SlideShare a Scribd company logo
1 of 16
1. จากการทดลองสรุปได้ว่าการควบคุมสิ่งเร้าที่วางเงื่อนไขกับสิ่งเร้าตาม
ธรรมชาตินั้น สามารถที่จะควบคุมให้เกิดสิ่งใดขึ้น ?
ก. การตอบสนองต่อสิ่งเร้า
ข. พฤติกรรม
ค. ความกลัว
ง. การเรียนรู้ที่จะตอบสนองสิ่งเร้า
2. พฤติกรรมของมนุษย์เกิดจากการตอบสนองต่อสิ่งใด
ก. สิ่งเร้า
ข. สิ่งที่สนใจ
ค. สิ่งที่ทาให้เกิดอารมณ์
ง. สิ่งแวดล้อม
3. สิ่งเร้าที่ไม่วางเงื่อนไขใหม่ (UCS)ที่ตรงข้ามกับสิ่งเร้าเก่า (UCS) เพื่อให้เกิด
การตอบสนองที่ตรงข้ามกับการตอบสนองเดิม เป็นการวางเงื่อนไขแบบใด
ก. การวางเงื่อนไขให้กลัว
ข. การวางเงื่อนไขกลับ
ค. การวางเงื่อนไขแบบคลาสสิค
ง. การวางเงื่อนไขแบบการตอบสนอง
4. ข้อใดคือแผนผังแสดงการวางเงื่อนไขกลับ
ก. ข.
ค. ง. ข้อ ก. และ ข้อ ข ถูกต้อง
5. ข้อใดต่อไปนี้ไม่ใช่หลักการนาทฤษฎีของวัตสันมาประยุกต์ใช้
ก. การนาหลักการเพิ่มพฤติกรรมมาใช้
ข. การนาหลักการลดพฤติกรรมมาใช้
ค. การนากฏความคล้ายคลึงกันไปใช้
ง. การนากฎการจาแนกมาใช้
6. ข้อใดต่อไปนี้กล่าวถูกต้อง เกี่ยวกับทฤษฎีการเรียนรู้ของวัตสันที่ว่า พฤติกรรมเป็น
สิ่งที่สามารถควบคุมให้เกิดขึ้นได้หรือไม่ เพราะเหตุใด
ก. เกิดขึ้นได้ เพราะโดยการควบคุมสิ่งเร้าที่วางเงื่อนไขให้สัมพันธ์กับสิ่งเร้า
ตามธรรมชาติ
ข. เกิดขึ้นได้ เพราะการเรียนรู้จะคงทนถาวร หากมีการให้สิ่งเร้าที่สัมพันธ์กัน
นั้นควบคู่กันไปอย่างสม่าเสมอ
ค. เกิดขึ้นไม่ได้ เพราะพฤติกรรมเป็นสิ่งที่ไม่สามารถควบคุมได้ เนื่องจาก
เด็กจะเอาอารมณ์ของตนเป็นที่ตั้ง
ง. ก และ ข ถูกต้อง –
7. วันหนึ่งขณะที่หนูน้อยนั่งเล่นอยู่ มีหนูขาววิ่งเขามาหนูน้อยก็นั่งเล่นโดยที่ไม่กลัวหนู
ขาวเลย วันต่อมาหนูน้อยนั่งเล่นอยู่ที่เดิมแล้วหนูขาวก็วิ่งเข้ามา ในขณะที่หนูขาววิ่งเข้า
มานั้นพ่อของหนูน้อยก็ได้นาค้อนไปเคาะที่กระเบื้องข้างบ้านเกิดเสียงดัง ทาให้หนูน้อย
ตกใจแล้วเกิดความกลัว ความกลัวที่กล่าวมาข้างต้น เรียกอีกอย่างว่าอะไร
ก. UCS ข. CR ค. UCR ง. CS
8. วัตสัน ใช้สิ่งเร้าสองสิ่งมาคู่กันแล้วทาให้เกิด การตอบสนองอย่างเดียว สิ่งเร้าสองสิ่งคือ
อะไร
ก.สิ่งเร้าที่วางเงื่อนไข (CS) กับ สิ่งเร้าที่ไม่วางเงื่อนไข (UCR)
ข.สิ่งเร้าที่วางเงื่อนไข (CS) กับ ความกลัว (CR)
ค.ความกลัว (CR) กับ การตอบสนองที่ไม่ต้องวางเงื่อนไข (UCR)
ง.สิ่งเร้าที่ไม่วางเงื่อนไข (UCR) กับ การตอบสนองที่ไม่ต้องวางเงื่อนไข (UCR)
9. ข้อใดคล้ายคลึงกับการทดลองของวัตสันมากที่สุด
ก. จอยอยากให้สนุขเดินได้จึงให้อาหารสุนัขโดยการแขวน
ข. อายสั่นกระดิ่งก่อนให้อาหารปลาทุกครั้งเพื่อเป็นสัญญาน
ค. ปิงเป่านกหวีดทุกครั้งเมื่อมีคนเดินเข้าใกล้กรงเสือ
ง. แอลฟาชอบเล่นกระต่าย แม่ไม่อยากให้แอลฟาเล่นกระต่ายจึงเปิดวีดีโอผี
กระต่ายให้แอลฟาดูบ่อยๆ แอลฟากลัวมากและไม่อยากเล่นกระต่ายอีกเลย
10. แนวคิดของบุคลใดตรงกับแนวคิดของวัตสันมากที่สุด
ก. เจนเชื่อว่าสิ่งแวดล้อมคือตัวกาหนดพฤติกรรมของเด็ก
ข. นานาเชื่อว่าเขาสามารถสร้างให้เด็กเป็นอะไรก็ได้โดยการวางเงื่อนไข
ค. อิงเชื่อว่าการวางเงื่อนไขต้องดูจากภูมิฐานของเด็ก
ง. ซาร่าเชื่อว่าเด็กคือผ้าขาวที่ผู้ใหญ่จะแต่งเติมอย่างไรก็ได้
ทฤษฎีการเรียนรู้ของวัตสัน
ทฤษฎีการเรียนรู้ของวัตสัน
ทฤษฎีการเรียนรู้ของวัตสัน
ทฤษฎีการเรียนรู้ของวัตสัน
ทฤษฎีการเรียนรู้ของวัตสัน
ทฤษฎีการเรียนรู้ของวัตสัน
ทฤษฎีการเรียนรู้ของวัตสัน
ทฤษฎีการเรียนรู้ของวัตสัน

More Related Content

Viewers also liked

ทฤษฎีพัฒนาการอีริคสัน
ทฤษฎีพัฒนาการอีริคสันทฤษฎีพัฒนาการอีริคสัน
ทฤษฎีพัฒนาการอีริคสันHabsoh Noitabtim
 
ทฤษฎี การเรียนรู้ของพาฟลอฟ
ทฤษฎี การเรียนรู้ของพาฟลอฟทฤษฎี การเรียนรู้ของพาฟลอฟ
ทฤษฎี การเรียนรู้ของพาฟลอฟearlychildhood024057
 
Ch1 แนวคิดเกี่ยวกับการจัดการ
Ch1 แนวคิดเกี่ยวกับการจัดการCh1 แนวคิดเกี่ยวกับการจัดการ
Ch1 แนวคิดเกี่ยวกับการจัดการNittaya Intarat
 
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธินิยม
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธินิยมทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธินิยม
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธินิยมNaracha Nong
 
ทฤษฎีของGestalt
ทฤษฎีของGestaltทฤษฎีของGestalt
ทฤษฎีของGestaltNusaiMath
 
ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้name_bwn
 
ทฤษฎีกลุ่มเกสตัลท์-gestalts-theory
ทฤษฎีกลุ่มเกสตัลท์-gestalts-theoryทฤษฎีกลุ่มเกสตัลท์-gestalts-theory
ทฤษฎีกลุ่มเกสตัลท์-gestalts-theoryearlychildhood024057
 
บทที่ 2 พัฒนาการของแนวคิดและทฤษฎีการจัดการ
บทที่ 2 พัฒนาการของแนวคิดและทฤษฎีการจัดการบทที่ 2 พัฒนาการของแนวคิดและทฤษฎีการจัดการ
บทที่ 2 พัฒนาการของแนวคิดและทฤษฎีการจัดการNapin Yeamprayunsawasd
 
ทฤษฎีพัฒนาการของฟรอยด์
ทฤษฎีพัฒนาการของฟรอยด์ทฤษฎีพัฒนาการของฟรอยด์
ทฤษฎีพัฒนาการของฟรอยด์hoossanee
 
Motivation (แรงจูงใจ) ch.7 สำหรับนิสิตวิชาพฤติกรรมผู้บริโภค
Motivation (แรงจูงใจ) ch.7 สำหรับนิสิตวิชาพฤติกรรมผู้บริโภคMotivation (แรงจูงใจ) ch.7 สำหรับนิสิตวิชาพฤติกรรมผู้บริโภค
Motivation (แรงจูงใจ) ch.7 สำหรับนิสิตวิชาพฤติกรรมผู้บริโภคMahasarakham Business School, Mahasarakham University
 
7 พฤติกรรมศาสตร์
7 พฤติกรรมศาสตร์7 พฤติกรรมศาสตร์
7 พฤติกรรมศาสตร์Watcharin Chongkonsatit
 
ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้Bay Phitsacha Kanjanawiwin
 
Chapter 3 พฤติกรรมศาสตร์กับการพัฒนาองค์การ
Chapter 3 พฤติกรรมศาสตร์กับการพัฒนาองค์การChapter 3 พฤติกรรมศาสตร์กับการพัฒนาองค์การ
Chapter 3 พฤติกรรมศาสตร์กับการพัฒนาองค์การwanna2728
 
ทฤษฎีและการประยุกต์ใช้
ทฤษฎีและการประยุกต์ใช้ทฤษฎีและการประยุกต์ใช้
ทฤษฎีและการประยุกต์ใช้Pimpichcha Thammawonng
 
สไลด์แชร์(พ้อย)
สไลด์แชร์(พ้อย)สไลด์แชร์(พ้อย)
สไลด์แชร์(พ้อย)Nupla
 

Viewers also liked (20)

1051202 จิตวิทยาการเรียนรู้ ชุด 1
1051202 จิตวิทยาการเรียนรู้ ชุด 11051202 จิตวิทยาการเรียนรู้ ชุด 1
1051202 จิตวิทยาการเรียนรู้ ชุด 1
 
ทฤษฎีพัฒนาการอีริคสัน
ทฤษฎีพัฒนาการอีริคสันทฤษฎีพัฒนาการอีริคสัน
ทฤษฎีพัฒนาการอีริคสัน
 
5 behavior theory 15092558 (1)
5 behavior theory 15092558 (1)5 behavior theory 15092558 (1)
5 behavior theory 15092558 (1)
 
ทฤษฎี การเรียนรู้ของพาฟลอฟ
ทฤษฎี การเรียนรู้ของพาฟลอฟทฤษฎี การเรียนรู้ของพาฟลอฟ
ทฤษฎี การเรียนรู้ของพาฟลอฟ
 
Ciencias politica
Ciencias politicaCiencias politica
Ciencias politica
 
Attitude
AttitudeAttitude
Attitude
 
Ch1 แนวคิดเกี่ยวกับการจัดการ
Ch1 แนวคิดเกี่ยวกับการจัดการCh1 แนวคิดเกี่ยวกับการจัดการ
Ch1 แนวคิดเกี่ยวกับการจัดการ
 
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธินิยม
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธินิยมทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธินิยม
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธินิยม
 
ทฤษฎีของGestalt
ทฤษฎีของGestaltทฤษฎีของGestalt
ทฤษฎีของGestalt
 
ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้
 
ทฤษฎีกลุ่มเกสตัลท์-gestalts-theory
ทฤษฎีกลุ่มเกสตัลท์-gestalts-theoryทฤษฎีกลุ่มเกสตัลท์-gestalts-theory
ทฤษฎีกลุ่มเกสตัลท์-gestalts-theory
 
บทที่ 2 พัฒนาการของแนวคิดและทฤษฎีการจัดการ
บทที่ 2 พัฒนาการของแนวคิดและทฤษฎีการจัดการบทที่ 2 พัฒนาการของแนวคิดและทฤษฎีการจัดการ
บทที่ 2 พัฒนาการของแนวคิดและทฤษฎีการจัดการ
 
ทฤษฎีพัฒนาการของฟรอยด์
ทฤษฎีพัฒนาการของฟรอยด์ทฤษฎีพัฒนาการของฟรอยด์
ทฤษฎีพัฒนาการของฟรอยด์
 
บทที่1 ทฤษฎีการเรียนรู้
บทที่1 ทฤษฎีการเรียนรู้บทที่1 ทฤษฎีการเรียนรู้
บทที่1 ทฤษฎีการเรียนรู้
 
Motivation (แรงจูงใจ) ch.7 สำหรับนิสิตวิชาพฤติกรรมผู้บริโภค
Motivation (แรงจูงใจ) ch.7 สำหรับนิสิตวิชาพฤติกรรมผู้บริโภคMotivation (แรงจูงใจ) ch.7 สำหรับนิสิตวิชาพฤติกรรมผู้บริโภค
Motivation (แรงจูงใจ) ch.7 สำหรับนิสิตวิชาพฤติกรรมผู้บริโภค
 
7 พฤติกรรมศาสตร์
7 พฤติกรรมศาสตร์7 พฤติกรรมศาสตร์
7 พฤติกรรมศาสตร์
 
ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้
 
Chapter 3 พฤติกรรมศาสตร์กับการพัฒนาองค์การ
Chapter 3 พฤติกรรมศาสตร์กับการพัฒนาองค์การChapter 3 พฤติกรรมศาสตร์กับการพัฒนาองค์การ
Chapter 3 พฤติกรรมศาสตร์กับการพัฒนาองค์การ
 
ทฤษฎีและการประยุกต์ใช้
ทฤษฎีและการประยุกต์ใช้ทฤษฎีและการประยุกต์ใช้
ทฤษฎีและการประยุกต์ใช้
 
สไลด์แชร์(พ้อย)
สไลด์แชร์(พ้อย)สไลด์แชร์(พ้อย)
สไลด์แชร์(พ้อย)
 

Similar to ทฤษฎีการเรียนรู้ของวัตสัน

Problem base
Problem baseProblem base
Problem basenilobon66
 
พาฟลอฟ
พาฟลอฟพาฟลอฟ
พาฟลอฟya035
 
พาฟลอฟ
พาฟลอฟพาฟลอฟ
พาฟลอฟya035
 
พาฟลอฟ
พาฟลอฟพาฟลอฟ
พาฟลอฟya035
 
จิตวิทยาการเรียนร้2
จิตวิทยาการเรียนร้2จิตวิทยาการเรียนร้2
จิตวิทยาการเรียนร้2kungcomedu
 
สถานการณ์ปัญหาเพื่อการเรียนรู้
สถานการณ์ปัญหาเพื่อการเรียนรู้สถานการณ์ปัญหาเพื่อการเรียนรู้
สถานการณ์ปัญหาเพื่อการเรียนรู้pimporn454
 
ตอบสถานการณ์ปัญาหา แนวคิดพฤติกรรมนิยม.Pdมf
ตอบสถานการณ์ปัญาหา แนวคิดพฤติกรรมนิยม.Pdมfตอบสถานการณ์ปัญาหา แนวคิดพฤติกรรมนิยม.Pdมf
ตอบสถานการณ์ปัญาหา แนวคิดพฤติกรรมนิยม.Pdมfนิพ พิทา
 
ตอบสถานการณ์ปัญาหา แนวคิดพฤติกรรมนิยม.Pdมf
ตอบสถานการณ์ปัญาหา แนวคิดพฤติกรรมนิยม.Pdมfตอบสถานการณ์ปัญาหา แนวคิดพฤติกรรมนิยม.Pdมf
ตอบสถานการณ์ปัญาหา แนวคิดพฤติกรรมนิยม.Pdมfนิพ พิทา
 

Similar to ทฤษฎีการเรียนรู้ของวัตสัน (10)

ชีวประวัติและงานวิจัย
ชีวประวัติและงานวิจัยชีวประวัติและงานวิจัย
ชีวประวัติและงานวิจัย
 
Problem base
Problem baseProblem base
Problem base
 
พาฟลอฟ
พาฟลอฟพาฟลอฟ
พาฟลอฟ
 
พาฟลอฟ
พาฟลอฟพาฟลอฟ
พาฟลอฟ
 
พาฟลอฟ
พาฟลอฟพาฟลอฟ
พาฟลอฟ
 
Perception,learning,memory (Ch.6), Consumer Behavior Class
Perception,learning,memory (Ch.6), Consumer Behavior ClassPerception,learning,memory (Ch.6), Consumer Behavior Class
Perception,learning,memory (Ch.6), Consumer Behavior Class
 
จิตวิทยาการเรียนร้2
จิตวิทยาการเรียนร้2จิตวิทยาการเรียนร้2
จิตวิทยาการเรียนร้2
 
สถานการณ์ปัญหาเพื่อการเรียนรู้
สถานการณ์ปัญหาเพื่อการเรียนรู้สถานการณ์ปัญหาเพื่อการเรียนรู้
สถานการณ์ปัญหาเพื่อการเรียนรู้
 
ตอบสถานการณ์ปัญาหา แนวคิดพฤติกรรมนิยม.Pdมf
ตอบสถานการณ์ปัญาหา แนวคิดพฤติกรรมนิยม.Pdมfตอบสถานการณ์ปัญาหา แนวคิดพฤติกรรมนิยม.Pdมf
ตอบสถานการณ์ปัญาหา แนวคิดพฤติกรรมนิยม.Pdมf
 
ตอบสถานการณ์ปัญาหา แนวคิดพฤติกรรมนิยม.Pdมf
ตอบสถานการณ์ปัญาหา แนวคิดพฤติกรรมนิยม.Pdมfตอบสถานการณ์ปัญาหา แนวคิดพฤติกรรมนิยม.Pdมf
ตอบสถานการณ์ปัญาหา แนวคิดพฤติกรรมนิยม.Pdมf
 

More from earlychildhood024057

ทฤษฎ สัมพันธ์เชื่อมโยงของธอร์นไดค์
ทฤษฎ สัมพันธ์เชื่อมโยงของธอร์นไดค์ทฤษฎ สัมพันธ์เชื่อมโยงของธอร์นไดค์
ทฤษฎ สัมพันธ์เชื่อมโยงของธอร์นไดค์earlychildhood024057
 
ทฤษฎีการเรียนรู้ของสกินเนอร์
ทฤษฎีการเรียนรู้ของสกินเนอร์ทฤษฎีการเรียนรู้ของสกินเนอร์
ทฤษฎีการเรียนรู้ของสกินเนอร์earlychildhood024057
 
ทฤษฏีพัฒนาการทางจริยธรรมของโคลเบิร์ก
ทฤษฏีพัฒนาการทางจริยธรรมของโคลเบิร์กทฤษฏีพัฒนาการทางจริยธรรมของโคลเบิร์ก
ทฤษฏีพัฒนาการทางจริยธรรมของโคลเบิร์กearlychildhood024057
 
ทฤษฎีการเรียนรู้ของ Bandura
ทฤษฎีการเรียนรู้ของ Banduraทฤษฎีการเรียนรู้ของ Bandura
ทฤษฎีการเรียนรู้ของ Banduraearlychildhood024057
 
ทฤษฎีพัฒนาการทางสติปัญญาบรูเนอร์
ทฤษฎีพัฒนาการทางสติปัญญาบรูเนอร์ทฤษฎีพัฒนาการทางสติปัญญาบรูเนอร์
ทฤษฎีพัฒนาการทางสติปัญญาบรูเนอร์earlychildhood024057
 
ทฤษฎีพัฒนาการทางสติปัญญาเพียเจต์
ทฤษฎีพัฒนาการทางสติปัญญาเพียเจต์ทฤษฎีพัฒนาการทางสติปัญญาเพียเจต์
ทฤษฎีพัฒนาการทางสติปัญญาเพียเจต์earlychildhood024057
 
ทฤษฎีของ โรเบิร์ต เจ ฮาวิกเฮิร์ท
ทฤษฎีของ โรเบิร์ต เจ  ฮาวิกเฮิร์ททฤษฎีของ โรเบิร์ต เจ  ฮาวิกเฮิร์ท
ทฤษฎีของ โรเบิร์ต เจ ฮาวิกเฮิร์ทearlychildhood024057
 
ทฤษฎีพัฒนาการของอีริคสัน
ทฤษฎีพัฒนาการของอีริคสันทฤษฎีพัฒนาการของอีริคสัน
ทฤษฎีพัฒนาการของอีริคสันearlychildhood024057
 
ทฤษฎีพัฒนาการของฟรอยด์
ทฤษฎีพัฒนาการของฟรอยด์ทฤษฎีพัฒนาการของฟรอยด์
ทฤษฎีพัฒนาการของฟรอยด์earlychildhood024057
 

More from earlychildhood024057 (9)

ทฤษฎ สัมพันธ์เชื่อมโยงของธอร์นไดค์
ทฤษฎ สัมพันธ์เชื่อมโยงของธอร์นไดค์ทฤษฎ สัมพันธ์เชื่อมโยงของธอร์นไดค์
ทฤษฎ สัมพันธ์เชื่อมโยงของธอร์นไดค์
 
ทฤษฎีการเรียนรู้ของสกินเนอร์
ทฤษฎีการเรียนรู้ของสกินเนอร์ทฤษฎีการเรียนรู้ของสกินเนอร์
ทฤษฎีการเรียนรู้ของสกินเนอร์
 
ทฤษฏีพัฒนาการทางจริยธรรมของโคลเบิร์ก
ทฤษฏีพัฒนาการทางจริยธรรมของโคลเบิร์กทฤษฏีพัฒนาการทางจริยธรรมของโคลเบิร์ก
ทฤษฏีพัฒนาการทางจริยธรรมของโคลเบิร์ก
 
ทฤษฎีการเรียนรู้ของ Bandura
ทฤษฎีการเรียนรู้ของ Banduraทฤษฎีการเรียนรู้ของ Bandura
ทฤษฎีการเรียนรู้ของ Bandura
 
ทฤษฎีพัฒนาการทางสติปัญญาบรูเนอร์
ทฤษฎีพัฒนาการทางสติปัญญาบรูเนอร์ทฤษฎีพัฒนาการทางสติปัญญาบรูเนอร์
ทฤษฎีพัฒนาการทางสติปัญญาบรูเนอร์
 
ทฤษฎีพัฒนาการทางสติปัญญาเพียเจต์
ทฤษฎีพัฒนาการทางสติปัญญาเพียเจต์ทฤษฎีพัฒนาการทางสติปัญญาเพียเจต์
ทฤษฎีพัฒนาการทางสติปัญญาเพียเจต์
 
ทฤษฎีของ โรเบิร์ต เจ ฮาวิกเฮิร์ท
ทฤษฎีของ โรเบิร์ต เจ  ฮาวิกเฮิร์ททฤษฎีของ โรเบิร์ต เจ  ฮาวิกเฮิร์ท
ทฤษฎีของ โรเบิร์ต เจ ฮาวิกเฮิร์ท
 
ทฤษฎีพัฒนาการของอีริคสัน
ทฤษฎีพัฒนาการของอีริคสันทฤษฎีพัฒนาการของอีริคสัน
ทฤษฎีพัฒนาการของอีริคสัน
 
ทฤษฎีพัฒนาการของฟรอยด์
ทฤษฎีพัฒนาการของฟรอยด์ทฤษฎีพัฒนาการของฟรอยด์
ทฤษฎีพัฒนาการของฟรอยด์
 

ทฤษฎีการเรียนรู้ของวัตสัน

  • 1.
  • 2.
  • 3.
  • 4. 1. จากการทดลองสรุปได้ว่าการควบคุมสิ่งเร้าที่วางเงื่อนไขกับสิ่งเร้าตาม ธรรมชาตินั้น สามารถที่จะควบคุมให้เกิดสิ่งใดขึ้น ? ก. การตอบสนองต่อสิ่งเร้า ข. พฤติกรรม ค. ความกลัว ง. การเรียนรู้ที่จะตอบสนองสิ่งเร้า 2. พฤติกรรมของมนุษย์เกิดจากการตอบสนองต่อสิ่งใด ก. สิ่งเร้า ข. สิ่งที่สนใจ ค. สิ่งที่ทาให้เกิดอารมณ์ ง. สิ่งแวดล้อม
  • 5. 3. สิ่งเร้าที่ไม่วางเงื่อนไขใหม่ (UCS)ที่ตรงข้ามกับสิ่งเร้าเก่า (UCS) เพื่อให้เกิด การตอบสนองที่ตรงข้ามกับการตอบสนองเดิม เป็นการวางเงื่อนไขแบบใด ก. การวางเงื่อนไขให้กลัว ข. การวางเงื่อนไขกลับ ค. การวางเงื่อนไขแบบคลาสสิค ง. การวางเงื่อนไขแบบการตอบสนอง 4. ข้อใดคือแผนผังแสดงการวางเงื่อนไขกลับ ก. ข. ค. ง. ข้อ ก. และ ข้อ ข ถูกต้อง
  • 6. 5. ข้อใดต่อไปนี้ไม่ใช่หลักการนาทฤษฎีของวัตสันมาประยุกต์ใช้ ก. การนาหลักการเพิ่มพฤติกรรมมาใช้ ข. การนาหลักการลดพฤติกรรมมาใช้ ค. การนากฏความคล้ายคลึงกันไปใช้ ง. การนากฎการจาแนกมาใช้ 6. ข้อใดต่อไปนี้กล่าวถูกต้อง เกี่ยวกับทฤษฎีการเรียนรู้ของวัตสันที่ว่า พฤติกรรมเป็น สิ่งที่สามารถควบคุมให้เกิดขึ้นได้หรือไม่ เพราะเหตุใด ก. เกิดขึ้นได้ เพราะโดยการควบคุมสิ่งเร้าที่วางเงื่อนไขให้สัมพันธ์กับสิ่งเร้า ตามธรรมชาติ ข. เกิดขึ้นได้ เพราะการเรียนรู้จะคงทนถาวร หากมีการให้สิ่งเร้าที่สัมพันธ์กัน นั้นควบคู่กันไปอย่างสม่าเสมอ ค. เกิดขึ้นไม่ได้ เพราะพฤติกรรมเป็นสิ่งที่ไม่สามารถควบคุมได้ เนื่องจาก เด็กจะเอาอารมณ์ของตนเป็นที่ตั้ง ง. ก และ ข ถูกต้อง –
  • 7. 7. วันหนึ่งขณะที่หนูน้อยนั่งเล่นอยู่ มีหนูขาววิ่งเขามาหนูน้อยก็นั่งเล่นโดยที่ไม่กลัวหนู ขาวเลย วันต่อมาหนูน้อยนั่งเล่นอยู่ที่เดิมแล้วหนูขาวก็วิ่งเข้ามา ในขณะที่หนูขาววิ่งเข้า มานั้นพ่อของหนูน้อยก็ได้นาค้อนไปเคาะที่กระเบื้องข้างบ้านเกิดเสียงดัง ทาให้หนูน้อย ตกใจแล้วเกิดความกลัว ความกลัวที่กล่าวมาข้างต้น เรียกอีกอย่างว่าอะไร ก. UCS ข. CR ค. UCR ง. CS 8. วัตสัน ใช้สิ่งเร้าสองสิ่งมาคู่กันแล้วทาให้เกิด การตอบสนองอย่างเดียว สิ่งเร้าสองสิ่งคือ อะไร ก.สิ่งเร้าที่วางเงื่อนไข (CS) กับ สิ่งเร้าที่ไม่วางเงื่อนไข (UCR) ข.สิ่งเร้าที่วางเงื่อนไข (CS) กับ ความกลัว (CR) ค.ความกลัว (CR) กับ การตอบสนองที่ไม่ต้องวางเงื่อนไข (UCR) ง.สิ่งเร้าที่ไม่วางเงื่อนไข (UCR) กับ การตอบสนองที่ไม่ต้องวางเงื่อนไข (UCR)
  • 8. 9. ข้อใดคล้ายคลึงกับการทดลองของวัตสันมากที่สุด ก. จอยอยากให้สนุขเดินได้จึงให้อาหารสุนัขโดยการแขวน ข. อายสั่นกระดิ่งก่อนให้อาหารปลาทุกครั้งเพื่อเป็นสัญญาน ค. ปิงเป่านกหวีดทุกครั้งเมื่อมีคนเดินเข้าใกล้กรงเสือ ง. แอลฟาชอบเล่นกระต่าย แม่ไม่อยากให้แอลฟาเล่นกระต่ายจึงเปิดวีดีโอผี กระต่ายให้แอลฟาดูบ่อยๆ แอลฟากลัวมากและไม่อยากเล่นกระต่ายอีกเลย 10. แนวคิดของบุคลใดตรงกับแนวคิดของวัตสันมากที่สุด ก. เจนเชื่อว่าสิ่งแวดล้อมคือตัวกาหนดพฤติกรรมของเด็ก ข. นานาเชื่อว่าเขาสามารถสร้างให้เด็กเป็นอะไรก็ได้โดยการวางเงื่อนไข ค. อิงเชื่อว่าการวางเงื่อนไขต้องดูจากภูมิฐานของเด็ก ง. ซาร่าเชื่อว่าเด็กคือผ้าขาวที่ผู้ใหญ่จะแต่งเติมอย่างไรก็ได้