องปากมีสภาวะที่เป็นกรด
ใบหน้าอาจต้องมีการเปิดระบายหนองร่วมด้วย    อยู่ตลอดเวลา จึงทาให้เกิดฟันผุได้ง่าย
                                           3. การใช้ฟลูออไรด์ ซึ่งผสมอยู่ในยาสีฟันหรือ
                                           น้ายาบ้วน ปาก และการเคลือบฟลูออไรด์
                                           โดยทันตแพทย์ทุก 6           เดือน จะช่วยให้
                                           เคลือบฟันมีความแข็งแรงมากขึ้นและ
                                           ทนต่อการสลายแร่ธาตุของกรด
                                           4. พบทันตแพทย์เป็นประจาอย่างน้อย
                                           ทุก 6 เดือน เพื่อทาการตรวจสภาพช่องปาก
                                           จะสามารถทาให้รักษาได้ทันท่วงที



                                                                                         เรื่องน่ารู้เกี่ยวกับ “โรคฟันผุ”
                                                            จัดทาโดย                     ฟันผุ... มีสาเหตุมาจากอะไร ?
                                               กลุ่มงานทันตกรรม โรงพยาบาลป่าบอน          ฟันผุ... มีลักษะอย่างไร ?
                                              หมายเลขติดต่อ : 074 – 625099 ต่อ 115       ฟันผุ... สามารถป้องกันได้อย่างไร ?

More Related Content

What's hot

งานส่งเสริมทันตสุขภาพและป้องกันโรคช่องปาก
งานส่งเสริมทันตสุขภาพและป้องกันโรคช่องปากงานส่งเสริมทันตสุขภาพและป้องกันโรคช่องปาก
งานส่งเสริมทันตสุขภาพและป้องกันโรคช่องปากtechno UCH
 
อบรมผู้ปกครองศูนย์เด็ก
อบรมผู้ปกครองศูนย์เด็กอบรมผู้ปกครองศูนย์เด็ก
อบรมผู้ปกครองศูนย์เด็ก
Ballista Pg
 
การดูแลสุขภาพช่องปากในผู้ป่วยเบาหวาน หน้า ๑ ,แผ่นพับ
การดูแลสุขภาพช่องปากในผู้ป่วยเบาหวาน หน้า ๑ ,แผ่นพับ การดูแลสุขภาพช่องปากในผู้ป่วยเบาหวาน หน้า ๑ ,แผ่นพับ
การดูแลสุขภาพช่องปากในผู้ป่วยเบาหวาน หน้า ๑ ,แผ่นพับ
dentyomaraj
 
โรคปริทันต์
โรคปริทันต์โรคปริทันต์
โรคปริทันต์
Ballista Pg
 
ทันตกรรมป้องกันในเด็กและวัยรุ่น
ทันตกรรมป้องกันในเด็กและวัยรุ่น ทันตกรรมป้องกันในเด็กและวัยรุ่น
ทันตกรรมป้องกันในเด็กและวัยรุ่น
dentyomaraj
 
การควบคุมและป้องกันฟันผุ
การควบคุมและป้องกันฟันผุ การควบคุมและป้องกันฟันผุ
การควบคุมและป้องกันฟันผุ Dr.Ratchaneewan Sinawat Poomsa-ad
 
การตรวจคัดกรองสุขภาพช่องปากสี่สี-คนพิการ
การตรวจคัดกรองสุขภาพช่องปากสี่สี-คนพิการ การตรวจคัดกรองสุขภาพช่องปากสี่สี-คนพิการ
การตรวจคัดกรองสุขภาพช่องปากสี่สี-คนพิการ
Nithimar Or
 
ฟันคุด1 แผ่นพับ
ฟันคุด1 แผ่นพับฟันคุด1 แผ่นพับ
ฟันคุด1 แผ่นพับdentyomaraj
 
การทาฟลูออไรด์วานิช
การทาฟลูออไรด์วานิชการทาฟลูออไรด์วานิช
การทาฟลูออไรด์วานิช
Ballista Pg
 
การส่งเสริมสุขภาพช่องปากคนพิการ
การส่งเสริมสุขภาพช่องปากคนพิการการส่งเสริมสุขภาพช่องปากคนพิการ
การส่งเสริมสุขภาพช่องปากคนพิการ
Pattima Burapholkul
 
Ppt. คุณแม่วัยใส
Ppt. คุณแม่วัยใสPpt. คุณแม่วัยใส
Ppt. คุณแม่วัยใส
Prachaya Sriswang
 
Ppt.เพศ
Ppt.เพศPpt.เพศ
Ppt.เพศ
Prachaya Sriswang
 
โรคติดต่อที่สำคัญในเด็ก
โรคติดต่อที่สำคัญในเด็กโรคติดต่อที่สำคัญในเด็ก
โรคติดต่อที่สำคัญในเด็ก
ยุทธกิจ สัตยาวุธ
 
อาการที่สําคัญในผู้สูงอายุ
อาการที่สําคัญในผู้สูงอายุอาการที่สําคัญในผู้สูงอายุ
อาการที่สําคัญในผู้สูงอายุ
Utai Sukviwatsirikul
 
ปัญหาท้องในวัยเรียน
ปัญหาท้องในวัยเรียนปัญหาท้องในวัยเรียน
ปัญหาท้องในวัยเรียน
Kornnicha Wonglai
 
ฟันปลอม
ฟันปลอมฟันปลอม
ฟันปลอม
Ballista Pg
 
โรคมือเท้าปาก
โรคมือเท้าปาก โรคมือเท้าปาก
โรคมือเท้าปาก sivapong klongpanich
 
จัดฟันแฟชั่น
จัดฟันแฟชั่นจัดฟันแฟชั่น
จัดฟันแฟชั่น
Ballista Pg
 

What's hot (20)

งานส่งเสริมทันตสุขภาพและป้องกันโรคช่องปาก
งานส่งเสริมทันตสุขภาพและป้องกันโรคช่องปากงานส่งเสริมทันตสุขภาพและป้องกันโรคช่องปาก
งานส่งเสริมทันตสุขภาพและป้องกันโรคช่องปาก
 
อบรมผู้ปกครองศูนย์เด็ก
อบรมผู้ปกครองศูนย์เด็กอบรมผู้ปกครองศูนย์เด็ก
อบรมผู้ปกครองศูนย์เด็ก
 
การดูแลสุขภาพช่องปากในผู้ป่วยเบาหวาน หน้า ๑ ,แผ่นพับ
การดูแลสุขภาพช่องปากในผู้ป่วยเบาหวาน หน้า ๑ ,แผ่นพับ การดูแลสุขภาพช่องปากในผู้ป่วยเบาหวาน หน้า ๑ ,แผ่นพับ
การดูแลสุขภาพช่องปากในผู้ป่วยเบาหวาน หน้า ๑ ,แผ่นพับ
 
โรคปริทันต์
โรคปริทันต์โรคปริทันต์
โรคปริทันต์
 
ทันตกรรมป้องกันในเด็กและวัยรุ่น
ทันตกรรมป้องกันในเด็กและวัยรุ่น ทันตกรรมป้องกันในเด็กและวัยรุ่น
ทันตกรรมป้องกันในเด็กและวัยรุ่น
 
การควบคุมและป้องกันฟันผุ
การควบคุมและป้องกันฟันผุ การควบคุมและป้องกันฟันผุ
การควบคุมและป้องกันฟันผุ
 
การตรวจคัดกรองสุขภาพช่องปากสี่สี-คนพิการ
การตรวจคัดกรองสุขภาพช่องปากสี่สี-คนพิการ การตรวจคัดกรองสุขภาพช่องปากสี่สี-คนพิการ
การตรวจคัดกรองสุขภาพช่องปากสี่สี-คนพิการ
 
ฟันคุด1 แผ่นพับ
ฟันคุด1 แผ่นพับฟันคุด1 แผ่นพับ
ฟันคุด1 แผ่นพับ
 
การทาฟลูออไรด์วานิช
การทาฟลูออไรด์วานิชการทาฟลูออไรด์วานิช
การทาฟลูออไรด์วานิช
 
ปริทันต์
ปริทันต์ปริทันต์
ปริทันต์
 
การส่งเสริมสุขภาพช่องปากคนพิการ
การส่งเสริมสุขภาพช่องปากคนพิการการส่งเสริมสุขภาพช่องปากคนพิการ
การส่งเสริมสุขภาพช่องปากคนพิการ
 
Ppt. คุณแม่วัยใส
Ppt. คุณแม่วัยใสPpt. คุณแม่วัยใส
Ppt. คุณแม่วัยใส
 
Ppt.เพศ
Ppt.เพศPpt.เพศ
Ppt.เพศ
 
Plaque control53
Plaque control53Plaque control53
Plaque control53
 
โรคติดต่อที่สำคัญในเด็ก
โรคติดต่อที่สำคัญในเด็กโรคติดต่อที่สำคัญในเด็ก
โรคติดต่อที่สำคัญในเด็ก
 
อาการที่สําคัญในผู้สูงอายุ
อาการที่สําคัญในผู้สูงอายุอาการที่สําคัญในผู้สูงอายุ
อาการที่สําคัญในผู้สูงอายุ
 
ปัญหาท้องในวัยเรียน
ปัญหาท้องในวัยเรียนปัญหาท้องในวัยเรียน
ปัญหาท้องในวัยเรียน
 
ฟันปลอม
ฟันปลอมฟันปลอม
ฟันปลอม
 
โรคมือเท้าปาก
โรคมือเท้าปาก โรคมือเท้าปาก
โรคมือเท้าปาก
 
จัดฟันแฟชั่น
จัดฟันแฟชั่นจัดฟันแฟชั่น
จัดฟันแฟชั่น
 

Similar to โรคฟันผุ

คลองรากฟันนั้นสำคัญไฉน? แผ่นพับ ๒ หน้า
คลองรากฟันนั้นสำคัญไฉน? แผ่นพับ ๒ หน้าคลองรากฟันนั้นสำคัญไฉน? แผ่นพับ ๒ หน้า
คลองรากฟันนั้นสำคัญไฉน? แผ่นพับ ๒ หน้า
dentyomaraj
 
ทันตสุขภาพคนพิการ รพช.เวียงแก่น ปี53
ทันตสุขภาพคนพิการ รพช.เวียงแก่น ปี53ทันตสุขภาพคนพิการ รพช.เวียงแก่น ปี53
ทันตสุขภาพคนพิการ รพช.เวียงแก่น ปี53
Nithimar Or
 
Endodontic or root canal treatment knowledge, panpub
Endodontic or root canal treatment knowledge, panpubEndodontic or root canal treatment knowledge, panpub
Endodontic or root canal treatment knowledge, panpub
dentyomaraj
 
ทันตกรรมจัดฟัน
ทันตกรรมจัดฟันทันตกรรมจัดฟัน
ทันตกรรมจัดฟัน
OporfunJubJub
 
ทันตกรรมจัดฟัน
ทันตกรรมจัดฟัน ทันตกรรมจัดฟัน
ทันตกรรมจัดฟัน
OporfunJubJub
 
Special dentistry
Special dentistrySpecial dentistry
Special dentistry
Nithimar Or
 
ฟอกสีฟันแล้วจะอยู่ได้นานแค่ไหน
ฟอกสีฟันแล้วจะอยู่ได้นานแค่ไหนฟอกสีฟันแล้วจะอยู่ได้นานแค่ไหน
ฟอกสีฟันแล้วจะอยู่ได้นานแค่ไหน
thesmilebar_0
 
เรื่อง โรคปากนกกระจอก
เรื่อง โรคปากนกกระจอกเรื่อง โรคปากนกกระจอก
เรื่อง โรคปากนกกระจอกEarng Munlika
 
รักษาฟันให้แข็งแรงและแปรงฟัน
รักษาฟันให้แข็งแรงและแปรงฟันรักษาฟันให้แข็งแรงและแปรงฟัน
รักษาฟันให้แข็งแรงและแปรงฟันnorthnua
 
การฟอกสีฟัน
การฟอกสีฟันการฟอกสีฟัน
การฟอกสีฟันปอ ปลา
 
รักษาฟันให้แข็งแรงและแปรงฟันอย่าง
รักษาฟันให้แข็งแรงและแปรงฟันอย่างรักษาฟันให้แข็งแรงและแปรงฟันอย่าง
รักษาฟันให้แข็งแรงและแปรงฟันอย่างnorthnua
 
รักษาฟันให้แข็งแรงและแปรงฟันอย่าง
รักษาฟันให้แข็งแรงและแปรงฟันอย่างรักษาฟันให้แข็งแรงและแปรงฟันอย่าง
รักษาฟันให้แข็งแรงและแปรงฟันอย่างnorthnua
 
เรื่องฟัน
เรื่องฟันเรื่องฟัน
เรื่องฟันan1030
 
เรื่องฟันฟัน
เรื่องฟันฟันเรื่องฟันฟัน
เรื่องฟันฟันan1030
 
FinalProject-Chutimon
FinalProject-ChutimonFinalProject-Chutimon
FinalProject-Chutimon
Natty Chu Ti Mon
 
2562 final-project 02 (1)
2562 final-project 02 (1)2562 final-project 02 (1)
2562 final-project 02 (1)
ApichayaChaengdee
 

Similar to โรคฟันผุ (20)

คลองรากฟันนั้นสำคัญไฉน? แผ่นพับ ๒ หน้า
คลองรากฟันนั้นสำคัญไฉน? แผ่นพับ ๒ หน้าคลองรากฟันนั้นสำคัญไฉน? แผ่นพับ ๒ หน้า
คลองรากฟันนั้นสำคัญไฉน? แผ่นพับ ๒ หน้า
 
Sealant 2553
Sealant 2553Sealant 2553
Sealant 2553
 
ทันตสุขภาพคนพิการ รพช.เวียงแก่น ปี53
ทันตสุขภาพคนพิการ รพช.เวียงแก่น ปี53ทันตสุขภาพคนพิการ รพช.เวียงแก่น ปี53
ทันตสุขภาพคนพิการ รพช.เวียงแก่น ปี53
 
Endodontic or root canal treatment knowledge, panpub
Endodontic or root canal treatment knowledge, panpubEndodontic or root canal treatment knowledge, panpub
Endodontic or root canal treatment knowledge, panpub
 
ทันตกรรมจัดฟัน
ทันตกรรมจัดฟันทันตกรรมจัดฟัน
ทันตกรรมจัดฟัน
 
ทันตกรรมจัดฟัน
ทันตกรรมจัดฟัน ทันตกรรมจัดฟัน
ทันตกรรมจัดฟัน
 
Fluoride 2553
Fluoride 2553Fluoride 2553
Fluoride 2553
 
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 7
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 7ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 7
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 7
 
Special dentistry
Special dentistrySpecial dentistry
Special dentistry
 
ฟอกสีฟันแล้วจะอยู่ได้นานแค่ไหน
ฟอกสีฟันแล้วจะอยู่ได้นานแค่ไหนฟอกสีฟันแล้วจะอยู่ได้นานแค่ไหน
ฟอกสีฟันแล้วจะอยู่ได้นานแค่ไหน
 
เรื่อง โรคปากนกกระจอก
เรื่อง โรคปากนกกระจอกเรื่อง โรคปากนกกระจอก
เรื่อง โรคปากนกกระจอก
 
รักษาฟันให้แข็งแรงและแปรงฟัน
รักษาฟันให้แข็งแรงและแปรงฟันรักษาฟันให้แข็งแรงและแปรงฟัน
รักษาฟันให้แข็งแรงและแปรงฟัน
 
การฟอกสีฟัน
การฟอกสีฟันการฟอกสีฟัน
การฟอกสีฟัน
 
รักษาฟันให้แข็งแรงและแปรงฟันอย่าง
รักษาฟันให้แข็งแรงและแปรงฟันอย่างรักษาฟันให้แข็งแรงและแปรงฟันอย่าง
รักษาฟันให้แข็งแรงและแปรงฟันอย่าง
 
รักษาฟันให้แข็งแรงและแปรงฟันอย่าง
รักษาฟันให้แข็งแรงและแปรงฟันอย่างรักษาฟันให้แข็งแรงและแปรงฟันอย่าง
รักษาฟันให้แข็งแรงและแปรงฟันอย่าง
 
16 prosth[1]
16 prosth[1]16 prosth[1]
16 prosth[1]
 
เรื่องฟัน
เรื่องฟันเรื่องฟัน
เรื่องฟัน
 
เรื่องฟันฟัน
เรื่องฟันฟันเรื่องฟันฟัน
เรื่องฟันฟัน
 
FinalProject-Chutimon
FinalProject-ChutimonFinalProject-Chutimon
FinalProject-Chutimon
 
2562 final-project 02 (1)
2562 final-project 02 (1)2562 final-project 02 (1)
2562 final-project 02 (1)
 

โรคฟันผุ

  • 1. โรคฟันผุ ระยะของการเกิดฟันผุ และการรักษา (Dental Caries) ระยะที่ 1 ฟันผุระยะเริ่มแรก ลักษณะ เป็นรอยสีดาตามหลุมร่องฟัน หรือ เป็นโรคที่ ฟันถูกทาลาย เกิดจาก เห็นผิวฟันเป็นสีขาวขุ่น ยังไม่เป็นรู และไม่มี การสลายแร่ธาตุของชั้นเคลือบฟันและเนื้อฟัน อาการใดๆ การดูแลรักษา การแปรงฟันที่ดีและการใช้ ฟลูออไรด์จะสามารถช่วยป้องกันไม่ให้เกิ ด การลุกลามของฟันผุได้ ระยะที่ 3 ฟันผุลุกลามถึงโพรงประสาทฟัน ลักษณะ มีอาการ ปวดฟันเวลาทานน้าร้อน น้าเย็น หรือเวลาทานอาหาร หรือ ปวดฟัน ตลอดเวลา และมีอาการปวดมากขึ้น ในเวลากลางคืน การดูแลรักษา รักษาคลองรากฟั นและบูรณะ สาเหตุ เกิดจากเชือแบคทีเรียที่ย่อยสลาย ้ ฟันตามความเหมาะสม หรือ ถอนฟันและใส่ฟัน น้าตาลที่เรากินเข้าไป ทาให้ได้กรด ซึ่ งกรดนี้ ปลอมทดแทน จะทาให้ชั้นเคลือบฟันและเนื้อฟันถูกทาลาย จนกลายเป็นโรคฟันผุในที่สุด ระยะที่ 2 ฟันผุที่ลุกลามถึงชั้นเนื้อฟัน ลักษณะ ฟันมีสีดาและเป็นรู ชัดเจน บางครั้ง อาจไม่มีอาการ หรื่ออาจ เริ่ม มีอาการเสียวฟัน หรือปวดฟัน มีอาหารเข้าไปอุดในรู การดูแลรักษา อุดฟัน หรือ ครอบฟัน
  • 2. ระยะที่ 4 ฟันผุทะลุโพรงประสาทฟันและเชื้อ การป้องกันการเกิดฟันผุ ลุกลามเข้าสู่ปลายรากฟัน ลักษณะ ปวดฟันเวลาเคี้ยวอาหาร และอาจมีรู เปิดของตุ่มหนองบริเวณเหงือกใกล้เคียงกับ ฟันที่ผุ หรือ บวมบริเวณใบหน้า และเป็นไข้ 1. การแปรงฟันที่ถูกวิธีร่วมกับการใช้ ไหมขัดฟันทาความสะ อาดซอกฟัน อย่างน้อย วันละ 2 ครั้ง โรคฟันผุ ถ้ามีการสะสมของหนองในช่องว่าง ใบหน้า มาก 2. หลีกเลี่ยงการกินอาหารหวาน เหนียว และ อาจทาให้หายใจลาบากและเสียชีวิตได้ ติดฟันง่าย การรักษา รักษารากฟัน หรือถอนฟัน และ 3. หลีกเลี่ยงการกินจุบกินจิบ ไม่เป็นเวลา หากมีการสะสมของหนองบริเวณช่องว่าง เนื่องจาก จะทาให้ช่องปากมีสภาวะที่เป็นกรด ใบหน้าอาจต้องมีการเปิดระบายหนองร่วมด้วย อยู่ตลอดเวลา จึงทาให้เกิดฟันผุได้ง่าย 3. การใช้ฟลูออไรด์ ซึ่งผสมอยู่ในยาสีฟันหรือ น้ายาบ้วน ปาก และการเคลือบฟลูออไรด์ โดยทันตแพทย์ทุก 6 เดือน จะช่วยให้ เคลือบฟันมีความแข็งแรงมากขึ้นและ ทนต่อการสลายแร่ธาตุของกรด 4. พบทันตแพทย์เป็นประจาอย่างน้อย ทุก 6 เดือน เพื่อทาการตรวจสภาพช่องปาก จะสามารถทาให้รักษาได้ทันท่วงที เรื่องน่ารู้เกี่ยวกับ “โรคฟันผุ” จัดทาโดย ฟันผุ... มีสาเหตุมาจากอะไร ? กลุ่มงานทันตกรรม โรงพยาบาลป่าบอน ฟันผุ... มีลักษะอย่างไร ? หมายเลขติดต่อ : 074 – 625099 ต่อ 115 ฟันผุ... สามารถป้องกันได้อย่างไร ?