SlideShare a Scribd company logo
1 of 17
ทฤษฎีการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้องกับนวัตกรรมและ
เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
บทที่ 2
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยม
“โลกแห่งความรู้เป็นสิ่งที่เที่ยงแท้แน่นอนที่ผู้เรียน
ต้องมารับรู้ข้อมูลและสารสนเทศ ซึ่งถูกแบ่งเป็น
ส่วนย่อยๆ ผู้สอนต้องปฏิบัติตามแนวทางที่
กาหนดไว้ และพยายามที่ถ่ายทอดความคิด และ
ความหมายไปสู่ผู้เรียน และเป้ าหมายของผู้เรียน
ยอบรับในคาอธิบายและกล่าวตามในสิ่งที่เรียน”
หลักการทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยม
• พื้นฐานมาจากวัตถุนิยม (Objectivism) ที่เชื่อว่า
โลก (World) หรือ โลกแห่งความเป็นจริง (Real
world) ถูกจัดโครงสร้างที่สมบูรณ์และถูกต้อง
ประสบการณ์มีบทบาทที่สาคัญในการจัดโครงสร้างโลก
• ประสบการณ์และความรู้เดิมเป็นปัจจัยที่ทาให้ผู้เรียน
มีความเข้าใจที่แตกต่างกัน
• เป้ าหมายของการเรียนการสอน จะเป็นการที่ช่วยให้
ผู้เรียนได้รับแก่นแท้
หลักการทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญานิยม
• เชื่อว่า การเรียนรู้เป็ นสิ่งที่มากกว่าผลของการเชื่อมโยง
ระหว่างสิ่งเร้าและการตอบสนอง
• ผู้สอนต้องปฏิบัติตามแนวทางที่กาหนดไว้ และพยายามที่
ถ่ายทอดความคิด และความหมายไปสู่ผู้เรียน
• ให้ความสนใจเกี่ยวกับกระบวนการคิด การให้เหตุผลของ
ผู้เรียน
• ให้ความสาคัญในการศึกษาเกี่ยวกับ “ปฏิสัมพันธ์ระหว่างสิ่งเร
ภายนอก.อาจส่งผ่านโดยสื่อต่างๆ กับสิ่งเร้าภายใน คือ ความร
ความเข้าใจ หรือ กระบวนการทางปัญญา (Cognitive
process)
หลักการทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์
• เชื่อว่า การเรียนรู้ หรือการสร้างความรู้ เป็ น
กระบวนการที่เกิดขึ้นภายในของผู้เรียน
• เป็นการนาประสบการณ์ที่ได้รับมาเชื่อมโยงกับความรู้
เดิม เพื่อทาความเข้าใจ
• ความรู้และประสบการณ์เดิมเป็นปัจจัยที่ทาให้ทาให้
ความเข้าใจของผู้เรียนแจกต่างกัน
• พยายามที่จะเชื่อมโยงประสบการณ์เดิมกับ
ประสบการณ์ใหม่ ด้วยกระบวนการที่พิสูจน์อย่าง
มีเหตุผล เป็ นความรู้ ที่เกิดจากการไตร่ตรอง
วิเคราะห์ความ
แตกต่างในการ
ออกแบบนวัตกรรม
การเรียนรู้ที่อาศัย
ทฤษฎีการเรียนรู้
การออกแบบโดยอาศัย
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยม
• การกระทาต่าง ๆ เกิดจากอิทธิพลของสิ่งแวดล้อมภายนอก พฤติกรรม
ของมนุษย์เกิดจากการตอบสนองต่อสิ่งเร้า (stimulus-
response) ดังนั้นการออกแบบนวัตกรรมการเรียนรู้จะมี
จุดประสงค์เพื่อให้เกิดการเชื่อมโยงระหว่างสิ่งเร้าและการตอบสนอง
กลุ่มพฤติกรรมนิยมให้ความสาคัญกับ “พฤติกรรม” มาก เพราะ
พฤติกรรมเป็นสิ่งที่สังเกตเห็นได้ สามารถวัดและทดสอบได้
https://sites.google.com/site/elearningthph3/home/thvsdi-kar-reiyn-ru-klum-
phvtikrrm-niym
การออกแบบโดยอาศัย
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญานิยม
• การออกแบบจะเน้นไปที่กระบวนการทางปัญญาหรือ
ความคิด เพื่อให้เกิดการสะสมข้อมูล การสร้างความหมาย และ
ความสัมพันธ์ของข้อมูล และการดึงข้อมูลออกมาใช้ในการกระทา
และการแก้ปัญหาต่างๆเพื่อเป็นการสร้างความเข้าใจแก่ตนเอง
https://amtasanee.wordpress.com/2016/01/07/%E0%B8%97%E0%B8%A4
%E0%B8%A9%E0%B8%8E%E0%B8%B5%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0
%B8%A3%E0%B9%80%E0%B8%A3%E0%B8%B5%E0%B8%A2%E0%B8
%99%E0%B8%A3%E0%B8%B9%E0%B9%89%E0%B8%81%E0%B8%A5
%E0%B8%B8%E0%B9%88%E0%B8%A1%E0%B8%9B/
การออกแบบโดนอาศัย
ทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์
• ครูมีหน้าที่จัดนวัตกรรมการเรียนรู้ให้ผู้เรียนได้ปรับขยาย
โครงสร้างทางปัญญาของผู้เรียน เอง ภายใต้ข้อสมมติฐานต่างๆ
จากสถานการณ์ที่เป็นปัญหาและปฏิสัมพันธท์ทางสังคมก่อให้เกิด
ความขัดแย้งทางปัญญา
http://nanthiphorn.weebly.com/uploads/4/6/7/7/46778961/v2-cle_v7-
include-cover_(1).pdf
อธิบายและยกตัวอย่างการ
นาแนวคิดของแต่ละทฤษฎี
ไปใช้ในการเรียนการสอน
และการพัฒนานวัตกรรม
และเทคโนโลยีสารสนเทศ
เพื่อการเรียนรู้
แนวคิดของ Thorndike
หลักเบื้องต้นว่า การเรียนรู้เกิดจากการเชื่อมโยง
ระหว่างสิ่งเร้ากับการตอบสนอง ใช้ในด้านการเรียนการสอน
การเปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้ลองผิดลองถูกด้วยตนเองบ้าง จะทา
ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ในการแก้ไขปัญหา โดยสามารถจดจาผลจาก
การเรียนรู้ได้ดี หากต้องการให้ผู้เรียนเกิดทักษะในเรื่องใด ต้องให้
ผู้เรียนมีความรู้และความเข้าใจในเรื่องนั้น ๆ อย่างแท้จริง และต้อง
ฝึกฝนอย่างต่อเนื่อง เมื่อผู้เรียนเกิดการเรียนรู้แล้ว ควรให้ผู้เรียน
ฝึกนาการเรียนรู้นั้นไปใช้
เช่นเดียวกันกับการนามาพัฒนานวัตกรรมและ
เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้ต้องมีการเปิดโอกาส ได้ลงมือ
ทาถึงจะสามารถเรียนรู้ที่จะแก้ไขปัญหาและปรับปรุงเพื่อให้ดียิ่งขึ้น
แนวคิดของ Pavlov
การเรียนรู้ของสิ่งมีชีวิตเกิดจากการวางเงื่อนไข
(Conditioning) คือ การตอบสนองหรือการเรียนรู้ที่เกิดขึ้นนั้น ๆ
ต้องมีเงื่อนไขหรือมีการสร้างสถานการณ์ให้เกิดขึ้น ในด้านการเรียนการ
สอน ด้านผู้เรียนมีการตอบสนองต่อสิ่งเร้าใดสิ่งเร้าหนึ่ง ผู้สอนจะต้องหา
สิ่งมาคอยกระตุ้นให้ผู้เรียนได้เรียนรู้และเข้าใจ ผู้เรียนต้องได้รับการ
ฝึกฝนอย่างสม่าเสมอ จะทาให้ผู้เรียนเข้าใจและจา ผู้สอนจะต้องมีการ
สนับสนุนในด้านการเรียนรู้เพื่อส่งเสริมแรง
แนวคิดของ Watson
เกี่ยวกับเรื่องการเกิดอารมณ์จากการวางเงื่อนไข
(Conditioned emotion) ในการจัดการเรียนการสอน ในด้าน
ความแตกต่างระหว่างบุคคล ความแตกต่างทางด้านอารมณ์มีการ
ตอบสนองได้ไม่เท่ากัน จาเป็นต้องคานึงถึงสภาพทางอารมณ์ผู้เรียนว่า
เหมาะสมที่จะสอนเนื้อหาใด
แนวคิดของ Skinner
มีแนวคิดว่า การเรียนรู้เกิดขึ้นภายใต้เงื่อนไขและสภาวะแวดล้อมที่
เหมาะสม โดยสกินเนอร์มองว่าพฤติกรรมของมนุษย์เป็นพฤติกรรมที่กระทาต่อ
สิ่งแวดล้อมของตนเอง พฤติกรรมของมนุษย์จะคงอยู่ตลอดไป จาเป็นต้องมีการ
เสริมแรงทั้งการเสริมแรงทางบวก (Positive Reinforcement) และการ
เสริมแรงทางลบ (Negative Reinforcement)
ในการสอน การให้การเสริมแรงหลังการตอบสนองที่เหมาะสมของเด็กจะช่วย
เพิ่มอัตราการตอบสนอง มีการเว้นระยะการเสริมแรงอย่างไม่เป็นระบบ หรือเปลี่ยน
รูปแบบการเสริมแรงจะช่วยให้การตอบสนองของผู้เรียนคงทน การลงโทษที่รุนแรง
เกินไป มีผลเสีย ผู้เรียนอาจไม่ได้เรียนรู้หรือจาสิ่งที่เรียนรู้ไม่ได้ ควรใช้วิธีการงดการ
เสริมแรงเมื่อผู้เรียนมีพฤติกรรมไม่พึงประสงค์
รายชื่อผู้จัดทา
นางสาวกานต์ธิดา จูมสิมมา 573050229-
1
นางสาวกมลาภา กองฉลาด 573050568-
9
นางสาวดวงหทัย วิสัยกล้า 573050677-
4
 สาขาการสอนภาษาญี่ปุ่น ชั้นปีที่ 2

More Related Content

What's hot

รูปแบบการเรียนการสอนตามทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์
รูปแบบการเรียนการสอนตามทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์รูปแบบการเรียนการสอนตามทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์
รูปแบบการเรียนการสอนตามทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์Mod DW
 
ชุดสร้างความรู้ตามแนวคอนสตรัคติวิสต์
ชุดสร้างความรู้ตามแนวคอนสตรัคติวิสต์ชุดสร้างความรู้ตามแนวคอนสตรัคติวิสต์
ชุดสร้างความรู้ตามแนวคอนสตรัคติวิสต์Charuni Samat
 
การพัฒนานวัตกรรมการสร้างความรู้ตามแนวคอนสตรัคติวิสต์
การพัฒนานวัตกรรมการสร้างความรู้ตามแนวคอนสตรัคติวิสต์การพัฒนานวัตกรรมการสร้างความรู้ตามแนวคอนสตรัคติวิสต์
การพัฒนานวัตกรรมการสร้างความรู้ตามแนวคอนสตรัคติวิสต์Charuni Samat
 
ทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตัวเอง constructivism
ทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตัวเอง constructivismทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตัวเอง constructivism
ทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตัวเอง constructivismคน ขี้เล่า
 
การสอนแบบสืบเสาะ
การสอนแบบสืบเสาะการสอนแบบสืบเสาะ
การสอนแบบสืบเสาะWeerachat Martluplao
 
09.chapter6 the learning sciences
09.chapter6 the learning sciences09.chapter6 the learning sciences
09.chapter6 the learning sciencesKruBeeKa
 
ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้Supeii Akw
 
คอนสตรัคติวิสต์
คอนสตรัคติวิสต์คอนสตรัคติวิสต์
คอนสตรัคติวิสต์Cholthicha JaNg
 
นายธนศิษฎ์ ศรีเมือง 525050434-9
นายธนศิษฎ์ ศรีเมือง 525050434-9นายธนศิษฎ์ ศรีเมือง 525050434-9
นายธนศิษฎ์ ศรีเมือง 525050434-9maxcrycry
 
การจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดคอนสตรัคติวิสต์
การจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดคอนสตรัคติวิสต์การจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดคอนสตรัคติวิสต์
การจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดคอนสตรัคติวิสต์Fern's Supakyada
 
ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้Thunyalak Thumphila
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่Jo Smartscience II
 
ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้eubeve
 

What's hot (20)

รูปแบบการเรียนการสอนตามทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์
รูปแบบการเรียนการสอนตามทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์รูปแบบการเรียนการสอนตามทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์
รูปแบบการเรียนการสอนตามทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์
 
ภารกิจครูมือใหม่
ภารกิจครูมือใหม่ภารกิจครูมือใหม่
ภารกิจครูมือใหม่
 
ชุดสร้างความรู้ตามแนวคอนสตรัคติวิสต์
ชุดสร้างความรู้ตามแนวคอนสตรัคติวิสต์ชุดสร้างความรู้ตามแนวคอนสตรัคติวิสต์
ชุดสร้างความรู้ตามแนวคอนสตรัคติวิสต์
 
Innovation
InnovationInnovation
Innovation
 
ครูฝึกหัด
ครูฝึกหัดครูฝึกหัด
ครูฝึกหัด
 
การพัฒนานวัตกรรมการสร้างความรู้ตามแนวคอนสตรัคติวิสต์
การพัฒนานวัตกรรมการสร้างความรู้ตามแนวคอนสตรัคติวิสต์การพัฒนานวัตกรรมการสร้างความรู้ตามแนวคอนสตรัคติวิสต์
การพัฒนานวัตกรรมการสร้างความรู้ตามแนวคอนสตรัคติวิสต์
 
ทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตัวเอง constructivism
ทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตัวเอง constructivismทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตัวเอง constructivism
ทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตัวเอง constructivism
 
การสอนแบบสืบเสาะ
การสอนแบบสืบเสาะการสอนแบบสืบเสาะ
การสอนแบบสืบเสาะ
 
09.chapter6 the learning sciences
09.chapter6 the learning sciences09.chapter6 the learning sciences
09.chapter6 the learning sciences
 
ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้
 
Cognitivism
CognitivismCognitivism
Cognitivism
 
09 10-14 cognitive constructivismv2
09 10-14 cognitive constructivismv209 10-14 cognitive constructivismv2
09 10-14 cognitive constructivismv2
 
คอนสตรัคติวิสต์
คอนสตรัคติวิสต์คอนสตรัคติวิสต์
คอนสตรัคติวิสต์
 
นายธนศิษฎ์ ศรีเมือง 525050434-9
นายธนศิษฎ์ ศรีเมือง 525050434-9นายธนศิษฎ์ ศรีเมือง 525050434-9
นายธนศิษฎ์ ศรีเมือง 525050434-9
 
การจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดคอนสตรัคติวิสต์
การจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดคอนสตรัคติวิสต์การจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดคอนสตรัคติวิสต์
การจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดคอนสตรัคติวิสต์
 
ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้
 
Constructivismใหม่j
Constructivismใหม่jConstructivismใหม่j
Constructivismใหม่j
 
Cognitivism
CognitivismCognitivism
Cognitivism
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้
 

Viewers also liked

บทที่2ทฤษฎีการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้องกับนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรี...
บทที่2ทฤษฎีการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้องกับนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรี...บทที่2ทฤษฎีการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้องกับนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรี...
บทที่2ทฤษฎีการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้องกับนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรี...พาขวัญ แด่ว
 
ทฤษฎีการเรียนรู้ของวัตสัน
ทฤษฎีการเรียนรู้ของวัตสันทฤษฎีการเรียนรู้ของวัตสัน
ทฤษฎีการเรียนรู้ของวัตสันearlychildhood024057
 
แนวคิด ทฤษฎี ที่ถูกนำมาใช้ในการออกแบบ
แนวคิด ทฤษฎี ที่ถูกนำมาใช้ในการออกแบบแนวคิด ทฤษฎี ที่ถูกนำมาใช้ในการออกแบบ
แนวคิด ทฤษฎี ที่ถูกนำมาใช้ในการออกแบบNunin Bowornwattana
 
ประเทศกัมพูชา
ประเทศกัมพูชาประเทศกัมพูชา
ประเทศกัมพูชาNarubesto Pratomtong
 
Problemas con-el-monitor
Problemas con-el-monitorProblemas con-el-monitor
Problemas con-el-monitorCompu Fixed
 
บทที่ 2 ทฤษฎีการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้องกับนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเ...
บทที่ 2 ทฤษฎีการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้องกับนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเ...บทที่ 2 ทฤษฎีการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้องกับนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเ...
บทที่ 2 ทฤษฎีการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้องกับนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเ...Jan Sirinoot
 
พฤติกรรมองค์กร
พฤติกรรมองค์กร พฤติกรรมองค์กร
พฤติกรรมองค์กร Prathum Charoenroop
 
ทฤษฎีพัฒนาการอีริคสัน
ทฤษฎีพัฒนาการอีริคสันทฤษฎีพัฒนาการอีริคสัน
ทฤษฎีพัฒนาการอีริคสันHabsoh Noitabtim
 
ทฤษฎี การเรียนรู้ของพาฟลอฟ
ทฤษฎี การเรียนรู้ของพาฟลอฟทฤษฎี การเรียนรู้ของพาฟลอฟ
ทฤษฎี การเรียนรู้ของพาฟลอฟearlychildhood024057
 
Ch1 แนวคิดเกี่ยวกับการจัดการ
Ch1 แนวคิดเกี่ยวกับการจัดการCh1 แนวคิดเกี่ยวกับการจัดการ
Ch1 แนวคิดเกี่ยวกับการจัดการNittaya Intarat
 
ทฤษฎีของGestalt
ทฤษฎีของGestaltทฤษฎีของGestalt
ทฤษฎีของGestaltNusaiMath
 
ทฤษฎีการเรียนรู้ของแบนดูรา
ทฤษฎีการเรียนรู้ของแบนดูราทฤษฎีการเรียนรู้ของแบนดูรา
ทฤษฎีการเรียนรู้ของแบนดูราhoossanee
 
ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้name_bwn
 
ทฤษฎีกลุ่มเกสตัลท์-gestalts-theory
ทฤษฎีกลุ่มเกสตัลท์-gestalts-theoryทฤษฎีกลุ่มเกสตัลท์-gestalts-theory
ทฤษฎีกลุ่มเกสตัลท์-gestalts-theoryearlychildhood024057
 
บทที่ 2 พัฒนาการของแนวคิดและทฤษฎีการจัดการ
บทที่ 2 พัฒนาการของแนวคิดและทฤษฎีการจัดการบทที่ 2 พัฒนาการของแนวคิดและทฤษฎีการจัดการ
บทที่ 2 พัฒนาการของแนวคิดและทฤษฎีการจัดการNapin Yeamprayunsawasd
 

Viewers also liked (20)

บทที่2ทฤษฎีการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้องกับนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรี...
บทที่2ทฤษฎีการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้องกับนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรี...บทที่2ทฤษฎีการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้องกับนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรี...
บทที่2ทฤษฎีการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้องกับนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรี...
 
ทฤษฎีการเรียนรู้ของวัตสัน
ทฤษฎีการเรียนรู้ของวัตสันทฤษฎีการเรียนรู้ของวัตสัน
ทฤษฎีการเรียนรู้ของวัตสัน
 
แนวคิด ทฤษฎี ที่ถูกนำมาใช้ในการออกแบบ
แนวคิด ทฤษฎี ที่ถูกนำมาใช้ในการออกแบบแนวคิด ทฤษฎี ที่ถูกนำมาใช้ในการออกแบบ
แนวคิด ทฤษฎี ที่ถูกนำมาใช้ในการออกแบบ
 
ประเทศกัมพูชา
ประเทศกัมพูชาประเทศกัมพูชา
ประเทศกัมพูชา
 
Problemas con-el-monitor
Problemas con-el-monitorProblemas con-el-monitor
Problemas con-el-monitor
 
บทที่ 2 ทฤษฎีการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้องกับนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเ...
บทที่ 2 ทฤษฎีการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้องกับนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเ...บทที่ 2 ทฤษฎีการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้องกับนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเ...
บทที่ 2 ทฤษฎีการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้องกับนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเ...
 
Process instrumentation unit 10
Process instrumentation unit 10Process instrumentation unit 10
Process instrumentation unit 10
 
พฤติกรรมองค์กร
พฤติกรรมองค์กร พฤติกรรมองค์กร
พฤติกรรมองค์กร
 
1051202 จิตวิทยาการเรียนรู้ ชุด 1
1051202 จิตวิทยาการเรียนรู้ ชุด 11051202 จิตวิทยาการเรียนรู้ ชุด 1
1051202 จิตวิทยาการเรียนรู้ ชุด 1
 
ทฤษฎีพัฒนาการอีริคสัน
ทฤษฎีพัฒนาการอีริคสันทฤษฎีพัฒนาการอีริคสัน
ทฤษฎีพัฒนาการอีริคสัน
 
5 behavior theory 15092558 (1)
5 behavior theory 15092558 (1)5 behavior theory 15092558 (1)
5 behavior theory 15092558 (1)
 
ทฤษฎี การเรียนรู้ของพาฟลอฟ
ทฤษฎี การเรียนรู้ของพาฟลอฟทฤษฎี การเรียนรู้ของพาฟลอฟ
ทฤษฎี การเรียนรู้ของพาฟลอฟ
 
Ciencias politica
Ciencias politicaCiencias politica
Ciencias politica
 
Attitude
AttitudeAttitude
Attitude
 
Ch1 แนวคิดเกี่ยวกับการจัดการ
Ch1 แนวคิดเกี่ยวกับการจัดการCh1 แนวคิดเกี่ยวกับการจัดการ
Ch1 แนวคิดเกี่ยวกับการจัดการ
 
ทฤษฎีของGestalt
ทฤษฎีของGestaltทฤษฎีของGestalt
ทฤษฎีของGestalt
 
ทฤษฎีการเรียนรู้ของแบนดูรา
ทฤษฎีการเรียนรู้ของแบนดูราทฤษฎีการเรียนรู้ของแบนดูรา
ทฤษฎีการเรียนรู้ของแบนดูรา
 
ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้
 
ทฤษฎีกลุ่มเกสตัลท์-gestalts-theory
ทฤษฎีกลุ่มเกสตัลท์-gestalts-theoryทฤษฎีกลุ่มเกสตัลท์-gestalts-theory
ทฤษฎีกลุ่มเกสตัลท์-gestalts-theory
 
บทที่ 2 พัฒนาการของแนวคิดและทฤษฎีการจัดการ
บทที่ 2 พัฒนาการของแนวคิดและทฤษฎีการจัดการบทที่ 2 พัฒนาการของแนวคิดและทฤษฎีการจัดการ
บทที่ 2 พัฒนาการของแนวคิดและทฤษฎีการจัดการ
 

Similar to บทที่2ทฤษฎีการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้องกับนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้

Presentation 5
Presentation 5Presentation 5
Presentation 5moohmed
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2issaraka
 
ระดับครูมือใหม่1
ระดับครูมือใหม่1ระดับครูมือใหม่1
ระดับครูมือใหม่1Kiw E D
 
กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็น อ.ต้าร์
กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็น อ.ต้าร์กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็น อ.ต้าร์
กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็น อ.ต้าร์Albert Sigum
 
กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็น อ.ต้าร์
กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็น อ.ต้าร์กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็น อ.ต้าร์
กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็น อ.ต้าร์Albert Sigum
 
กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็นอย่างไร
กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็นอย่างไรกระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็นอย่างไร
กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็นอย่างไรAlbert Sigum
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่noiiso_M2
 
ภารกิจระดับครูมือใหม่
ภารกิจระดับครูมือใหม่ภารกิจระดับครูมือใหม่
ภารกิจระดับครูมือใหม่Vachii Ra
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่panggoo
 

Similar to บทที่2ทฤษฎีการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้องกับนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้ (20)

บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
Presentation 5
Presentation 5Presentation 5
Presentation 5
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
ระดับครูมือใหม่1
ระดับครูมือใหม่1ระดับครูมือใหม่1
ระดับครูมือใหม่1
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็น อ.ต้าร์
กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็น อ.ต้าร์กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็น อ.ต้าร์
กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็น อ.ต้าร์
 
กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็น อ.ต้าร์
กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็น อ.ต้าร์กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็น อ.ต้าร์
กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็น อ.ต้าร์
 
กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็นอย่างไร
กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็นอย่างไรกระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็นอย่างไร
กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็นอย่างไร
 
แบบนำเสนอผลงานวิชาการ
แบบนำเสนอผลงานวิชาการแบบนำเสนอผลงานวิชาการ
แบบนำเสนอผลงานวิชาการ
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
ภารกิจระดับครูมือใหม่
ภารกิจระดับครูมือใหม่ภารกิจระดับครูมือใหม่
ภารกิจระดับครูมือใหม่
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
พุทธิปัญญา
พุทธิปัญญาพุทธิปัญญา
พุทธิปัญญา
 
พุทธิปัญญา
พุทธิปัญญาพุทธิปัญญา
พุทธิปัญญา
 
201704_cognitive_weapon
201704_cognitive_weapon201704_cognitive_weapon
201704_cognitive_weapon
 

บทที่2ทฤษฎีการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้องกับนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้