SlideShare a Scribd company logo
1 of 15
Download to read offline
ทัศนคติ (Attitude)
ทัศนคติเป็นการกาหนดของพฤติกรรมเพราะว่าเกี่ยวพันกับการรับรู้
บุคลิกภาพ และการจูงใจ ทัศนคติเป็นความรู้สึกทั้งทั้งในทางบวกและในทางลบ
เป็นภาวะจิตใจของการเตรียมพร้อมที่จะเรียนรู้และถูกปรับตัวให้เข้ากับองค์การ
ทัศนคติ หมายถึง สภาวะทางจิต และสภาวะทางประสาทเกี่ยวกับความ
พร้อม ซึ่งเกิดขึ้นโดยอาศัยประสบการณ์เป็นตัวนา หรือมีอิทธิพลเหนือการ
ตอบสนองของแต่ละบุคคลที่มีต่อวัตถุ และสภาพการณ์ต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง
สัมพันธ์กัน
ทัศนคติเกิดขึ้นได้อย่างไร (How Attitude are Formed)
ทัศคติเกิดขึ้นมาได้จากหลายสาเหตุ ซึ่งรวมถึงค่านิยม
ประสบการณ์ และบุคลิกภาพส่วนบุคคล ดังนั้นการทาความเข้าใจ
โครงสร้างพื้นฐานของทัศนคติ จะช่วยให้เราสามารถจะเข้าใจถึง
ทัศนคติได้ว่าเกิดขึ้นได้อย่างไร และจะสามารถปรับเปลี่ยนแปลง
ทัศนคติไปได้อย่างไร
โครงสร้างของทัศนคติ (Attitude Structure)
1. ความพอใจของบุคคล (Person’ Affect) เกิดจากความรู้สึกที่มี
ต่อสิ่งต่าง ๆ ที่ได้พบเห็นหรือได้รับโดยตรง ความพอใจมีความคล้ายคลึงกับ
อารมณ์
2. ความตระหนัก (Cognition) คือ ความรู้สึกที่บุคคลยอมรับ
เกี่ยวกับสิ่งต่าง ๆ
3. ความตั้งใจ (Intention) คือ องค์ประกอบของทัศนคติที่นาไปสู่
พฤติกรรม
แนวคิดเกี่ยวกับทัศนคติ (Concept of Attitude)
1. องค์ประกอบด้านความรู้สึกและอารมณ์ (Affective or Emotional
component) เป็นส่วนที่เกี่ยวข้องกับอารมณ์หรือความรู้สึก เป็นความรู้สึกที่ค่อนข้าง
ละเอียดอ่อน ภาวะทางด้านอารมณ์และความรู้สึกที่เกี่ยวกับคนบางคน ทั้งความคิด
เหตุการณ์ หรือจุดประสงค์ ที่มีต่อสิ่งเร้าอันใดอันหนึ่ง
2. องค์ประกอบด้านการรับรู้หรือความเชื่อ (Cognitive or Belief
Component) เป็นส่วนที่เกี่ยวข้องกับการรับรู้หรือความเชื่อ ความคิดเห็น ความเข้าใจ
หรือความรู้ที่แต่ละบุคคลยึดมั่นไว้ในใจที่มีต่อสิ่งเร้า หรือต่อสิ่งของหรือปรากฏการณ์ต่าง ๆ
3. องค์ประกอบความพร้อมที่จะกระทาหรือด้านพฤติกรรม (Action
Tendency or Behavioral Component) เป็นส่วนที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมมี
ความสัมพันธ์ต่อเนื่องกับส่วนของความรู้สึก เป็นความพร้อมหรือแนวโน้มของบุคคลที่จะ
แสดงออกต่อสิ่งใดสิ่งหนึ่ง
แสดงถึงองค์ประกอบของทัศนคติ 3 ประการ
ตัวกระตุ้น ทัศนคติ ผลลัพธ์
องค์ประกอบของงาน ทัศนคติ การตอบสนอง
- การออกแบบงาน - ความรู้สึก - อารมณ์
- รูปแบบการจัดองค์การ - การกาหนดเกี่ยวกับความผูกพัน
- นโยบายบริษัท - ความเข้าใจ - การรับรู้
- เทคโนโลยี - การกาหนดเกี่ยวกับความเชื่อ
- เงินเดือน - พฤติกรรม - การกระทา
- ผลประโยชน์พิเศษที่ให้ลูกจ้าง - การกาหนดเกี่ยวกับพฤติกรรม
คุณลักษณะของทัศนคติ (Characteristics of Attitudes)
1. ทัศนคติเป็นสิ่งที่มีอยู่ภายใน ทัศนคติเป็นเรื่องของการจัดระเบียบ
ของแนวความคิด ความเชื่อที่เกิดขึ้นมาจากภายในของแต่ละบุคคล
2. ทัศนคติเป็นสิ่งที่ไม่ได้มีมาแต่กาเนิด ทัศนคติเป็นสิ่งที่บุคคลได้เรียนรู้
และเกี่ยวข้องกับสิ่งแวดล้อมภายนอก
3. ทัศนคติจะมีลักษณะมั่นคงถาวร หลังจากที่ทัศนคติได้ก่อตัวขึ้นมาใน
บุคคลนั้นแล้ว ก็ยากที่จะเปลี่ยนแปลงทัศนคติของบุคคลนั้นได้
4. ทัศนคติจะอ้างถึงสิ่งเร้าและสิ่งแวดล้อมรอบ ๆ ตัวของบุคคลที่เป็น
ตัวกระตุ้น ทัศนคติไม่ได้เป็นสิ่งที่เกิดขึ้นมาได้เองจากภายใน เป็นเรื่องที่เกิดขึ้น
จากการสัมผัสและเรียนรู้จากสิ่งภายนอก
ประเภทของทัศนคติ (Types of Attitudes)
- ความพอใจในงาน (Job Satisfaction) คือ ทัศนคติโดยทั่วไปของ
บุคคลที่มีต่องานของตน คนที่มีความพอใจในงานสูงจะมีทัศนคติที่เป็นบวกต่อ
งาน ขณะที่อีกคนหนึ่งไม่มีความพอใจในงานก็จะมีทัศนคติที่เป็นลบต่องาน
- ความเกี่ยวข้องกับงาน (Job involvement) คือ ระดับที่คนเรา
ได้รับการระบุว่ามีส่วนเข้าไปเกี่ยวข้องกับงาน และพิจารณาว่าเขามีผลงานสาคัญ
เท่าไรต่อคุณค่าของตัวเขาเอง
- ความผูกพันกับองค์การ (Organization Commitment) คือ
พนักงานจะเกิดทัศนคติที่ดีต่อองค์การ ถึงขนาดมีความผูกพัน (Commitment)
และจงรักภักดี (Loyalty) ต่อองค์การใคร่ที่จะเห็นความก้าวหน้าขององค์การ
ตราบเท่าที่องค์การยังสร้างความพอใจให้กับพนักงานอยู่
ทัศนคติและค่านิยม (Attitude and Values)
ทัศนคติเป็นความรู้สึกที่เป็นส่วนตัวของบุคคล ส่วนค่านิยม
เป็นสิ่งที่กลุ่มคนมีความคิดเห็นคล้ายคลึงกัน แต่ทั้งทัศนคติและ
ค่านิยม จะมีความเหมือนกันตรงที่เกิดมาจากกระบวนการเรียนรู้ทาง
สังคม การเรียนรู้จากประสบการณ์และต่างก็มีแนวโน้มของทัศนคติใน
การแสดงออกของบุคคลเหมือน ๆ กัน
ทัศนคติและความพึงพอใจ (Attitude and Job Satisfaction)
ความพึงพอใจในงานเป็นผลที่ได้จากการรับรู้งาน ซึ่งขึ้นอยู่กับ
องค์ประกอบของสิ่งแวดล้อมในการทางาน
ลักษณะที่สาคัญ 5 ประการ ที่เกี่ยวข้องกับความพึงพอใจในงานมีดังนี้
1. ผลตอบแทน
2. ลักษณะของงาน
3. โอกาสในการเลื่อนตาแหน่ง
4. ผู้บังคับบัญชา
5. ผู้ร่วมปฏิบัติงาน
ทัศนคติและพฤติกรรม (Attitudes and Behavior)
สภาพของพฤติกรรมที่เป็นปกติหรือการกระทาที่เหมาะสมตาม
แบบอย่างในการแสดงออกที่สังคมเป็นผู้กาหนดให้ประพฤติหรือไม่ให้ประพฤติก็
ได้ ถ้าทั้งทัศนคติและแบบอย่างการแสดงออกเป็นไปในทางบวกหรือสร้างสรรค์
ก็สามารถมองเห็นถึงพฤติกรรมและเจตนาของบุคคลที่แสดงออกมาได้อย่าง
ชัดเจน ถ้าทัศนคติกับการแสดงออกมีความขัดแย้งไม่ตรงกัน ก็อาจจะคาดหมาย
ถึงเจตนาของแต่ละบุคคลและพฤติกรรมที่ตามมาได้
ผลกระทบของทัศนคติ (The Impact of Attitudes)
ทัศนคติเป็นสิ่งที่มั่นคง มีความโน้มเอียงที่จะตอบสนองต่อลักษณะ
หลากหลายของสถานการณ์หรือวัตถุประสงค์ เราอาจจะลงความเห็นถึงท่าทาง
ของบุคคลโดยดูจากคาพูดวาจาที่แสดงถึงความเชื่อ ความรู้สึก หรือความมุ่ง
หมายของพฤติกรรมทีมุ่งต่อวัตถุประสงค์หรือสถานการณ์ จากปฏิกิริยาการรับรู้
และสรีระวิทยาหรือจากพฤติกรรมที่แสดงออกมา
การเปลี่ยนแปลงทัศนคติ (Attitude Change)
ทัศนคติเป็นสิ่งที่ไม่ใช่ลักษณะถาวรของบุคลิกภาพ และก็ไม่ใช่
เป็นสิ่งที่แน่นอนตายตัว ซึ่งทัศนคติของบุคคลจะเปลี่ยนแปลงได้ไม่ง่าย
นัก มักจะมีการเปลี่ยนแปลงไปก็ต่อเมื่อมีสิ่งเร้า หรือมีสิ่งมากระตุ้นให้
เกิดความต้องการที่จะเปลี่ยนแปลง
ทัศนคติสาคัญกว่าความฉลาด
ทัศนคติหลักที่มีอยู่ในตัวของทุกคนมี 2 ประเภท
ความยึดติด ความคิดเติบโต
- ไม่สามารถเปลี่ยนความคิดได้ - เชื่อว่าความพยายามนั้นสามารถสร้างได้
- เมื่อเจอสิ่งที่ท้าทายจะกลายเป็นปัญหา - มีความกล้าที่จะเรียนรู้สิ่งใหม่ ๆ
- ยอมแพ้ง่ายๆ ให้กับปัญหาต่างๆที่เข้ามา - สามารถทาทุกอย่างได้เต็มที่

More Related Content

What's hot

ใบงานที่ 1 ระบบการทำงานของคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 1 ระบบการทำงานของคอมพิวเตอร์ใบงานที่ 1 ระบบการทำงานของคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 1 ระบบการทำงานของคอมพิวเตอร์Nattapon
 
วิถีชีวิตกับพฤติกรรมผู้บริโภค (Self-image & Lifestyle : Ch 10)
วิถีชีวิตกับพฤติกรรมผู้บริโภค (Self-image & Lifestyle : Ch 10)วิถีชีวิตกับพฤติกรรมผู้บริโภค (Self-image & Lifestyle : Ch 10)
วิถีชีวิตกับพฤติกรรมผู้บริโภค (Self-image & Lifestyle : Ch 10)Mahasarakham Business School, Mahasarakham University
 
Chapter2 อุปสงค์อุปทาน
Chapter2 อุปสงค์อุปทานChapter2 อุปสงค์อุปทาน
Chapter2 อุปสงค์อุปทานPattapong Promchai
 
บทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
บทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึกบทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
บทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึกTa Lattapol
 
กิจกรรมสะเต็มศึกษา (สสวท.)
กิจกรรมสะเต็มศึกษา (สสวท.)กิจกรรมสะเต็มศึกษา (สสวท.)
กิจกรรมสะเต็มศึกษา (สสวท.)kroofon fon
 
บทที่ 6 ทฤษฎีการผลิต
บทที่ 6 ทฤษฎีการผลิตบทที่ 6 ทฤษฎีการผลิต
บทที่ 6 ทฤษฎีการผลิตOrnkapat Bualom
 
แบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆแบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆNaphachol Aon
 
ใบงานคำที่มาจากภาษาต่างประเทศ
ใบงานคำที่มาจากภาษาต่างประเทศใบงานคำที่มาจากภาษาต่างประเทศ
ใบงานคำที่มาจากภาษาต่างประเทศssuser456899
 
ทฤษฎีแรงจูงใจ
ทฤษฎีแรงจูงใจทฤษฎีแรงจูงใจ
ทฤษฎีแรงจูงใจPoy Thammaugsorn
 
กำหนดการโครงการต่าง ๆ
กำหนดการโครงการต่าง ๆกำหนดการโครงการต่าง ๆ
กำหนดการโครงการต่าง ๆLooktan Kp
 
แบบประเมินงานนำเสนอในรูปแบบออนไลน์
แบบประเมินงานนำเสนอในรูปแบบออนไลน์แบบประเมินงานนำเสนอในรูปแบบออนไลน์
แบบประเมินงานนำเสนอในรูปแบบออนไลน์kruood
 
สารชีวโมเลกุล2
สารชีวโมเลกุล2สารชีวโมเลกุล2
สารชีวโมเลกุล2Thanyamon Chat.
 
การจัดการเรียนรู้แบบค้นพบ
การจัดการเรียนรู้แบบค้นพบการจัดการเรียนรู้แบบค้นพบ
การจัดการเรียนรู้แบบค้นพบSunisa Khaisaeng
 
แบบประเมินผลชิ้นงาน
แบบประเมินผลชิ้นงานแบบประเมินผลชิ้นงาน
แบบประเมินผลชิ้นงานpacharawalee
 
บทที่ 3 วิธีจัดซื้อจัดจ้าง
บทที่ 3 วิธีจัดซื้อจัดจ้างบทที่ 3 วิธีจัดซื้อจัดจ้าง
บทที่ 3 วิธีจัดซื้อจัดจ้างTeetut Tresirichod
 

What's hot (20)

OM Theory (Ch.2)
OM Theory (Ch.2)OM Theory (Ch.2)
OM Theory (Ch.2)
 
Personality r1
Personality r1Personality r1
Personality r1
 
การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไทล์
การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไทล์การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไทล์
การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไทล์
 
ใบงานที่ 1 ระบบการทำงานของคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 1 ระบบการทำงานของคอมพิวเตอร์ใบงานที่ 1 ระบบการทำงานของคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 1 ระบบการทำงานของคอมพิวเตอร์
 
วิถีชีวิตกับพฤติกรรมผู้บริโภค (Self-image & Lifestyle : Ch 10)
วิถีชีวิตกับพฤติกรรมผู้บริโภค (Self-image & Lifestyle : Ch 10)วิถีชีวิตกับพฤติกรรมผู้บริโภค (Self-image & Lifestyle : Ch 10)
วิถีชีวิตกับพฤติกรรมผู้บริโภค (Self-image & Lifestyle : Ch 10)
 
แนวข้อสอบ 100 ข้อ
แนวข้อสอบ  100  ข้อแนวข้อสอบ  100  ข้อ
แนวข้อสอบ 100 ข้อ
 
Chapter2 อุปสงค์อุปทาน
Chapter2 อุปสงค์อุปทานChapter2 อุปสงค์อุปทาน
Chapter2 อุปสงค์อุปทาน
 
บทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
บทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึกบทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
บทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
 
กิจกรรมสะเต็มศึกษา (สสวท.)
กิจกรรมสะเต็มศึกษา (สสวท.)กิจกรรมสะเต็มศึกษา (สสวท.)
กิจกรรมสะเต็มศึกษา (สสวท.)
 
บทที่ 6 ทฤษฎีการผลิต
บทที่ 6 ทฤษฎีการผลิตบทที่ 6 ทฤษฎีการผลิต
บทที่ 6 ทฤษฎีการผลิต
 
แบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆแบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆ
 
ใบงานคำที่มาจากภาษาต่างประเทศ
ใบงานคำที่มาจากภาษาต่างประเทศใบงานคำที่มาจากภาษาต่างประเทศ
ใบงานคำที่มาจากภาษาต่างประเทศ
 
ทฤษฎีแรงจูงใจ
ทฤษฎีแรงจูงใจทฤษฎีแรงจูงใจ
ทฤษฎีแรงจูงใจ
 
เพลงนันทนาการ
เพลงนันทนาการเพลงนันทนาการ
เพลงนันทนาการ
 
กำหนดการโครงการต่าง ๆ
กำหนดการโครงการต่าง ๆกำหนดการโครงการต่าง ๆ
กำหนดการโครงการต่าง ๆ
 
แบบประเมินงานนำเสนอในรูปแบบออนไลน์
แบบประเมินงานนำเสนอในรูปแบบออนไลน์แบบประเมินงานนำเสนอในรูปแบบออนไลน์
แบบประเมินงานนำเสนอในรูปแบบออนไลน์
 
สารชีวโมเลกุล2
สารชีวโมเลกุล2สารชีวโมเลกุล2
สารชีวโมเลกุล2
 
การจัดการเรียนรู้แบบค้นพบ
การจัดการเรียนรู้แบบค้นพบการจัดการเรียนรู้แบบค้นพบ
การจัดการเรียนรู้แบบค้นพบ
 
แบบประเมินผลชิ้นงาน
แบบประเมินผลชิ้นงานแบบประเมินผลชิ้นงาน
แบบประเมินผลชิ้นงาน
 
บทที่ 3 วิธีจัดซื้อจัดจ้าง
บทที่ 3 วิธีจัดซื้อจัดจ้างบทที่ 3 วิธีจัดซื้อจัดจ้าง
บทที่ 3 วิธีจัดซื้อจัดจ้าง
 

Viewers also liked

พฤติกรรมผู้บริโภค Lower market
พฤติกรรมผู้บริโภค Lower marketพฤติกรรมผู้บริโภค Lower market
พฤติกรรมผู้บริโภค Lower marketfon_ii
 
เรื่องที่ 7 การเรียนรู้ของผู้บริโภคและ
เรื่องที่ 7 การเรียนรู้ของผู้บริโภคและเรื่องที่ 7 การเรียนรู้ของผู้บริโภคและ
เรื่องที่ 7 การเรียนรู้ของผู้บริโภคและsupatra39
 
Ch.04 การจัดเก็บและการเคลื่อนย้ายบรรจุภัณฑ์
Ch.04 การจัดเก็บและการเคลื่อนย้ายบรรจุภัณฑ์Ch.04 การจัดเก็บและการเคลื่อนย้ายบรรจุภัณฑ์
Ch.04 การจัดเก็บและการเคลื่อนย้ายบรรจุภัณฑ์Thanaphat Tachaphan
 
Problemas con-el-monitor
Problemas con-el-monitorProblemas con-el-monitor
Problemas con-el-monitorCompu Fixed
 
ทฤษฎีการเรียนรู้ของวัตสัน
ทฤษฎีการเรียนรู้ของวัตสันทฤษฎีการเรียนรู้ของวัตสัน
ทฤษฎีการเรียนรู้ของวัตสันearlychildhood024057
 
บทที่ 2 ทฤษฎีการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้องกับนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเ...
บทที่ 2 ทฤษฎีการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้องกับนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเ...บทที่ 2 ทฤษฎีการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้องกับนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเ...
บทที่ 2 ทฤษฎีการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้องกับนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเ...Jan Sirinoot
 
ประเทศกัมพูชา
ประเทศกัมพูชาประเทศกัมพูชา
ประเทศกัมพูชาNarubesto Pratomtong
 
แนวคิด ทฤษฎี ที่ถูกนำมาใช้ในการออกแบบ
แนวคิด ทฤษฎี ที่ถูกนำมาใช้ในการออกแบบแนวคิด ทฤษฎี ที่ถูกนำมาใช้ในการออกแบบ
แนวคิด ทฤษฎี ที่ถูกนำมาใช้ในการออกแบบNunin Bowornwattana
 
บทที่2ทฤษฎีการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้องกับนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรี...
บทที่2ทฤษฎีการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้องกับนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรี...บทที่2ทฤษฎีการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้องกับนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรี...
บทที่2ทฤษฎีการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้องกับนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรี...พาขวัญ แด่ว
 
พฤติกรรมองค์กร
พฤติกรรมองค์กร พฤติกรรมองค์กร
พฤติกรรมองค์กร Prathum Charoenroop
 
ทฤษฎีพัฒนาการอีริคสัน
ทฤษฎีพัฒนาการอีริคสันทฤษฎีพัฒนาการอีริคสัน
ทฤษฎีพัฒนาการอีริคสันHabsoh Noitabtim
 
ทฤษฎี การเรียนรู้ของพาฟลอฟ
ทฤษฎี การเรียนรู้ของพาฟลอฟทฤษฎี การเรียนรู้ของพาฟลอฟ
ทฤษฎี การเรียนรู้ของพาฟลอฟearlychildhood024057
 
การรับรู้สิ่งเร้าของผู้บริโภค
การรับรู้สิ่งเร้าของผู้บริโภคการรับรู้สิ่งเร้าของผู้บริโภค
การรับรู้สิ่งเร้าของผู้บริโภคRatchadaporn Khwanpanya
 
Ch1 แนวคิดเกี่ยวกับการจัดการ
Ch1 แนวคิดเกี่ยวกับการจัดการCh1 แนวคิดเกี่ยวกับการจัดการ
Ch1 แนวคิดเกี่ยวกับการจัดการNittaya Intarat
 
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธินิยม
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธินิยมทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธินิยม
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธินิยมNaracha Nong
 

Viewers also liked (20)

Ciencias politica
Ciencias politicaCiencias politica
Ciencias politica
 
พฤติกรรมผู้บริโภค Lower market
พฤติกรรมผู้บริโภค Lower marketพฤติกรรมผู้บริโภค Lower market
พฤติกรรมผู้บริโภค Lower market
 
เรื่องที่ 7 การเรียนรู้ของผู้บริโภคและ
เรื่องที่ 7 การเรียนรู้ของผู้บริโภคและเรื่องที่ 7 การเรียนรู้ของผู้บริโภคและ
เรื่องที่ 7 การเรียนรู้ของผู้บริโภคและ
 
Ch.04 การจัดเก็บและการเคลื่อนย้ายบรรจุภัณฑ์
Ch.04 การจัดเก็บและการเคลื่อนย้ายบรรจุภัณฑ์Ch.04 การจัดเก็บและการเคลื่อนย้ายบรรจุภัณฑ์
Ch.04 การจัดเก็บและการเคลื่อนย้ายบรรจุภัณฑ์
 
Problemas con-el-monitor
Problemas con-el-monitorProblemas con-el-monitor
Problemas con-el-monitor
 
ทฤษฎีการเรียนรู้ของวัตสัน
ทฤษฎีการเรียนรู้ของวัตสันทฤษฎีการเรียนรู้ของวัตสัน
ทฤษฎีการเรียนรู้ของวัตสัน
 
บทที่ 2 ทฤษฎีการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้องกับนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเ...
บทที่ 2 ทฤษฎีการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้องกับนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเ...บทที่ 2 ทฤษฎีการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้องกับนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเ...
บทที่ 2 ทฤษฎีการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้องกับนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเ...
 
ประเทศกัมพูชา
ประเทศกัมพูชาประเทศกัมพูชา
ประเทศกัมพูชา
 
แนวคิด ทฤษฎี ที่ถูกนำมาใช้ในการออกแบบ
แนวคิด ทฤษฎี ที่ถูกนำมาใช้ในการออกแบบแนวคิด ทฤษฎี ที่ถูกนำมาใช้ในการออกแบบ
แนวคิด ทฤษฎี ที่ถูกนำมาใช้ในการออกแบบ
 
บทที่2ทฤษฎีการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้องกับนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรี...
บทที่2ทฤษฎีการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้องกับนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรี...บทที่2ทฤษฎีการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้องกับนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรี...
บทที่2ทฤษฎีการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้องกับนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรี...
 
Process instrumentation unit 10
Process instrumentation unit 10Process instrumentation unit 10
Process instrumentation unit 10
 
พฤติกรรมองค์กร
พฤติกรรมองค์กร พฤติกรรมองค์กร
พฤติกรรมองค์กร
 
1051202 จิตวิทยาการเรียนรู้ ชุด 1
1051202 จิตวิทยาการเรียนรู้ ชุด 11051202 จิตวิทยาการเรียนรู้ ชุด 1
1051202 จิตวิทยาการเรียนรู้ ชุด 1
 
ทฤษฎีพัฒนาการอีริคสัน
ทฤษฎีพัฒนาการอีริคสันทฤษฎีพัฒนาการอีริคสัน
ทฤษฎีพัฒนาการอีริคสัน
 
Perception,learning,memory (Ch.6), Consumer Behavior Class
Perception,learning,memory (Ch.6), Consumer Behavior ClassPerception,learning,memory (Ch.6), Consumer Behavior Class
Perception,learning,memory (Ch.6), Consumer Behavior Class
 
5 behavior theory 15092558 (1)
5 behavior theory 15092558 (1)5 behavior theory 15092558 (1)
5 behavior theory 15092558 (1)
 
ทฤษฎี การเรียนรู้ของพาฟลอฟ
ทฤษฎี การเรียนรู้ของพาฟลอฟทฤษฎี การเรียนรู้ของพาฟลอฟ
ทฤษฎี การเรียนรู้ของพาฟลอฟ
 
การรับรู้สิ่งเร้าของผู้บริโภค
การรับรู้สิ่งเร้าของผู้บริโภคการรับรู้สิ่งเร้าของผู้บริโภค
การรับรู้สิ่งเร้าของผู้บริโภค
 
Ch1 แนวคิดเกี่ยวกับการจัดการ
Ch1 แนวคิดเกี่ยวกับการจัดการCh1 แนวคิดเกี่ยวกับการจัดการ
Ch1 แนวคิดเกี่ยวกับการจัดการ
 
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธินิยม
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธินิยมทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธินิยม
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธินิยม
 

Similar to Attitude

การแบ่งส่วนตลาด1
การแบ่งส่วนตลาด1การแบ่งส่วนตลาด1
การแบ่งส่วนตลาด1Sarawut Messi Single
 
ทัศนคติ (Attitude)
ทัศนคติ (Attitude)ทัศนคติ (Attitude)
ทัศนคติ (Attitude)Ritthiporn Lekdee
 
6 พฤติกรรมสุขภาพ
6 พฤติกรรมสุขภาพ6 พฤติกรรมสุขภาพ
6 พฤติกรรมสุขภาพWatcharin Chongkonsatit
 
9789740330660
97897403306609789740330660
9789740330660CUPress
 
5cs3gik5rf0t0l42j9hbvpth02
5cs3gik5rf0t0l42j9hbvpth025cs3gik5rf0t0l42j9hbvpth02
5cs3gik5rf0t0l42j9hbvpth02Mai Amino
 
จิตวิทยาการเรียนร้2
จิตวิทยาการเรียนร้2จิตวิทยาการเรียนร้2
จิตวิทยาการเรียนร้2kungcomedu
 
7 พฤติกรรมศาสตร์
7 พฤติกรรมศาสตร์7 พฤติกรรมศาสตร์
7 พฤติกรรมศาสตร์Watcharin Chongkonsatit
 
บุคลิกภาพที่ดีของสตีฟ จ็อบส์
บุคลิกภาพที่ดีของสตีฟ จ็อบส์บุคลิกภาพที่ดีของสตีฟ จ็อบส์
บุคลิกภาพที่ดีของสตีฟ จ็อบส์nuysittiwong
 
ศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนา
ศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนาศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนา
ศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนาpentanino
 
Psychology1
Psychology1Psychology1
Psychology1New Born
 
คุณธรรม ผู้ประเมิน
คุณธรรม ผู้ประเมินคุณธรรม ผู้ประเมิน
คุณธรรม ผู้ประเมินAum Soodtaling
 
คุณธรรม ผู้ประเมิน
คุณธรรม ผู้ประเมินคุณธรรม ผู้ประเมิน
คุณธรรม ผู้ประเมินAum Soodtaling
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้ซิกส์ zaza
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้ซิกส์ zaza
 
จิตวิทยาการเรียนรู้ 2
จิตวิทยาการเรียนรู้ 2จิตวิทยาการเรียนรู้ 2
จิตวิทยาการเรียนรู้ 2team00428
 

Similar to Attitude (20)

Attitude
AttitudeAttitude
Attitude
 
การแบ่งส่วนตลาด1
การแบ่งส่วนตลาด1การแบ่งส่วนตลาด1
การแบ่งส่วนตลาด1
 
ทัศนคติ (Attitude)
ทัศนคติ (Attitude)ทัศนคติ (Attitude)
ทัศนคติ (Attitude)
 
6 พฤติกรรมสุขภาพ
6 พฤติกรรมสุขภาพ6 พฤติกรรมสุขภาพ
6 พฤติกรรมสุขภาพ
 
Affective2
Affective2Affective2
Affective2
 
9789740330660
97897403306609789740330660
9789740330660
 
Learning Organization
Learning OrganizationLearning Organization
Learning Organization
 
5cs3gik5rf0t0l42j9hbvpth02
5cs3gik5rf0t0l42j9hbvpth025cs3gik5rf0t0l42j9hbvpth02
5cs3gik5rf0t0l42j9hbvpth02
 
จิตวิทยาการเรียนร้2
จิตวิทยาการเรียนร้2จิตวิทยาการเรียนร้2
จิตวิทยาการเรียนร้2
 
7 พฤติกรรมศาสตร์
7 พฤติกรรมศาสตร์7 พฤติกรรมศาสตร์
7 พฤติกรรมศาสตร์
 
บุคลิกภาพที่ดีของสตีฟ จ็อบส์
บุคลิกภาพที่ดีของสตีฟ จ็อบส์บุคลิกภาพที่ดีของสตีฟ จ็อบส์
บุคลิกภาพที่ดีของสตีฟ จ็อบส์
 
ศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนา
ศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนาศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนา
ศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนา
 
Psychology1
Psychology1Psychology1
Psychology1
 
Psychology1
Psychology1Psychology1
Psychology1
 
คุณธรรม ผู้ประเมิน
คุณธรรม ผู้ประเมินคุณธรรม ผู้ประเมิน
คุณธรรม ผู้ประเมิน
 
คุณธรรม ผู้ประเมิน
คุณธรรม ผู้ประเมินคุณธรรม ผู้ประเมิน
คุณธรรม ผู้ประเมิน
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้
 
จิตวิทยาการเรียนรู้ 2
จิตวิทยาการเรียนรู้ 2จิตวิทยาการเรียนรู้ 2
จิตวิทยาการเรียนรู้ 2
 
ศีลธรรม
ศีลธรรมศีลธรรม
ศีลธรรม
 

Attitude

  • 1.
  • 2.
  • 3. ทัศนคติ (Attitude) ทัศนคติเป็นการกาหนดของพฤติกรรมเพราะว่าเกี่ยวพันกับการรับรู้ บุคลิกภาพ และการจูงใจ ทัศนคติเป็นความรู้สึกทั้งทั้งในทางบวกและในทางลบ เป็นภาวะจิตใจของการเตรียมพร้อมที่จะเรียนรู้และถูกปรับตัวให้เข้ากับองค์การ ทัศนคติ หมายถึง สภาวะทางจิต และสภาวะทางประสาทเกี่ยวกับความ พร้อม ซึ่งเกิดขึ้นโดยอาศัยประสบการณ์เป็นตัวนา หรือมีอิทธิพลเหนือการ ตอบสนองของแต่ละบุคคลที่มีต่อวัตถุ และสภาพการณ์ต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง สัมพันธ์กัน
  • 4. ทัศนคติเกิดขึ้นได้อย่างไร (How Attitude are Formed) ทัศคติเกิดขึ้นมาได้จากหลายสาเหตุ ซึ่งรวมถึงค่านิยม ประสบการณ์ และบุคลิกภาพส่วนบุคคล ดังนั้นการทาความเข้าใจ โครงสร้างพื้นฐานของทัศนคติ จะช่วยให้เราสามารถจะเข้าใจถึง ทัศนคติได้ว่าเกิดขึ้นได้อย่างไร และจะสามารถปรับเปลี่ยนแปลง ทัศนคติไปได้อย่างไร
  • 5. โครงสร้างของทัศนคติ (Attitude Structure) 1. ความพอใจของบุคคล (Person’ Affect) เกิดจากความรู้สึกที่มี ต่อสิ่งต่าง ๆ ที่ได้พบเห็นหรือได้รับโดยตรง ความพอใจมีความคล้ายคลึงกับ อารมณ์ 2. ความตระหนัก (Cognition) คือ ความรู้สึกที่บุคคลยอมรับ เกี่ยวกับสิ่งต่าง ๆ 3. ความตั้งใจ (Intention) คือ องค์ประกอบของทัศนคติที่นาไปสู่ พฤติกรรม
  • 6. แนวคิดเกี่ยวกับทัศนคติ (Concept of Attitude) 1. องค์ประกอบด้านความรู้สึกและอารมณ์ (Affective or Emotional component) เป็นส่วนที่เกี่ยวข้องกับอารมณ์หรือความรู้สึก เป็นความรู้สึกที่ค่อนข้าง ละเอียดอ่อน ภาวะทางด้านอารมณ์และความรู้สึกที่เกี่ยวกับคนบางคน ทั้งความคิด เหตุการณ์ หรือจุดประสงค์ ที่มีต่อสิ่งเร้าอันใดอันหนึ่ง 2. องค์ประกอบด้านการรับรู้หรือความเชื่อ (Cognitive or Belief Component) เป็นส่วนที่เกี่ยวข้องกับการรับรู้หรือความเชื่อ ความคิดเห็น ความเข้าใจ หรือความรู้ที่แต่ละบุคคลยึดมั่นไว้ในใจที่มีต่อสิ่งเร้า หรือต่อสิ่งของหรือปรากฏการณ์ต่าง ๆ 3. องค์ประกอบความพร้อมที่จะกระทาหรือด้านพฤติกรรม (Action Tendency or Behavioral Component) เป็นส่วนที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมมี ความสัมพันธ์ต่อเนื่องกับส่วนของความรู้สึก เป็นความพร้อมหรือแนวโน้มของบุคคลที่จะ แสดงออกต่อสิ่งใดสิ่งหนึ่ง
  • 7. แสดงถึงองค์ประกอบของทัศนคติ 3 ประการ ตัวกระตุ้น ทัศนคติ ผลลัพธ์ องค์ประกอบของงาน ทัศนคติ การตอบสนอง - การออกแบบงาน - ความรู้สึก - อารมณ์ - รูปแบบการจัดองค์การ - การกาหนดเกี่ยวกับความผูกพัน - นโยบายบริษัท - ความเข้าใจ - การรับรู้ - เทคโนโลยี - การกาหนดเกี่ยวกับความเชื่อ - เงินเดือน - พฤติกรรม - การกระทา - ผลประโยชน์พิเศษที่ให้ลูกจ้าง - การกาหนดเกี่ยวกับพฤติกรรม
  • 8. คุณลักษณะของทัศนคติ (Characteristics of Attitudes) 1. ทัศนคติเป็นสิ่งที่มีอยู่ภายใน ทัศนคติเป็นเรื่องของการจัดระเบียบ ของแนวความคิด ความเชื่อที่เกิดขึ้นมาจากภายในของแต่ละบุคคล 2. ทัศนคติเป็นสิ่งที่ไม่ได้มีมาแต่กาเนิด ทัศนคติเป็นสิ่งที่บุคคลได้เรียนรู้ และเกี่ยวข้องกับสิ่งแวดล้อมภายนอก 3. ทัศนคติจะมีลักษณะมั่นคงถาวร หลังจากที่ทัศนคติได้ก่อตัวขึ้นมาใน บุคคลนั้นแล้ว ก็ยากที่จะเปลี่ยนแปลงทัศนคติของบุคคลนั้นได้ 4. ทัศนคติจะอ้างถึงสิ่งเร้าและสิ่งแวดล้อมรอบ ๆ ตัวของบุคคลที่เป็น ตัวกระตุ้น ทัศนคติไม่ได้เป็นสิ่งที่เกิดขึ้นมาได้เองจากภายใน เป็นเรื่องที่เกิดขึ้น จากการสัมผัสและเรียนรู้จากสิ่งภายนอก
  • 9. ประเภทของทัศนคติ (Types of Attitudes) - ความพอใจในงาน (Job Satisfaction) คือ ทัศนคติโดยทั่วไปของ บุคคลที่มีต่องานของตน คนที่มีความพอใจในงานสูงจะมีทัศนคติที่เป็นบวกต่อ งาน ขณะที่อีกคนหนึ่งไม่มีความพอใจในงานก็จะมีทัศนคติที่เป็นลบต่องาน - ความเกี่ยวข้องกับงาน (Job involvement) คือ ระดับที่คนเรา ได้รับการระบุว่ามีส่วนเข้าไปเกี่ยวข้องกับงาน และพิจารณาว่าเขามีผลงานสาคัญ เท่าไรต่อคุณค่าของตัวเขาเอง - ความผูกพันกับองค์การ (Organization Commitment) คือ พนักงานจะเกิดทัศนคติที่ดีต่อองค์การ ถึงขนาดมีความผูกพัน (Commitment) และจงรักภักดี (Loyalty) ต่อองค์การใคร่ที่จะเห็นความก้าวหน้าขององค์การ ตราบเท่าที่องค์การยังสร้างความพอใจให้กับพนักงานอยู่
  • 10. ทัศนคติและค่านิยม (Attitude and Values) ทัศนคติเป็นความรู้สึกที่เป็นส่วนตัวของบุคคล ส่วนค่านิยม เป็นสิ่งที่กลุ่มคนมีความคิดเห็นคล้ายคลึงกัน แต่ทั้งทัศนคติและ ค่านิยม จะมีความเหมือนกันตรงที่เกิดมาจากกระบวนการเรียนรู้ทาง สังคม การเรียนรู้จากประสบการณ์และต่างก็มีแนวโน้มของทัศนคติใน การแสดงออกของบุคคลเหมือน ๆ กัน
  • 11. ทัศนคติและความพึงพอใจ (Attitude and Job Satisfaction) ความพึงพอใจในงานเป็นผลที่ได้จากการรับรู้งาน ซึ่งขึ้นอยู่กับ องค์ประกอบของสิ่งแวดล้อมในการทางาน ลักษณะที่สาคัญ 5 ประการ ที่เกี่ยวข้องกับความพึงพอใจในงานมีดังนี้ 1. ผลตอบแทน 2. ลักษณะของงาน 3. โอกาสในการเลื่อนตาแหน่ง 4. ผู้บังคับบัญชา 5. ผู้ร่วมปฏิบัติงาน
  • 12. ทัศนคติและพฤติกรรม (Attitudes and Behavior) สภาพของพฤติกรรมที่เป็นปกติหรือการกระทาที่เหมาะสมตาม แบบอย่างในการแสดงออกที่สังคมเป็นผู้กาหนดให้ประพฤติหรือไม่ให้ประพฤติก็ ได้ ถ้าทั้งทัศนคติและแบบอย่างการแสดงออกเป็นไปในทางบวกหรือสร้างสรรค์ ก็สามารถมองเห็นถึงพฤติกรรมและเจตนาของบุคคลที่แสดงออกมาได้อย่าง ชัดเจน ถ้าทัศนคติกับการแสดงออกมีความขัดแย้งไม่ตรงกัน ก็อาจจะคาดหมาย ถึงเจตนาของแต่ละบุคคลและพฤติกรรมที่ตามมาได้
  • 13. ผลกระทบของทัศนคติ (The Impact of Attitudes) ทัศนคติเป็นสิ่งที่มั่นคง มีความโน้มเอียงที่จะตอบสนองต่อลักษณะ หลากหลายของสถานการณ์หรือวัตถุประสงค์ เราอาจจะลงความเห็นถึงท่าทาง ของบุคคลโดยดูจากคาพูดวาจาที่แสดงถึงความเชื่อ ความรู้สึก หรือความมุ่ง หมายของพฤติกรรมทีมุ่งต่อวัตถุประสงค์หรือสถานการณ์ จากปฏิกิริยาการรับรู้ และสรีระวิทยาหรือจากพฤติกรรมที่แสดงออกมา
  • 14. การเปลี่ยนแปลงทัศนคติ (Attitude Change) ทัศนคติเป็นสิ่งที่ไม่ใช่ลักษณะถาวรของบุคลิกภาพ และก็ไม่ใช่ เป็นสิ่งที่แน่นอนตายตัว ซึ่งทัศนคติของบุคคลจะเปลี่ยนแปลงได้ไม่ง่าย นัก มักจะมีการเปลี่ยนแปลงไปก็ต่อเมื่อมีสิ่งเร้า หรือมีสิ่งมากระตุ้นให้ เกิดความต้องการที่จะเปลี่ยนแปลง
  • 15. ทัศนคติสาคัญกว่าความฉลาด ทัศนคติหลักที่มีอยู่ในตัวของทุกคนมี 2 ประเภท ความยึดติด ความคิดเติบโต - ไม่สามารถเปลี่ยนความคิดได้ - เชื่อว่าความพยายามนั้นสามารถสร้างได้ - เมื่อเจอสิ่งที่ท้าทายจะกลายเป็นปัญหา - มีความกล้าที่จะเรียนรู้สิ่งใหม่ ๆ - ยอมแพ้ง่ายๆ ให้กับปัญหาต่างๆที่เข้ามา - สามารถทาทุกอย่างได้เต็มที่