SlideShare a Scribd company logo
1 of 17
Download to read offline
โครงงานเรื่อง
Don’t Touch Money

จัดทาโดย
นายวัชรพงศ์ บัวแก้ว ชั้น ม.5/1 เลขที่ 5
นาย สิทธิศักดิ์ เถื่อนพนม ชั้น ม.5/1 เลขที่ 19
นางสาว สุชาดา ฉุนเฉียว ชั้น ม.5/1 เลขที่ 22
นาย ศิริเทพ ทศรัตน์ ชั้น ม.5/1 เลขที่ 24
นาย คมกฤช จุลเดช ชั้น ม.5/1 เลขที่36

เสนอ
อาจารย์ ศิริรัตน์ ปานสุวรรณ
โครงงานนี้เป็นส่วนหนึ่งของวิชาการงานเทคโนโลยีสารสนเทศ(ง32242)
ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556
โรงเรียนตราดสรรเสริญวิทยาคม จังหวัดตราด
สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 17
บทคัดย่อ
เทคโนโลยีสารสนเทศได้เข้ามามีบทบาทในชีวิตประจาวันของพวกเราอย่างมากไม่ว่าจะเป็น การ
ติดต่อสื่อสาร รวมถึงธุรกรรมต่างๆก็ล้วนแล้วแต่มีเทคโนโลยีสารสนเทศเข้ามาเกี่ยวข้องทั้งสิ้น โดยเฉพาะ
เทคโนโลยีสารสนเทศในทางการเงินผ่านเครื่องทาธุรกรรมทางการเงินอัตโนมัติที่มีปัญหาอุปสรรคเกิดขึ้น
ค่อนข้างมาก
คณะผู้จัดทาจึงคิดว่าจะจัดทาหนังสือเล่มเล็กที่มีชื่อว่า “Don’t Touch Money” เพื่อเป็นสื่อสาหรับเป็น
แนวทางในการใช้เครื่องทาธุรกรรมทางการเงินอัตโนมัติเพื่อลดปัญหาเกี่ยวกับการใช้และต้องการให้คน
ตระหนักถึงการใช้เครื่องทาธุรกรรมทางการเงินอัตโนมัติอย่างมีคุณธรรมจริยธรรม
กิตติกรรมประกาศ
โครงงานเรื่อง “Don’t Touch Money ”สาเร็จลุล่วงไปด้วยดีเพราะได้รับความกรุณาให้คาปรึกษา
แนะนาช่วยตรวจสอบความถูกต้อง และช่วยเหลือในเรื่องการปฏิบัติงาน อาจารย์ ศิริรัตน์ ปานสุวรรณ
ขอบขอบคุณเพื่อนๆทุกคนที่ให้ความช่วยเหลือและเป็นกาลังใจด้วยดีตลอดมา จนทาให้โครงงานนี้
สาเร็จลุล่วงไปด้วยดี
สารบัญ
เรื่อง

หน้า

บทที่ 1 บทนา

5

บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง

6- 9

บทที่ 3 วิธีการดาเนินงาน

10-11

บทที่ 4 ผลการดาเนินงาน

12-14

บทที่ 5 สรุปผลการดาเนินงาน

15
บทที่ 1
บทนา
ที่มาและความสาคัญของโครงงาน
เนื่องจากปัจจุบันเทคโนโลยีสารสนเทศได้เข้ามามีบทบาทในชีวิตประจาวันของพวกเราอย่างมากไม่ว่า
จะเป็น การติดต่อสื่อสาร รวมถึงธุรกรรมต่างๆก็ล้วนแล้วแต่มีเทคโนโลยีสารสนเทศเข้ามาเกี่ยวข้องทั้งสิ้น
ซึ่งการใช้เทคโนโลยีต่างๆก็ย่อมจะมีปัญหาอุปสรรคเกิดขึ้นโดยเฉพาะข่าวที่เรามักจะได้ยินกันอยู่บ่อยๆคือ
ข่าวการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในทางการเงินผ่านเครื่องทาธุรกรรมทางการเงินอัตโนมัติ โดยอุปสรรคที่
เกิดขึ้นเกิดจากทั้งตัวผู้ใช้เองและผู้อื่น กลุ่มของเราจึงได้มีการจัดทาหนังสือเล่มเล็กที่มีชื่อว่า “เงินฉันใคร
ห้ามเเตะ”( Don’t Touch Money)เพื่อเป็นแนวทางในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศผ่านเครื่องทาธุรกรรม
ทางการเงิน
วัตถุประสงค์
1.เพื่อต้องการลดปัญหาเกี่ยวกับการใช้เครื่องทาธุรกรรมทางการเงินอัตโนมัติ
2.ต้องการให้คนตระหนักถึงการใช้เครื่องทาธุรกรรมทางการเงินอัตโนมัติอย่างมีคุณธรรมจริยธรรม
3.เพื่อใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
สามารถทาให้ผู้ที่ได้อ่านได้ตะหนักถึงการใช้เครื่องธุรกรรมทางการเงินอัตโนมัติ
บทที่ 2
เอกสารที่เกี่ยวข้อง
อินเทอร์เน็ต คือ ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ที่สุดของโลก โดยจะเป็นการเชื่อมต่อเครื่อง
คอมพิวเตอร์หลายๆ เครื่องจากทั่วโลกมาเชื่อมต่อเข้าด้วยกัน ซึ่งช่วยให้สามารถติดต่อสื่อสารและ
แลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างกันได้ทั่วโลก ในการติดต่อกันระหว่างเครื่องคอมพิวเตอร์ จาเป็นต้องมีการระบุว่า
ส่งมาจากไหน ส่งไปให้ใครซึ่งต้องมีการระบุ ชื่อเครื่อง (คล้ายกับเลขที่บ้าน) ในอินเทอร์เน็ตใช้ข้อตกลงใน
การติดต่อที่เรียกว่า TCP/IP (ข้อตกลงที่ทาให้คอมพิวเตอร์ติดต่อกันได้) ซึ่งจะใช้สิ่งที่เรียกค่า “ไอพีแอดเดรส” (IP-Address) ในการระบุชื่อเครื่องจะไม่มีเบอร์ที่ซ้ากันได้
อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย
ประเทศไทยได้เริ่มติดต่อกับอินเทอร์เน็ตในปี พ.ศ. 2530 ในลักษณะการใช้บริการ จดหมายเล็กทรอ
นิกส์แบบแลกเปลี่ยนถุงเมล์เป็นครั้งแรก โดยเริ่มที่มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่ ( Prince
of Songkla University ) และสถาบันเทคโนโลยีแห่งเอเชียหรือสถาบันเอไอที ( AIT ) ภายใต้โครงการความ
ร่วมมือระหว่างประเทศไทยและออสเตรเลีย ( โครงการ IDP ) ซึ่งเป็นการติดต่อเชื่อมโยงโดยสายโทรศัพท์
จนกระทั่งปี พ.ศ. 2531 มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่ ได้ยื่นขอที่อยู่อินเทอร์เน็ตใน
ประเทศไทย โดยได้รับที่อยู่อินเทอร์เน็ต Sritrang.psu.th ซึ่งนับเป็นที่อยู่อินเทอร์เน็ตแห่งแรกของประเทศ
ไทย ต่อมาปี พ.ศ. 2534 บริษัท DEC ( Thailand ) จากัดได้ขอที่อยู่อินเทอร์เน็ตเพื่อใช้ประโยชน์ภายในของ
บริษัท โดยได้รับที่อยู่อินเทอร์เน็ตเป็น dect.co.th โดยที่คา “th” เป็นส่วนที่เรียกว่า โดเมน ( Domain ) ซึ่งเป็น
ส่วนที่แสดงโซนของเครือข่ายอินเทอร์เน็ตในประเทศไทย
จริยธรรมคอมพิวเตอร์
คือ หลักศีลธรรมจรรยาที่กาหนดขึ้น
เพื่อใช้เป็นแนวทางปฏิบัติหรือควบคุมการใช้ระบบคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีสารสนเทศ
ตัวอย่างการกระทาผิดจริยธรรมคอมพิวเตอร์
1. การใช้คอมพิวเตอร์ทาร้ายผู้อื่นให้เกิดความเสียหายหรือก่อความราคาญ
2. การใช้คอมพิวเตอร์ในการขโมยข้อมูล
3. การเข้าถึงข้อมูลหรือคอมพิวเตอร์ของบุคคลอื่นโดยไม่ได้รับอนุญาต
4. การละเมิดลิขสิทธิ์ซอฟต์แวร์
ขอบเขตของจริยธรรมคอมพิวเตอร์มี 4 ประเด็น
1. ความเป็นส่วนตัว (Information Privacy)
เช่น แอบดูเมล เก็บบันทึกจราจร ข้อมูลลูกค้า หรือ Single Sign On
2. ความถูกต้อง (Information Accuracy)
เช่น Bank Grade Wiki Blog
3. ความเป็นเจ้าของ (Intellectual Property)
เช่น ทรัพย์ที่จับต้องและจับต้องไม่ได้ การคุ้มครองสิทธิ
4. การเข้าถึงข้อมูล (Data Accessibility)
เช่น DoS Security Bandwidth Priority Method
ประเทศไทยกฎหมาย หรือร่างกฎหมาย ดังนี้
1. พระราชบัญญัติว่าด้วยธุรกรรมอิเล็กทรอนิกส์ พ.ศ.๒๕๔๔ (บังคับใช้ 3 เมษายน 2545)
2. พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทาความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. ๒๕๕๐
3. กฏหมายเกี่ยวกับอาชญากรรมคอมพิวเตอร์
4. กฏหมายเกี่ยวกับการโอนเงินทางอิเล็กทรอนิกส์
5. กฏหมายเกี่ยวกับการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล
6. กฎหมายเกี่ยวกับการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานสารสนเทศให้ทั่วถึงและเท่าเทียม
อาชญากรรมคอมพิวเตอร์ (Computer Crime หรือ Cyber Crime)
อาชญากรคอมพิวเตอร์จะก่ออาชญากรรมหลายรูปแบบ
1. ลักลอบขโมย หรือดักดูข้อมูล
2. ละเมิดสิทธิ
3. แพร่ภาพ เสียง ลามก อนาจาร และข้อมูลที่ไม่เหมาะสม
4. ก่อกวน หรือทาลายระบบสาธารณูปโภค
5. หลอกลวงให้ร่วมค้าขาย หรือลงทุนปลอม
6. โอนเงินจากบัญชีผู้อื่นเข้าบัญชีของตน
อาชญากรคอมพิวเตอร์
คือ ผู้กระทาผิดกฎหมายโดยใช้คอมพิวเตอร์ หรืออุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์เป็นส่วนสาคัญ
จาแนกได้ดังนี้
1. Novices คือ พวกมือสมัครเล่น
2. Queer คือ พวกจิตไม่ปกติ
3. Dreamer คือ พวกบ้าลัทธิ
4. Hacker คือ พวกเจาะระบบคอมพิวเตอร์
5. Cracker คือ พวกชอบก่อความเสียหาย
6. Organized Criminal คือ พวกกลุ่มอาชญากรที่ร่วมมือกัน
7. Career Criminal คือ พวกอาชญากรมืออาชีพ
การป้องกันการเข้าถึงข้อมูลทางคอมพิวเตอร์
1. ใช้รหัสผู้ใช้ (Username) และ รหัสผ่าน (Password)
2. ใช้วัตถุ เช่น บัตรแม่เหล็ก หรือกุญแจ
3. ใช้อุปกรณ์ทางชีวภาพ (Biometric Device) เช่น ลายนิ้วมือ หรือเสียง
4. ระบบเรียกกลับ (Callback System) เช่น ระบบยืนยันตัวตนด้วยอีเมล
กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์(E-transaction)
ธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์และลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกส์
1) หลักการทั่วไปของพระราชบัญญัติ
พระราชบัญญัติว่าด้วยธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ พ.ศ. 2544 ยกร่างขึ้นตามกฎหมายแม่แบบว่าด้วยการ
พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ (Model Law on Electronic Commerce 1996) และกฎหมายแม่แบบว่าด้วยลายมือชื่อ
อิเล็กทรอนิกส์ (Model Law on Electronic Signatures 2001) ของคณะ
กรรมาธิการกฎหมายการค้าระหว่างประเทศแห่งสหประชาชาติ (United Nations Commission on
International Trade Law : UNCITRAL) โดยมีหลักการพื้นฐานที่สาคัญ คือ
2) โครงสร้างของพระราชบัญญัติ
พระราชบัญญัติ ฉบับนี้แบ่งออกเป็น 6 หมวดหลัก ดังต่อไปนี้
หมวด 1 ธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ (มาตรา 7 – มาตรา 25)
หมวด 2 ลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกส์ (มาตรา 26 – มาตรา 31)
หมวด 3 ธุรกิจบริการเกี่ยวกับธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ (มาตรา 32 – มาตรา 34)
หมวด 4 ธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ภาครัฐ (มาตรา 35)
หมวด 5 คณะกรรมการธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ (มาตรา 36 – 43)
หมวด 6 บทกาหนดโทษ (มาตรา 44 – มาตรา 46)
3) หลักการรองรับการทา ธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ (หมวด 1)สาระสาคัญคือ การรับรองสถานะทาง
กฎหมายของข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ให้เสมอด้วยกระดาษ เพื่อให้การดาเนินการใดๆ ตามที่กฎหมายบัญญัติ
สามารถทาในรูปของข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ได้และมีผลผูกพันตามกฎหมาย
บทที่ 3
วิธีการดาเนินงาน
วิธีการดาเนินงาน
1.คิดหัวข้อโครงงานเพื่อนาเสนออาจารย์
2.ศึกษาและค้นคว้าที่เกี่ยงข้องกับเรื่องที่สนใจ
3.จัดทาโครงร่างโครงงานเพื่อนาเสนออาจารย์
4.ปฏิบัติจัดทาโครงงาน
5.ปฎิบัติจัดทาหนังสือเล่มเล็ก
6.นาเสนอผลงาน
การทาหนังสือเล่มเล็ก
เครื่องมือและอุปกรณ์
1.กระดาษ
2.ดินสอ
3.ยางลบ
4.ปากกา
5.สีไม้
6.ไม้บรรทัด
7.คัตเตอร์
แนวทางการดาเนินงาน
1.วางแผน จัดวางโครงเรื่อง
2.แต่งเรื่อง
3.จัดเตรียมอุปกรณ์
4.จัดทาหนังสือเล่มเล็ก
5.นาเสนอ
บทที่ 4
ผลการดาเนินการ
บทที่ 5
สรุปผลการดาเนินงาน
สรุปผลการศึกษา
การทาหนังสือเล่มที่มีชื่อว่า “เงินฉันใครห้ามเเตะ”( Don’t Touch Money) เป็นการสร้างสื่อเพื่อเป็น
แนวทางในการใช้ผ่านเครื่องทาธุรกรรมทางการเงินอย่างมี อีกทั้งยังมีความสนุกสนานเพลิดเพลินที่ได้อ่าน
การ์ตูนที่มีภาพที่สวยงามและเนื้อเรื่องที่สนุกสนาน
จากการที่ทาหนังสือเล่มเล็กเรื่อง “เงินฉันใครห้ามเเตะ”( Don’t Touch Money) พบว่าสามารถนา
เผยแพร่ให้ผู้อื่นอ่านและเข้าใจได้จริง เป็นการให้ผู้อื่นใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์อีกด้วยและรู้ถึงการใช้
เครื่องทาธุรกรรมทางการเงิน
ข้อเสนอแนะ
การทาหนังสือเล่มเล็กจะต้องวาดภาพและจัดทาเนื้อหาให้น่าสนใจ โดยใช้คาที่กระชับเข้าใจง่าย ผู้อ่าน
จะได้สนใจในหนังสือเล่มเล็กที่จัดทาขึ้น
ปัญหาและอุปสรรค
1.เวลาในการจัดทาไม่เพียงพอ
2.การเรียบเรียงเนื้อหาของหนังสือค่อนข้างสับสน
3.ระยะทางในการเดินทางของสมาชิกในกลุ่มเพื่อมาทางานค่อนข้างไกล
4.สมาชิกภายในกลุ่มว่างไม่ตรงกัน
วิธีการแก้ปัญหา
1.ประชุมเพื่อคิดวางแผนจัดทาเนื้อหา
2.แบ่งงานให้สมาชิกในกลุ่มกลับไปทาที่บ้านเพื่อเป็นการประหยัดเวลา
ภาคผนวก
บรรณนุกรม
http://attorneysworkproduct.blogspot.com/2008/07/internal-memo-010-laws-on-e-transaction.html
http://www.dmc.tv/pages/

More Related Content

What's hot (13)

Health IT Laws and PDPA (October 12, 2021)
Health IT Laws and PDPA (October 12, 2021)Health IT Laws and PDPA (October 12, 2021)
Health IT Laws and PDPA (October 12, 2021)
 
ตุก Pdf
ตุก Pdfตุก Pdf
ตุก Pdf
 
คอม
คอมคอม
คอม
 
รายงาน111
รายงาน111รายงาน111
รายงาน111
 
คอมเปา
คอมเปาคอมเปา
คอมเปา
 
อาชญากรรม เอ๋
อาชญากรรม เอ๋อาชญากรรม เอ๋
อาชญากรรม เอ๋
 
พอน1ok
พอน1okพอน1ok
พอน1ok
 
อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์
อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์
อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์
 
อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์
อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์
อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์
 
เก๋
เก๋เก๋
เก๋
 
อาชญากรรมคอมพิวเตอร์
อาชญากรรมคอมพิวเตอร์อาชญากรรมคอมพิวเตอร์
อาชญากรรมคอมพิวเตอร์
 
โบว์Pdf
โบว์Pdfโบว์Pdf
โบว์Pdf
 
คอมจ๊ะ
คอมจ๊ะคอมจ๊ะ
คอมจ๊ะ
 

Similar to เง นฉ นใครอย_าแตะเก_อบเส_ดเหล_ออ_กน_ดๆๆ

อาชญากรรมวายร้าย
อาชญากรรมวายร้ายอาชญากรรมวายร้าย
อาชญากรรมวายร้ายManow Butnow
 
โครงงานคอมพิวเตอรN
โครงงานคอมพิวเตอรNโครงงานคอมพิวเตอรN
โครงงานคอมพิวเตอรNBank Kitsana
 
อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์
อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์
อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์Thalatchanan Netboot
 
E commerceกฏหมายเทคโนโลยีสารสนเทศ
E commerceกฏหมายเทคโนโลยีสารสนเทศE commerceกฏหมายเทคโนโลยีสารสนเทศ
E commerceกฏหมายเทคโนโลยีสารสนเทศanusorn kraiwatnussorn
 
ใบความรู้ที่ 1 ความเป็นมาของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ใบความรู้ที่ 1 ความเป็นมาของเทคโนโลยีสารสนเทศใบความรู้ที่ 1 ความเป็นมาของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ใบความรู้ที่ 1 ความเป็นมาของเทคโนโลยีสารสนเทศdevilp Nnop
 
รายงานอาชญากรรมคอมพิวเตอร์
รายงานอาชญากรรมคอมพิวเตอร์รายงานอาชญากรรมคอมพิวเตอร์
รายงานอาชญากรรมคอมพิวเตอร์Kannaree Jar
 
รายงานอาชญากรรมคอมพิวเตอร์
รายงานอาชญากรรมคอมพิวเตอร์รายงานอาชญากรรมคอมพิวเตอร์
รายงานอาชญากรรมคอมพิวเตอร์Kannaree Jar
 
อาชญากรรม ปอ
อาชญากรรม ปออาชญากรรม ปอ
อาชญากรรม ปอHatairat Srisawat
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศcopyinfinity
 
13 เทคโนโลยีสารสนเทศกับสังคมของมนุษย์
13 เทคโนโลยีสารสนเทศกับสังคมของมนุษย์13 เทคโนโลยีสารสนเทศกับสังคมของมนุษย์
13 เทคโนโลยีสารสนเทศกับสังคมของมนุษย์teaw-sirinapa
 
อาชญากรรม เบส
อาชญากรรม เบสอาชญากรรม เบส
อาชญากรรม เบสMind Candle Ka
 

Similar to เง นฉ นใครอย_าแตะเก_อบเส_ดเหล_ออ_กน_ดๆๆ (20)

โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 
อาชญากรรมวายร้าย
อาชญากรรมวายร้ายอาชญากรรมวายร้าย
อาชญากรรมวายร้าย
 
โครงงานคอมพิวเตอรN
โครงงานคอมพิวเตอรNโครงงานคอมพิวเตอรN
โครงงานคอมพิวเตอรN
 
อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์
อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์
อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์
 
รายงาน
รายงานรายงาน
รายงาน
 
E commerceกฏหมายเทคโนโลยีสารสนเทศ
E commerceกฏหมายเทคโนโลยีสารสนเทศE commerceกฏหมายเทคโนโลยีสารสนเทศ
E commerceกฏหมายเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
ใบความรู้ที่ 1 ความเป็นมาของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ใบความรู้ที่ 1 ความเป็นมาของเทคโนโลยีสารสนเทศใบความรู้ที่ 1 ความเป็นมาของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ใบความรู้ที่ 1 ความเป็นมาของเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
ตุก Pdf
ตุก Pdfตุก Pdf
ตุก Pdf
 
รายงานอาชญากรรมคอมพิวเตอร์
รายงานอาชญากรรมคอมพิวเตอร์รายงานอาชญากรรมคอมพิวเตอร์
รายงานอาชญากรรมคอมพิวเตอร์
 
รายงานอาชญากรรมคอมพิวเตอร์
รายงานอาชญากรรมคอมพิวเตอร์รายงานอาชญากรรมคอมพิวเตอร์
รายงานอาชญากรรมคอมพิวเตอร์
 
อาชญากรรม ปอ
อาชญากรรม ปออาชญากรรม ปอ
อาชญากรรม ปอ
 
อาชญากรรมคอมจ
อาชญากรรมคอมจอาชญากรรมคอมจ
อาชญากรรมคอมจ
 
รายงานเจียบ
รายงานเจียบรายงานเจียบ
รายงานเจียบ
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศ
 
13 เทคโนโลยีสารสนเทศกับสังคมของมนุษย์
13 เทคโนโลยีสารสนเทศกับสังคมของมนุษย์13 เทคโนโลยีสารสนเทศกับสังคมของมนุษย์
13 เทคโนโลยีสารสนเทศกับสังคมของมนุษย์
 
รายงาน
รายงานรายงาน
รายงาน
 
Poopdf
PoopdfPoopdf
Poopdf
 
ครูจุ๋ม Poopdf
ครูจุ๋ม Poopdfครูจุ๋ม Poopdf
ครูจุ๋ม Poopdf
 
ครูจุ๋ม Poopdf
ครูจุ๋ม Poopdfครูจุ๋ม Poopdf
ครูจุ๋ม Poopdf
 
อาชญากรรม เบส
อาชญากรรม เบสอาชญากรรม เบส
อาชญากรรม เบส
 

More from มัทนา อานามนารถ

โครงสร้างและหน้าที่ของลำต้น
โครงสร้างและหน้าที่ของลำต้นโครงสร้างและหน้าที่ของลำต้น
โครงสร้างและหน้าที่ของลำต้นมัทนา อานามนารถ
 
Ppt โครงสร้างและหน้าที่ของพืช.pdf 1
Ppt โครงสร้างและหน้าที่ของพืช.pdf 1Ppt โครงสร้างและหน้าที่ของพืช.pdf 1
Ppt โครงสร้างและหน้าที่ของพืช.pdf 1มัทนา อานามนารถ
 

More from มัทนา อานามนารถ (15)

งาน O-net คอมpptx
งาน O-net คอมpptxงาน O-net คอมpptx
งาน O-net คอมpptx
 
คอมพิวเตอร 1.1
คอมพิวเตอร  1.1คอมพิวเตอร  1.1
คอมพิวเตอร 1.1
 
ไฟฟ าสถ ตท__ทำให_เก_ดอ_บ_ต_เหต_ไฟ
ไฟฟ าสถ ตท__ทำให_เก_ดอ_บ_ต_เหต_ไฟไฟฟ าสถ ตท__ทำให_เก_ดอ_บ_ต_เหต_ไฟ
ไฟฟ าสถ ตท__ทำให_เก_ดอ_บ_ต_เหต_ไฟ
 
พ.ร.บ.
พ.ร.บ.พ.ร.บ.
พ.ร.บ.
 
งานชญานี ม6
งานชญานี ม6งานชญานี ม6
งานชญานี ม6
 
การประกันภัยตาม พ
การประกันภัยตาม พการประกันภัยตาม พ
การประกันภัยตาม พ
 
โครงงาน Blogger
โครงงาน Bloggerโครงงาน Blogger
โครงงาน Blogger
 
โครงงานแฮกเกอร์ เนื้อหา
โครงงานแฮกเกอร์ เนื้อหาโครงงานแฮกเกอร์ เนื้อหา
โครงงานแฮกเกอร์ เนื้อหา
 
เคมีมอห้ากลางภาคสองห้าหก
เคมีมอห้ากลางภาคสองห้าหกเคมีมอห้ากลางภาคสองห้าหก
เคมีมอห้ากลางภาคสองห้าหก
 
โครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบโครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบ
 
โครงสร้างและหน้าที่ของลำต้น
โครงสร้างและหน้าที่ของลำต้นโครงสร้างและหน้าที่ของลำต้น
โครงสร้างและหน้าที่ของลำต้น
 
Ppt โครงสร้างและหน้าที่ของพืช.pdf 1
Ppt โครงสร้างและหน้าที่ของพืช.pdf 1Ppt โครงสร้างและหน้าที่ของพืช.pdf 1
Ppt โครงสร้างและหน้าที่ของพืช.pdf 1
 
เนี้อเยื่อ
เนี้อเยื่อเนี้อเยื่อ
เนี้อเยื่อ
 
ปังปอนด์งานจริง
ปังปอนด์งานจริงปังปอนด์งานจริง
ปังปอนด์งานจริง
 
งานคอมพิวเตอร์ของงจริง2
งานคอมพิวเตอร์ของงจริง2งานคอมพิวเตอร์ของงจริง2
งานคอมพิวเตอร์ของงจริง2
 

เง นฉ นใครอย_าแตะเก_อบเส_ดเหล_ออ_กน_ดๆๆ

  • 1. โครงงานเรื่อง Don’t Touch Money จัดทาโดย นายวัชรพงศ์ บัวแก้ว ชั้น ม.5/1 เลขที่ 5 นาย สิทธิศักดิ์ เถื่อนพนม ชั้น ม.5/1 เลขที่ 19 นางสาว สุชาดา ฉุนเฉียว ชั้น ม.5/1 เลขที่ 22 นาย ศิริเทพ ทศรัตน์ ชั้น ม.5/1 เลขที่ 24 นาย คมกฤช จุลเดช ชั้น ม.5/1 เลขที่36 เสนอ อาจารย์ ศิริรัตน์ ปานสุวรรณ โครงงานนี้เป็นส่วนหนึ่งของวิชาการงานเทคโนโลยีสารสนเทศ(ง32242) ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556 โรงเรียนตราดสรรเสริญวิทยาคม จังหวัดตราด สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 17
  • 2. บทคัดย่อ เทคโนโลยีสารสนเทศได้เข้ามามีบทบาทในชีวิตประจาวันของพวกเราอย่างมากไม่ว่าจะเป็น การ ติดต่อสื่อสาร รวมถึงธุรกรรมต่างๆก็ล้วนแล้วแต่มีเทคโนโลยีสารสนเทศเข้ามาเกี่ยวข้องทั้งสิ้น โดยเฉพาะ เทคโนโลยีสารสนเทศในทางการเงินผ่านเครื่องทาธุรกรรมทางการเงินอัตโนมัติที่มีปัญหาอุปสรรคเกิดขึ้น ค่อนข้างมาก คณะผู้จัดทาจึงคิดว่าจะจัดทาหนังสือเล่มเล็กที่มีชื่อว่า “Don’t Touch Money” เพื่อเป็นสื่อสาหรับเป็น แนวทางในการใช้เครื่องทาธุรกรรมทางการเงินอัตโนมัติเพื่อลดปัญหาเกี่ยวกับการใช้และต้องการให้คน ตระหนักถึงการใช้เครื่องทาธุรกรรมทางการเงินอัตโนมัติอย่างมีคุณธรรมจริยธรรม
  • 3. กิตติกรรมประกาศ โครงงานเรื่อง “Don’t Touch Money ”สาเร็จลุล่วงไปด้วยดีเพราะได้รับความกรุณาให้คาปรึกษา แนะนาช่วยตรวจสอบความถูกต้อง และช่วยเหลือในเรื่องการปฏิบัติงาน อาจารย์ ศิริรัตน์ ปานสุวรรณ ขอบขอบคุณเพื่อนๆทุกคนที่ให้ความช่วยเหลือและเป็นกาลังใจด้วยดีตลอดมา จนทาให้โครงงานนี้ สาเร็จลุล่วงไปด้วยดี
  • 4. สารบัญ เรื่อง หน้า บทที่ 1 บทนา 5 บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง 6- 9 บทที่ 3 วิธีการดาเนินงาน 10-11 บทที่ 4 ผลการดาเนินงาน 12-14 บทที่ 5 สรุปผลการดาเนินงาน 15
  • 5. บทที่ 1 บทนา ที่มาและความสาคัญของโครงงาน เนื่องจากปัจจุบันเทคโนโลยีสารสนเทศได้เข้ามามีบทบาทในชีวิตประจาวันของพวกเราอย่างมากไม่ว่า จะเป็น การติดต่อสื่อสาร รวมถึงธุรกรรมต่างๆก็ล้วนแล้วแต่มีเทคโนโลยีสารสนเทศเข้ามาเกี่ยวข้องทั้งสิ้น ซึ่งการใช้เทคโนโลยีต่างๆก็ย่อมจะมีปัญหาอุปสรรคเกิดขึ้นโดยเฉพาะข่าวที่เรามักจะได้ยินกันอยู่บ่อยๆคือ ข่าวการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในทางการเงินผ่านเครื่องทาธุรกรรมทางการเงินอัตโนมัติ โดยอุปสรรคที่ เกิดขึ้นเกิดจากทั้งตัวผู้ใช้เองและผู้อื่น กลุ่มของเราจึงได้มีการจัดทาหนังสือเล่มเล็กที่มีชื่อว่า “เงินฉันใคร ห้ามเเตะ”( Don’t Touch Money)เพื่อเป็นแนวทางในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศผ่านเครื่องทาธุรกรรม ทางการเงิน วัตถุประสงค์ 1.เพื่อต้องการลดปัญหาเกี่ยวกับการใช้เครื่องทาธุรกรรมทางการเงินอัตโนมัติ 2.ต้องการให้คนตระหนักถึงการใช้เครื่องทาธุรกรรมทางการเงินอัตโนมัติอย่างมีคุณธรรมจริยธรรม 3.เพื่อใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ ผลที่คาดว่าจะได้รับ สามารถทาให้ผู้ที่ได้อ่านได้ตะหนักถึงการใช้เครื่องธุรกรรมทางการเงินอัตโนมัติ
  • 6. บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง อินเทอร์เน็ต คือ ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ที่สุดของโลก โดยจะเป็นการเชื่อมต่อเครื่อง คอมพิวเตอร์หลายๆ เครื่องจากทั่วโลกมาเชื่อมต่อเข้าด้วยกัน ซึ่งช่วยให้สามารถติดต่อสื่อสารและ แลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างกันได้ทั่วโลก ในการติดต่อกันระหว่างเครื่องคอมพิวเตอร์ จาเป็นต้องมีการระบุว่า ส่งมาจากไหน ส่งไปให้ใครซึ่งต้องมีการระบุ ชื่อเครื่อง (คล้ายกับเลขที่บ้าน) ในอินเทอร์เน็ตใช้ข้อตกลงใน การติดต่อที่เรียกว่า TCP/IP (ข้อตกลงที่ทาให้คอมพิวเตอร์ติดต่อกันได้) ซึ่งจะใช้สิ่งที่เรียกค่า “ไอพีแอดเดรส” (IP-Address) ในการระบุชื่อเครื่องจะไม่มีเบอร์ที่ซ้ากันได้ อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ประเทศไทยได้เริ่มติดต่อกับอินเทอร์เน็ตในปี พ.ศ. 2530 ในลักษณะการใช้บริการ จดหมายเล็กทรอ นิกส์แบบแลกเปลี่ยนถุงเมล์เป็นครั้งแรก โดยเริ่มที่มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่ ( Prince of Songkla University ) และสถาบันเทคโนโลยีแห่งเอเชียหรือสถาบันเอไอที ( AIT ) ภายใต้โครงการความ ร่วมมือระหว่างประเทศไทยและออสเตรเลีย ( โครงการ IDP ) ซึ่งเป็นการติดต่อเชื่อมโยงโดยสายโทรศัพท์ จนกระทั่งปี พ.ศ. 2531 มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่ ได้ยื่นขอที่อยู่อินเทอร์เน็ตใน ประเทศไทย โดยได้รับที่อยู่อินเทอร์เน็ต Sritrang.psu.th ซึ่งนับเป็นที่อยู่อินเทอร์เน็ตแห่งแรกของประเทศ ไทย ต่อมาปี พ.ศ. 2534 บริษัท DEC ( Thailand ) จากัดได้ขอที่อยู่อินเทอร์เน็ตเพื่อใช้ประโยชน์ภายในของ บริษัท โดยได้รับที่อยู่อินเทอร์เน็ตเป็น dect.co.th โดยที่คา “th” เป็นส่วนที่เรียกว่า โดเมน ( Domain ) ซึ่งเป็น ส่วนที่แสดงโซนของเครือข่ายอินเทอร์เน็ตในประเทศไทย จริยธรรมคอมพิวเตอร์ คือ หลักศีลธรรมจรรยาที่กาหนดขึ้น เพื่อใช้เป็นแนวทางปฏิบัติหรือควบคุมการใช้ระบบคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีสารสนเทศ ตัวอย่างการกระทาผิดจริยธรรมคอมพิวเตอร์ 1. การใช้คอมพิวเตอร์ทาร้ายผู้อื่นให้เกิดความเสียหายหรือก่อความราคาญ 2. การใช้คอมพิวเตอร์ในการขโมยข้อมูล 3. การเข้าถึงข้อมูลหรือคอมพิวเตอร์ของบุคคลอื่นโดยไม่ได้รับอนุญาต 4. การละเมิดลิขสิทธิ์ซอฟต์แวร์
  • 7. ขอบเขตของจริยธรรมคอมพิวเตอร์มี 4 ประเด็น 1. ความเป็นส่วนตัว (Information Privacy) เช่น แอบดูเมล เก็บบันทึกจราจร ข้อมูลลูกค้า หรือ Single Sign On 2. ความถูกต้อง (Information Accuracy) เช่น Bank Grade Wiki Blog 3. ความเป็นเจ้าของ (Intellectual Property) เช่น ทรัพย์ที่จับต้องและจับต้องไม่ได้ การคุ้มครองสิทธิ 4. การเข้าถึงข้อมูล (Data Accessibility) เช่น DoS Security Bandwidth Priority Method ประเทศไทยกฎหมาย หรือร่างกฎหมาย ดังนี้ 1. พระราชบัญญัติว่าด้วยธุรกรรมอิเล็กทรอนิกส์ พ.ศ.๒๕๔๔ (บังคับใช้ 3 เมษายน 2545) 2. พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทาความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. ๒๕๕๐ 3. กฏหมายเกี่ยวกับอาชญากรรมคอมพิวเตอร์ 4. กฏหมายเกี่ยวกับการโอนเงินทางอิเล็กทรอนิกส์ 5. กฏหมายเกี่ยวกับการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล 6. กฎหมายเกี่ยวกับการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานสารสนเทศให้ทั่วถึงและเท่าเทียม อาชญากรรมคอมพิวเตอร์ (Computer Crime หรือ Cyber Crime) อาชญากรคอมพิวเตอร์จะก่ออาชญากรรมหลายรูปแบบ 1. ลักลอบขโมย หรือดักดูข้อมูล 2. ละเมิดสิทธิ 3. แพร่ภาพ เสียง ลามก อนาจาร และข้อมูลที่ไม่เหมาะสม 4. ก่อกวน หรือทาลายระบบสาธารณูปโภค 5. หลอกลวงให้ร่วมค้าขาย หรือลงทุนปลอม 6. โอนเงินจากบัญชีผู้อื่นเข้าบัญชีของตน
  • 8. อาชญากรคอมพิวเตอร์ คือ ผู้กระทาผิดกฎหมายโดยใช้คอมพิวเตอร์ หรืออุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์เป็นส่วนสาคัญ จาแนกได้ดังนี้ 1. Novices คือ พวกมือสมัครเล่น 2. Queer คือ พวกจิตไม่ปกติ 3. Dreamer คือ พวกบ้าลัทธิ 4. Hacker คือ พวกเจาะระบบคอมพิวเตอร์ 5. Cracker คือ พวกชอบก่อความเสียหาย 6. Organized Criminal คือ พวกกลุ่มอาชญากรที่ร่วมมือกัน 7. Career Criminal คือ พวกอาชญากรมืออาชีพ การป้องกันการเข้าถึงข้อมูลทางคอมพิวเตอร์ 1. ใช้รหัสผู้ใช้ (Username) และ รหัสผ่าน (Password) 2. ใช้วัตถุ เช่น บัตรแม่เหล็ก หรือกุญแจ 3. ใช้อุปกรณ์ทางชีวภาพ (Biometric Device) เช่น ลายนิ้วมือ หรือเสียง 4. ระบบเรียกกลับ (Callback System) เช่น ระบบยืนยันตัวตนด้วยอีเมล กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์(E-transaction) ธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์และลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกส์ 1) หลักการทั่วไปของพระราชบัญญัติ พระราชบัญญัติว่าด้วยธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ พ.ศ. 2544 ยกร่างขึ้นตามกฎหมายแม่แบบว่าด้วยการ พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ (Model Law on Electronic Commerce 1996) และกฎหมายแม่แบบว่าด้วยลายมือชื่อ อิเล็กทรอนิกส์ (Model Law on Electronic Signatures 2001) ของคณะ กรรมาธิการกฎหมายการค้าระหว่างประเทศแห่งสหประชาชาติ (United Nations Commission on International Trade Law : UNCITRAL) โดยมีหลักการพื้นฐานที่สาคัญ คือ 2) โครงสร้างของพระราชบัญญัติ พระราชบัญญัติ ฉบับนี้แบ่งออกเป็น 6 หมวดหลัก ดังต่อไปนี้ หมวด 1 ธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ (มาตรา 7 – มาตรา 25) หมวด 2 ลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกส์ (มาตรา 26 – มาตรา 31) หมวด 3 ธุรกิจบริการเกี่ยวกับธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ (มาตรา 32 – มาตรา 34) หมวด 4 ธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ภาครัฐ (มาตรา 35)
  • 9. หมวด 5 คณะกรรมการธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ (มาตรา 36 – 43) หมวด 6 บทกาหนดโทษ (มาตรา 44 – มาตรา 46) 3) หลักการรองรับการทา ธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ (หมวด 1)สาระสาคัญคือ การรับรองสถานะทาง กฎหมายของข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ให้เสมอด้วยกระดาษ เพื่อให้การดาเนินการใดๆ ตามที่กฎหมายบัญญัติ สามารถทาในรูปของข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ได้และมีผลผูกพันตามกฎหมาย
  • 10. บทที่ 3 วิธีการดาเนินงาน วิธีการดาเนินงาน 1.คิดหัวข้อโครงงานเพื่อนาเสนออาจารย์ 2.ศึกษาและค้นคว้าที่เกี่ยงข้องกับเรื่องที่สนใจ 3.จัดทาโครงร่างโครงงานเพื่อนาเสนออาจารย์ 4.ปฏิบัติจัดทาโครงงาน 5.ปฎิบัติจัดทาหนังสือเล่มเล็ก 6.นาเสนอผลงาน การทาหนังสือเล่มเล็ก เครื่องมือและอุปกรณ์ 1.กระดาษ 2.ดินสอ 3.ยางลบ 4.ปากกา 5.สีไม้ 6.ไม้บรรทัด 7.คัตเตอร์
  • 13.
  • 14.
  • 15. บทที่ 5 สรุปผลการดาเนินงาน สรุปผลการศึกษา การทาหนังสือเล่มที่มีชื่อว่า “เงินฉันใครห้ามเเตะ”( Don’t Touch Money) เป็นการสร้างสื่อเพื่อเป็น แนวทางในการใช้ผ่านเครื่องทาธุรกรรมทางการเงินอย่างมี อีกทั้งยังมีความสนุกสนานเพลิดเพลินที่ได้อ่าน การ์ตูนที่มีภาพที่สวยงามและเนื้อเรื่องที่สนุกสนาน จากการที่ทาหนังสือเล่มเล็กเรื่อง “เงินฉันใครห้ามเเตะ”( Don’t Touch Money) พบว่าสามารถนา เผยแพร่ให้ผู้อื่นอ่านและเข้าใจได้จริง เป็นการให้ผู้อื่นใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์อีกด้วยและรู้ถึงการใช้ เครื่องทาธุรกรรมทางการเงิน ข้อเสนอแนะ การทาหนังสือเล่มเล็กจะต้องวาดภาพและจัดทาเนื้อหาให้น่าสนใจ โดยใช้คาที่กระชับเข้าใจง่าย ผู้อ่าน จะได้สนใจในหนังสือเล่มเล็กที่จัดทาขึ้น ปัญหาและอุปสรรค 1.เวลาในการจัดทาไม่เพียงพอ 2.การเรียบเรียงเนื้อหาของหนังสือค่อนข้างสับสน 3.ระยะทางในการเดินทางของสมาชิกในกลุ่มเพื่อมาทางานค่อนข้างไกล 4.สมาชิกภายในกลุ่มว่างไม่ตรงกัน วิธีการแก้ปัญหา 1.ประชุมเพื่อคิดวางแผนจัดทาเนื้อหา 2.แบ่งงานให้สมาชิกในกลุ่มกลับไปทาที่บ้านเพื่อเป็นการประหยัดเวลา