SlideShare a Scribd company logo
08-888-206
เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อสื่อสารมวลชน
Information Technology for Mass Communication
ผู้สอน
อ.กฤษณพงศ์ เลิศบำรุงชัย
อ.ธนะภูมิ สงค์ธนำพิทักษ์
สำขำเทคโนโลยีมัลติมีเดีย คณะเทคโนโลยีสื่อสำรมวลชน
มหำวิทยำลัยเทคโนโลยีรำชมงคลธัญบุรี
บทที่ 7
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ผู้สอน
อ.กฤษณพงศ์ เลิศบำรุงชัย
อ.ธนะภูมิ สงค์ธนำพิทักษ์
สำขำเทคโนโลยีมัลติมีเดีย คณะเทคโนโลยีสื่อสำรมวลชน
มหำวิทยำลัยเทคโนโลยีรำชมงคลธัญบุรี
วัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม
1. บอกวัตถุประสงค์ของกำรใช้งำนเครือข่ำยคอมพิวเตอร์ได้
2. บอกข้อจำกัดของระบบเครือข่ำยได้
3. อธิบำยเกี่ยวกับองค์ประกอบของระบบเครือข่ำยได้
4. บอกลักษณะตัวกลำงนำข้อมูลแบบต่ำงๆ ได้
5. อธิบำยมำตรฐำนต่ำงๆ ของระบบ LAN ได้
6. อธิบำยลักษณะกำรทำงำนของเครือข่ำยแบบไร้สำยได้
7. อธิบำยลักษณะกำรทำงำนของคอมพิวเตอร์ในเครือข่ำยได้
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ (Computer Network)
ระบบเครือข่ำยคอมพิวเตอร์ คือ กำรนำเอำคอมพิวเตอร์
หลำยๆ เครื่องมำเชื่อมต่อเข้ำไว้ด้วยกัน เพื่อสำมำรถ
แลกเปลี่ยนข้อมูลข่ำวสำร รวมถึงใช้ทรัพยำกรบำงอย่ำง
ของระบบร่วมกันได้
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ (Computer Network)
เพื่อใช้อุปกรณ์ต่ำงๆ เช่น เครื่องพิมพ์ พื้นที่ในดิสก์
ฯลฯ ร่วมกัน ประหยัดกว่ำกำรมีอุปกรณ์หลำยๆ ชุด
สำหรับแต่ละเครื่อง เช่น ลงทุนซื้อพรินเตอร์ควำมเร็ว
สูงหรือคุณภำพสูงเครื่องเดียวมำใช้ร่วมกัน ดีกว่ำ
ติดตั้งเครื่องพรินเตอร์ขนำดเล็กๆ ที่พิมพ์ช้ำให้กับ
คอมพิวเตอร์ทั้ง 20 เครื่องในแผนกหนึ่ง เป็นต้น
วัตถุประสงค์ของการใช้เครือข่ายObjective
ใช้ทรัพยากรร่วมกัน
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ (Computer Network)
ใช้ในกรณีที่ต้องกำรให้เรียกใช้ข้อมูลชุดเดียวกันได้จำกหลำยๆ เครื่อง เช่น ข้อมูลกลำง
ซึ่งมีเพียงชุดเดียวและเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลำ ต้องอ่ำนหรือแก้ไขกับข้อมูลกลำงนี้อยู่
เสมอ จึงไม่สำมำรถทำสำเนำไปใช้เป็นของฝ่ำยใดๆ ได้ เช่น ยอดเงินในบัญชีธนำคำร
(ซึ่งอำจมีกำรฝำกหรือถอนเมื่อไรก็ได้) เลขที่ตั๋วหนังหรือที่นั่งในเครื่องบิน จะต้องกันที่
นั้นเอำไว้เลย ไม่สำมำรถขำยให้กับลูกค้ำรำยอื่นอีก ลักษณะเช่นนี้เรียกว่ำเป็นกำรรักษำ
ควำมถูกต้องตรงกันของข้อมูล (Data Integrity)
วัตถุประสงค์ของการใช้เครือข่ายObjective
ใช้ข้อมูลในไฟล์ร่วมกัน
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ (Computer Network)
ทำให้สำมำรถดูแลและบริหำรระบบได้จำกที่เดียว เช่น ผู้ดูแลระบบ
สำมำรถตรวจสอบสถำนกำรณ์ทำงำน ติดตั้งหรือถอดถอนโปรแกรม
หรือทำสำเนำข้อมูล (Backup) และจัดกำรงำนอื่นๆ ได้จำกแหล่งเดียว
เช่น จำกเครื่องใดเครื่องหนึ่งบนเครือข่ำยนั้น โดยไม่ต้องเดินไปทำงำนแต่
ละเครื่อง ซึ่งอำจจะอยู่คนละห้อง คนละชั้น หรือคนละอำคำรกันก็เป็นได้
วัตถุประสงค์ของการใช้เครือข่ายObjective
ความง่ายในการดูแลระบบ
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ (Computer Network)
อ่ำนว่ำ “แลน” ซึ่งเป็นกำรเชื่อมต่อเครื่องคอมพิวเตอร์เข้ำด้วยกันใน
ระยะจำกัด เช่น ในอำคำรเดียวกัน หรือบริเวณอำคำรใกล้เคียงที่
สำมำรถลำกสำยเชื่อมโยงถึงกันได้โดยตรง
ประเภทของเครือข่ายType of Network
Local Area Network (LAN)
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ (Computer Network)
อ่ำนว่ำ “แมน” เป็นกำรรวมกลุ่มเครือข่ำย LAN เข้ำด้วยกันเป็นเครือข่ำย
ขนำดกลำง ซึ่งแต่เดิมใช้เชื่อมโยงเครือข่ำยกันในระดับเขตหรือระดับเมือง
นั่นเอง ปัจจุบันเทคโนโลยีที่ทันสมัยของเครือข่ำย LAN มีประสิทธิภำพสูงขึ้น
จึงก้ำวข้ำมผ่ำนไปเป็นเครือข่ำยขนำดใหญ่ทำให้เครือข่ำย MAN นั้นเลือน
หำยไปในที่สุด
ประเภทของเครือข่ายType of Network
Metropolitan Area Network (MAN)
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ (Computer Network)
อ่ำนว่ำ “แวน” เป็นกำรเชื่อมต่อ LAN ในที่ต่ำงๆ เข้ำด้วยกันผ่ำนระบบสื่อสำรอื่นๆ เช่น
เครือข่ำยโทรศัพท์สำยเช่ำ (Leased Line) หรือสำยข้อมูลที่เช่ำพิเศษจำกผู้ให้บริกำรด้ำนนี้
โดยเฉพำะ จนกลำยเป็นเครือข่ำยขนำดใหญ่ข้ำมประเทศ ซึ่งรวมถึงระบบอินเทอร์เน็ตด้วย
ประเภทของเครือข่ายType of Network
Wide Area Network (WAN)
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ (Computer Network)
ในกำรนำระบบเครือข่ำยมำใช้งำน ผู้วำงระบบจะต้องคิดให้รอบคอบว่ำกำรต่อเครื่องคอมพิวเตอร์เข้ำกับเครือข่ำยนั้นจะทำงำนได้
ตำมต้องกำรหรือไม่ มีข้อจำกัดอย่ำงไร และควรเลือกใช้เทคโนโลยีแบบใด (ซึ่งมีให้เลือกใช้มำกมำย) โดยผลสรุปที่ได้อำจแตกต่ำง
กันไปในแต่ละงำน เช่น บำงงำนอำจเหมำะสมที่จะต่อระบบ LAN ควำมเร็วสูงบำงงำนควรต่อกับอินเทอร์เน็ต หรือบำงงำนควร
ปล่อยเครื่องนั้นไว้เดี่ยวๆ อย่ำให้ต่อกับใครเลยจะดีกว่ำ (ต้องกำรควำมปลอดภัยสูง) เป็นต้น ข้อจำกัดของระบบเครือข่ำยมีหลำย
อย่ำง เช่น
ข้อจากัดของระบบเครือข่ายLimit of Network
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ (Computer Network)
กำรเรียกใช้ไฟล์ข้อมูลผ่ำนระบบเครือข่ำย ไม่ว่ำจะเป็นกำรอ่ำนหรือเขียนก็ตำมมักจะช้ำ
กว่ำกำรอ่ำนหรือเขียนกับฮำร์ดดิสก์โดยตรงในเครื่องของตนเอง แต่หำกระบบเครือข่ำย
ที่ใช้เป็นแบบควำมเร็วสูง ก็อำจจะไม่ทันรู้สึกถึงควำมแตกต่ำงเรื่องควำมเร็วในกำรรับส่ง
ข้อมูลมำกนัก
ข้อจากัดของระบบเครือข่ายLimit of Network
การเรียกใช้ข้อมูลทาได้ช้า
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ (Computer Network)
ข้อมูลหรือทรัพยำกรที่แบ่งกันใช้นี้อำจไม่สำมำรถเรียกใช้ได้ทันทีทันใด เพรำะหำกมี
คนอื่นใช้งำนอยู่เรำก็อำจต้องรอก่อน ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับลักษณะงำนด้วย เช่น หำกมีใคร
ใช้พรินเตอร์พิมพ์งำนอยู่ งำนของเรำก็จะต้องไปเข้ำคิวรอ ยังไม่ถูกพิมพ์ออกมำ
ทันที หรือในกรณีของไฟล์ข้อมูลที่มีผู้อื่นกำลังอ่ำนไฟล์นั้นอยู่ ระบบอำจยอมให้เรำ
เข้ำไปแทรกอ่ำนด้วยได้ แต่หำกมีคนอื่นกำลังแก้ไขข้อมูลตรงนั้นอยู่พร้อมๆ กันเรำก็
คงต้องรอ ไม่เช่นนั้นข้อมูลที่อ่ำนมำได้ก็จะไม่ใช่ข้อมูลที่ถูกต้องล่ำสุด เป็นต้น
ข้อจากัดของระบบเครือข่ายLimit of Network
ข้อมูลไม่สามารถใช้ได้ทันที
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ (Computer Network)
ระบบที่ประกอบด้วยคอมพิวเตอร์หลำยๆ เครื่องซึ่งทำงำนเป็นอิสระจำกกันอยู่คนละที่
แต่จัดให้ทำงำนร่วมกันนั้น ย่อมมีควำมสลับซับซ้อนและยำกในกำรดูแลมำกกว่ำ
เครื่องคอมพิวเตอร์เครื่องเดียวที่อยู่ตรงหน้ำซึ่งเรำสำมำรถสั่งงำนได้ตำมต้องกำร
รวมทั้งมีโอกำสที่จะถูกผู้อื่นแอบเข้ำมำใช้งำนหรือล้วงเอำข้อมูลลับออกไป หรือแม้แต่
โอกำสที่จะตกเป็นเหยื่อของไวรัสคอมพิวเตอร์ก็มีมำกกว่ำเครื่องที่ตั้งอยู่เฉยๆ โดยไม่
เชื่อมต่อกับใคร
ข้อจากัดของระบบเครือข่ายLimit of Network
ยากต่อการควบคุมและดูแล
องค์ประกอบของเครือข่าย
ระบบเครือข่ำยโดยทั่วไปจะประกอบด้วยส่วนสำคัญคือ อุปกรณ์
เครือข่ำย (Hardware) ซอฟต์แวร์สำหรับเครือข่ำย
(Software) และตัวกลำงนำข้อมูล (Media) สำหรับเชื่อมต่อ
คอมพิวเตอร์เข้ำเป็นเครือข่ำย โดยคอมพิวเตอร์หรืออุปกรณ์
แต่ละตัวที่อยู่ในเครือข่ำยจะเรียกกันว่ำ โหนด (Node)
องค์ประกอบของเครือข่าย
อุปกรณ์หลักที่จะทำให้คอมพิวเตอร์และทรัพยำกรต่ำงๆ สำมรำรถ
เชื่อมต่อถึงกันเป็นระบบเครือข่ำยได้คือกำร์ดแลน และตัวรวมสำยหรือ
ฮับ (Hub) นอกจำกนี้กำรต่อระบบเครือข่ำยนั้นอำจไม่ได้จำกัดอยู่แค่ในวง
LAN ของเรำเท่ำนั้น แต่ยังสำมำรถต่อระหว่ำง LAN หลำยๆ วงของแต่
ละหน่วยงำนในองค์กรเดียวกัน ตลอดจนกำรเชื่อมต่อกับ WAN และ
อินเทอร์เน็ตที่มีขนำดใหญ่อีกด้วย โดยใช้อุปกรณ์เชื่อมต่อระหว่ำง
เครือข่ำย เช่น Bridge, Switch, Router และ Repeater เป็นต้น
อุปกรณ์เครือข่ายNetwork Hardware
องค์ประกอบของเครือข่าย
สำหรับควำมเร็วในกำรรับสี่งข้อมูลของเครือข่ำยนั้นขึ้นอยู่กับ
ควำมสำมำรถของอุปกรณ์ที่ใช้ด้วย เช่น กำร์ดแลน ฮับหรือสวิทซ์
รวมถึงลักษณะของสำยที่ใช้เชื่อมต่อ โดยทั้งหมดมีควำมเกี่ยวข้องกัน
เช่น หำกนำอุปกรณ์ที่มีกำร์ดแลน 10/100/1000 Mbps ไปเชื่อมต่อกับ
สวิทซ์ที่รองรับควำมเร็ว 10/100 Mbps ก็จะสำมำรถรับส่งข้อมูลได้ที่
ควำมเร็วสูงสุด 100 Mbps เท่ำนั้น แม้ว่ำกำร์ดแลนจะให้งำนได้ถึง
1000 Mbps (Megabit Per Second คือ เมกะบิต/วินำที) ก็ตำม
อุปกรณ์เครือข่ายNetwork Hardware
องค์ประกอบของเครือข่าย
อุปกรณ์เครือข่ายNetwork Hardware
เป็นกำร์ดสำหรับต่อเครื่องคอมพิวเตอร์เข้ำกับสำย LAN ดังนั้นจึงต้องมีช่องสำหรับเสียบสำยเคเบิลแบบใดแบบหนึ่งที่จะใช้
การ์ดแลน (NIC : Network Interface Card)
องค์ประกอบของเครือข่าย
อุปกรณ์เครือข่ายNetwork Hardware
ใช้สำหรับเชื่อมโยงคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ต่ำงๆ ให้เป็นเครือข่ำยเดียวกัน
มีจำนวนพอร์ตต่ำงกัน เช่น 5, 8, 10, 16, และ 24 พอร์ตหรือมำกกว่ำนั้น
ซึ่งควำมเร็วในกำรรับสี่งข้อมูลจะขึ้นอยู่กับ Hub ว่ำมีแบนด์วิธ
(Bandwidth) หรือรองรับควำมเร็วได้เท่ำไร เช่น 10/100/1000 Mbps
ฮับ (Hub)
องค์ประกอบของเครือข่าย
อุปกรณ์เครือข่ายNetwork Hardware
ทุกโหนด (Node) ที่เชื่อมต่อเข้ำกับ Hub จะส่งสัญญำณถึงกันทั้งหมด เช่น
สมมติในเครือข่ำยมีอยู่ 10 โหนด หำกโหนด 3 ต้องกำรส่งข้อมูลถึงโหนด
9 หน้ำที่ของ Hub คือส่งข้อมูลไปในเครือข่ำยให้กับทุกโหนด ดังนั้นเครื่อง
อื่นๆ ในเครือข่ำยก็จะได้รับข้อมูลนั้นไปด้วย แม้จะไม่ต้องกำรก็ตำม ทำให้
แบนด์วิธของระบบต้องถูกแชร์ไปทุกเครื่อง ตัวอย่ำงนี้ควำมเร็วจะต้องหำร
ด้วย 10 เป็นต้น
ฮับ (Hub)
องค์ประกอบของเครือข่าย
อุปกรณ์เครือข่ายNetwork Hardware
ถ้ำโหนดใดหรื่อสำยของพอร์ตใดมีปัญหำก็สำมำรถดึงออกจำก Hub ได้
รวมทั้งโยกย้ำยสำย สลับเครื่องหรือเพิ่มจำนวนเครื่องได้ง่ำย เพรำะสำย
ทั้งหมดจำกทุกเครื่องจะลำกมำรวมอยู่ที่เดียวกันหมด โดยเรำอำจทำเป็นตู้
หรือห้องขึ้นมำเพื่อเก็บสำยให้เรียบร้อย (Wiring Closet) ก็ได้
ฮับ (Hub)
องค์ประกอบของเครือข่าย
อุปกรณ์เครือข่ายNetwork Hardware
หน้ำที่เป็น “สะพำน” เชื่อมระหว่ำง 2 เครือข่ำยเข้ำด้วยกัน โดยถ้ำข้อมูลที่
ส่งออกมำในเครือข่ำยหนึ่ง มีปลำยทำมงไปที่อีกเครือข่ำยหนึ่ง Bridge ก็จะ
ส่งข้อมูลข้ำมไปให้ แต่ถ้ำข้อมูลนั้นไม่ข้ำมเครือข่ำย Bridge ก็จะรับรู้และไม่
เกี่ยวข้องด้วย Bridge เป็นอุปกรณ์เชื่อมโยงเครือข่ำยที่ใช้กันในช่วงแรกๆ
ระยะหลังนิยมใช้ Switch ซึ่งมีควำมเร็วและประสิทธิภำพสูงกว่ำ
บริดจ์ (Bridge)
องค์ประกอบของเครือข่าย
อุปกรณ์เครือข่ายNetwork Hardware
ใช้สำหรับเชื่อมโยงคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ต่ำงๆ ให้เป็นเครือข่ำยเดียวกัน หรือ
ระหว่ำงเครือข่ำยก็ได้ ทำงำนต่ำงจำก Hub คือไม่ส่งสัญญำณไปทุกพอร์ต แต่จะ
ส่งไปยังพอร์ตที่เรียกใช้งำนเท่ำนั้น ไม่รบกวนกำรรับส่งข้อมูลในพอร์ตอื่นๆ ทำให้
รับส่งข้อมูลได้รวดเร็วเพรำะไม่ต้องแชร์แบนด์วิธไปทุกเครื่อง และยังมีควำม
ปลอดภัยกว่ำอีกด้วย เพรำะส่งตรงถึงเครื่องที่เป็นผู้รับข้อมูลเท่ำนั้น โดยใช้
หมำยเลขประจำอุปกรณ์ (Mac Address) ซึ่งถูกกำหนดมำบนกำร์ดแลนตั้งแต่
กระบวนกำรผลิต กำร์ดแต่ละใบจึงมีเลขไม่ซ้ำกัน
สวิทช์ (Switch)
องค์ประกอบของเครือข่าย
อุปกรณ์เครือข่ายNetwork Hardware
เป็นอุปกรณ์ที่ทำงำนเสมือนเป็นเครื่องหรือ Node หนึ่งในเครือข่ำย ทำหน้ำที่รับ
ข้อมูลเข้ำมำแล้วส่งต่อไปยังปลำยทำงคล้ำยกับ Switch หรือ Bridge แต่มี
ควำมสำมำรถในกำรหำเส้นทำงที่ดีที่สุดเพื่อส่งข้อมูลต่อไปยังเครือข่ำยอื่น ซึ่งอำจ
ใช้สื่อสัญญำณหลำยแลบแตกต่ำงกันได้ (เช่น Ethernet หรือ Token-Ring เป็น
ต้น) โดยจะแปลงหรือจัดรูปแบบข้อมูลให้ตรงตำมลักษณะของเครือข่ำยที่จะส่งต่อ
ในทำงปฏิบัตินั้นฮำร์ดแวร์ของ Router กับ Bridge จะมีควำมซับซ้อนพอๆ กัน พี
ยงแต่มีซอฟต์แวร์ที่ใช้ควบคุมซึ่งซับซ้อนกว่ำกันเท่ำนั้น
เราเตอร์ (Router)
องค์ประกอบของเครือข่าย
อุปกรณ์เครือข่ายNetwork Hardware
เมื่อสำยที่ต่อกันระหว่ำงเครื่องมีควำมยำวเกินกว่ำที่มำตรฐำนกำหนด สัญญำณ
ที่ส่งถึงกันผ่ำนเครือข่ำยก็อำจจะอ่อนลงจนรับไม่ได้ ก็จะใช้อุปกรณ์ Repeater
เพื่อทำหน้ำที่ “ทวนสัญญำณ” (Repeat) คือช่วยขยำยสัญญำณไฟฟ้ำที่ส่งบน
สำย LAN ให้แรงขึ้น แต่มีข้อจำกัดคือไม่สำมำรถกลั่นกรองข้อมูลที่ส่งผ่ำนได้
โดยจะรู้แต่ว่ำถ้ำมีสัญญำณเข้ำมำทำงฟำกหนึ่งหรือ Segment หนึ่ง ก็จะขยำย
แล้วส่งต่อออกไปยังอีกฟำกหนึ่งให้เสมอ (Hub ที่ใช้ในระบบ LAN ที่ใช้สำย UTP
ก็จัดเป็นอุปกรณ์ที่ทำงำนในลักษณะเดียวกับ Repeater นั่นเอง)
รีพีทเตอร์ (Repeater)
องค์ประกอบของเครือข่าย
อุปกรณ์เครือข่ายNetwork Hardware
นอกจำกนี้ยังมี Repeater สำหรับช่วยขยำยสัญญำณคลื่นวิทยุของเครือข่ำย
ไร้สำย (Wireless LAN) รวมทั้งสัญญำณเครือข่ำยโทรศัพท์เคลื่อนที่ (เช่น
เครือข่ำย 3G) ที่อยู่ในจุดอับสัญญำณหรือสัญญำณอ่อนแรงเพื่อช่วยเพิ่ม
ระยะของสัญญำณให้แรงขึ้นเช่นกัน
รีพีทเตอร์ (Repeater)
องค์ประกอบของเครือข่าย
ซอฟต์แวร์เครือข่ายNetwork Software
เครือข่ำยคอมพิวเตอร์สำมำรถควบคุมได้ด้วยซอฟต์แวร์
ต่ำงๆ ที่เกี่ยวข้องกับระบบเครือข่ำย เช่น โปรแกรมที่เป็นไดร
เวอร์ควบคุมกำร์ด LAN โปรแกรมที่จัดกำรโปรโตคอลใน
กำรติดต่อสื่อสำร (เช่น IPX/SPX, TCP/IP)
โปรแกรมควบคุมระบบที่มีควำมสำมำรถทำงำนกับเครือข่ำย
(เช่น Netware, Windows Server 2016, Linux หรือ
Unix) รวมถึงโปรแกรมสำหรับจัดกำรระบบสื่อสำรที่
เกี่ยวข้องอื่นๆ
องค์ประกอบของเครือข่าย
ตัวกลางนาข้อมูลMedia
เมื่อพูดถึงตัวกลำงนำข้อมูล (Media) ในระบบเครือข่ำย ก็
อำจเป็นได้ตั้งแต่สำยเคเบิลชนิดต่ำงๆ เช่นสำย Coaxial, สำย
UTP. สำยใยแก้วนำแสง (Fiber Optic) และคลื่นวิทยุแบบที่ใช้
กับ Wireless LAN เป็นต้น
องค์ประกอบของเครือข่าย
ตัวกลางนาข้อมูลMedia
ส่วนกรณีของระบบ WAN และอินเทอร์เน็ตนั้นมักจะเป็นสำยเชื่อมต่อพิเศษ
ที่มีควำมเร็วสูง เครือข่ำยโทรศัพท์เคลื่อนที่ รวมทั้งกำรส่งสัญญำณผ่ำน
คลื่นไมโครเวฟและดำวเทียม โดยใช้เทคโนโลยีเครือข่ำยแบบต่ำงๆ เพื่อ
สื่อสำรข้อมูลควำมเร็วสูง เช่น เทคโนโลยี ATM (Asynchronous Transfer
Mode) เป็นต้น
องค์ประกอบของเครือข่าย
ตัวกลางนาข้อมูลMedia
ในหัวข้อนี้จะกล่ำวถึงตัวกลำงนำข้อมูลที่ใช้ในระบบ LAN แบบใช้สำยทั่วไป ซึ่งมี
ประเด็นสำคัญที่ควรพิจำรณำอยู่หลำยประกำร เช่น สำยเคเบิลที่ใช้ ลักษณะของ
สัญญำณไฟฟ้ำที่รับส่งกัน และลักษณะกำรแบ่งกันใช้สำย (Media Access
Control) เป็นต้น
องค์ประกอบของเครือข่าย
ตัวกลางนาข้อมูลMedia
• สาย UTP (Unshielded Twisted Pair) หรือสาย LAN
เป็นสำยขนำดเล็กคล้ำยสำยโทรศัพท์ แต่มี 8 เส้นบิดตีเกลียวเป็นคู่ๆ เพื่อลดผลของ
สัญญำณรบกวน (Crosstalk) แต่ไม่มีเปลือกที่เป็นโลหะถักหุ้มเหมือนสำย Coaxial จึง
มีขนำดกะทัดรัดกว่ำ มีน้ำหนักเบำ ตัวสำยยืดหยุ่นปรับให้โค้งงอได้ง่ำยลักษณะกำร
เดินสำยจะต้องต่อจำกเครื่องเข้ำหำอุปกรณ์รวมสำยเท่ำนั้น ปัจจุบันเป็นสำยที่ได้รับ
ควำมนิยมแพร่หลำย เพรำะมีรำคำถูก ติดตั้งง่ำย ใช้งำนได้กว้ำงขวำง มีอุปกรณ์
เชื่อมต่อที่ผลิตออกมำให้เลือกมำก รวมทั้งสำมำรถใช้กับเทคโนโลยีใหม่ๆ ที่ทำ
ควำมเร็วได้สูง เช่น 1,000 Mbps หรือมำกกว่ำนั้น เป็นต้น
สายเคเบิลที่ใช้
องค์ประกอบของเครือข่าย
ตัวกลางนาข้อมูลMedia
• สาย UTP (Unshielded Twisted Pair) หรือสาย LAN
สำย UTP แบ่งเป็น 6 กลุ่ม (Category) ซึ่งมีควำมเร็วในกำรส่งข้อมูลแตกต่ำงกัน ดังนี้
สายเคเบิลที่ใช้
CAT1
Category 1
CAT5
Category 5
CAT2
Category 2
CAT5e
Category 5 Enhanced
CAT3
Category 3
CAT6
Category 6
CAT4
Category 4
องค์ประกอบของเครือข่าย
ตัวกลางนาข้อมูลMedia
• สาย UTP (Unshielded Twisted Pair) หรือสาย LAN
สายเคเบิลที่ใช้
 CAT1 (Category 1) ควำมเร็วสูงสุด 1 Mbps ใช้เป็นสำยโทรศัพท์ ไม่สำมำรถรับส่งข้อมูลดิจิตอลได้
CAT2 (Category 2) ควำมเร็วสูงสุด 4 Mbps สำมำรถรับส่งข้อมูลดิจิตอลได้
CAT3 (Category 3) ควำมเร็วสูงสุด 16 Mbps โดยสำยสัญญำณแต่ละคู่จะบิดเกลียวอย่ำงน้อย3-4 รอบ/ฟุต ใช้เชื่อมต่อในเครือข่ำย Ethernet และ Token
Ring แบบเก่ำ
องค์ประกอบของเครือข่าย
ตัวกลางนาข้อมูลMedia
• สาย UTP (Unshielded Twisted Pair) หรือสาย LAN
สายเคเบิลที่ใช้
 CAT4 (Category 4) ควำมเร็วสูงสุด 20 Mbps มีกำรพัฒนำเรื่องกำรป้องกันสัญญำณรบกวนให้ดีขึ้น
 CAT5 (Category 5) ควำมเร็วสูงสุด 100 Mbps เป็นสำย UTP แบบมำตรฐำนขั้นต้น โดยสำยสัญญำณแต่ละคู่มีกำรบิดเกลียว 3-4 รอบ/นิ้ว
ป้องกันสัญญำณรบกวนได้ดีรับส่งข้อมูลได้ไกล 100 เมตร รองรับกำรใช้งำนในเครือข่ำยอินเทอร์เน็ตควำมเร็วสูง Fast Ethernet
องค์ประกอบของเครือข่าย
ตัวกลางนาข้อมูลMedia
• สาย UTP (Unshielded Twisted Pair) หรือสาย LAN
สายเคเบิลที่ใช้
 CAT5e (Category 5 Enhanced) ควำมเร็วสูงสุด 1000 Mbps หรือ 1 Gbps ตัวสำยใช้วัสดุที่มีคุณภำพกำรนำสัญญำณสูง และมีกำร
บิดเกลียวของสำยเพิ่มขึ้น ซึ่งสำมำรถป้องกันสัญญำณรบกวนได้ดียิ่งขึ้น รองรับกำรเชื่อมต่ออุปกรณ์ในเครือข่ำยอินเทอร์เน็ตควำมเร็ว
สูง Gigabit Ethernet ได้
 CAT6 (Category 6) ควำมเร็วสูงสุด 1 Gbps โดยเพิ่มแผ่นฟอยล์กันคลื่นรบกวนให้กับสำยสัญญำณเหมำะสำหรับใช้ในบริเวณที่มี
คลื่นไฟฟ้ำสูงหรือสัญญำณไม่ดี
องค์ประกอบของเครือข่าย
ตัวกลางนาข้อมูลMedia
• สายใยแก้วนาแสง (Fiber Optic)
เป็นสำยที่ใช้กับกำรส่งสัญญำณด้วยแสง ซึ่งจะต้องมีอุปกรณ์พิเศษโดยเฉพำะ มีข้อ
มดีตรงที่ส่งได้เป็นระยะทำงไกลโดยไม่มีสัญญำณรบกวน และมักใช้ในกรณีที่เป็น
โครงข่ำยหลักเชื่อมระหว่ำงเครือข่ำยย่อยๆ
สายเคเบิลที่ใช้
องค์ประกอบของเครือข่าย
ตัวกลางนาข้อมูลMedia
• สายใยแก้วนาแสง (Fiber Optic)
ปัจจุบันมีใช้ในระบบอินเทอร์เน็ตควำมเร็วสูงหรือ Gigabit Ethernet ด้วย รวมถึง
โครงกำรอินเทอร์เน็ตควำมเร็วสูงโดยใช้สำยใยแก้วนำแสงที่เรียกว่ำ FTTx เช่น
สายเคเบิลที่ใช้
 FTTH (Fiber to The Home) กำรใช้สำยใยแก้วนำแสงต่อตรงเข้ำบ้ำน
 FTTO (Fiber to The Office) กำรใช้สำยใยแก้วนำแสงต่อตรงเข้ำสำนักงำน
 FTTB (Fiber to The Building) กำรใช้สำยใยแก้วนำแสงต่อตรงเข้ำอำคำร
โดยควำมเร็วในกำรดำวน์โหลด/อัพโหลดนั้นขึ้นอยู่กับผู้ให้บริกำร FTTx แต่ละรำย เช่น 15/5 Mbps, 20/3 Mbps, 30/3 Mbps,
50/5 Mbps หรือ 100/20 Mbps เป็นต้น
องค์ประกอบของเครือข่าย
ตัวกลางนาข้อมูลMedia
คอมพิวเตอร์ทำงำนกับสัญญำณที่เป็นระบบดิจิตอล แทนด้วย 0 และ 1 ในระบบ
LAN กำรส่งข้อมูลด้วยสัญญำณดิจิทัลเป็นแบบ Baseband ใช้ควำมถี่พื้นฐำน
ของสัญญำณข้อมูลจริง ปัญหำคือถูกรบกวนได้ง่ำยด้วยคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ำ
หรือสัญญำณรบกวนต่ำงๆ เพรำะสัญญำณไฟฟ้ำมีรูปแบบไม่แน่นอน ถ้ำมีอะไร
แปลกปลอมเข้ำมำก็แยกได้ยำกว่ำอะไรเป็นข้อมูล ดังนั้นจึงมีกำรนำเอำคลื่น
ควำมถี่สูงเข้ำมำใช้เป็นคลื่นพำหะ (Carrier) โดยผสมสัญญำณข้อมูลเข้ำกับคลื่น
พำหะนี้ในแบบของกำรผสมทำงควำมถี่ (FM : Frequency Modulation) แบบ
เดียวกับกำรส่งวิทยุกระจำยเสียง FM นั่นเอง
ลักษณะของสัญญาณไฟฟ้าที่รับส่งกัน
สัญญำณที่ส่งในแบบ
Broadband
สัญญำณดิจิทัล
ธรรมดำแบบ
Baseband0 1 0 1 0
องค์ประกอบของเครือข่าย
ตัวกลางนาข้อมูลMedia
แต่เนื่องจำกสัญญำณที่เรำผสมเข้ำไปในคลื่นพำหะนี้มีเพียง 2 ระดับคือ
0 และ 1 ดังนั้นคลื่นที่ส่งจึงมีลักษณะเป็นสองควำมถี่สลับกันไป หรือใน
บำงกรณีอำจใช้กำรผสมสัญญำณตำมจังหวะหรือเฟส (Phase) ของ
สัญญำณก็ได้ กำรที่นำคลื่นพำหะมำใช้นี้ทำให้ผู้รับสำมำรถแยกควำม
แตกต่ำงระหว่ำงข้อมูล 0 และ 1 ได้ดีขึ้นโดยดูจำกควำมถี่ ซึ่งรบกวนได้
ยำกกว่ำ และกำรที่ใช้สัญญำณควำมถี่สูง (แถบควำมถี่กว้ำง) มำช่วยใน
กำรส่งข้อมูลนั้นเรียกว่ำ Broadband
ลักษณะของสัญญาณไฟฟ้าที่รับส่งกัน
สัญญำณที่ส่งในแบบ
Broadband
สัญญำณดิจิทัล
ธรรมดำแบบ
Baseband0 1 0 1 0
องค์ประกอบของเครือข่าย
ตัวกลางนาข้อมูลMedia
Broadband จึงมีประสิทธิภำพดีกว่ำกำรส่งในแบบ Baseband และมี
ควำมเร็วสูงกว่ำ โดยอุปกรณ์รับส่งสำมำรถจัดกำรกับสัญญำณที่มี
ควำมถี่สูงๆ ระดับควำมถี่วิทยุ (RF : Radio Frequency) ได้ ซึ่งปัจจุบัน
ได้รับกำรพัฒนำคุณภำพให้มีควำมเร็วสูงมำกยิ่งขึ้น
ลักษณะของสัญญาณไฟฟ้าที่รับส่งกัน
สัญญำณที่ส่งในแบบ
Broadband
สัญญำณดิจิทัล
ธรรมดำแบบ
Baseband0 1 0 1 0
องค์ประกอบของเครือข่าย
ตัวกลางนาข้อมูลMedia
เนื่องจำกทุกเครื่องในระบบ LAN ใช้สำยสัญญำณชุดเดียวกันในกำรติดต่อ จึงต้อง
มีวิธีกำรที่จะแบ่งเวลำใช้สำยนี้ให้ทั่วถึงกัน เพื่อไม่ให้แต่ละเครื่องต้องรอนำนเกินไป
ก่อนจะรับส่งกันได้ ตัวอย่ำงเช่น
ลักษณะการแบ่งกันใช้สาย (Media Access Control)
องค์ประกอบของเครือข่าย
ตัวกลางนาข้อมูลMedia
• CSMA/CD (Carrier Sense Multiple
Access/Collision Detection)
ลักษณะการแบ่งกันใช้สาย (Media Access Control)
วิธีนี้ใช้ในมำตรฐำนอินเทอร์เน็ต เช่น Fast
Ethernet โดยมีหลักกำรทำงำนคือ ในขณะใด
ขณะหนึ่งนั้นคอมพิวเตอร์แต่ละเครื่องจะคอย
“ฟัง” ว่ำสำยว่ำงหรือไม่ (Carrier Detection)
ถ้ำพบว่ำสำยว่ำงก็จะเริ่มส่งสัญญำณออกมำ
ซึ่งถ้ำสำยว่ำงจริงข้อมูลก็จะไปถึงผู้รับได้เลย
กรณีที่ 1
เครื่องหนึ่งตรวจพบว่ำ
สำยว่ำง ก็เริ่มส่งได้
กรณีที่ 2
เครื่องหนึ่งตรวจพบว่ำ
สำยไม่ว่ำง จึงยังไม่ส่ง
กรณีที่ 3
ต่ำงคนต่ำงคิดว่ำสำยว่ำง
เริ่มส่งข้อมูลพร้อมกัน
อีกเครื่องหนึ่งส่งข้อมูล
ออกมำบนสำยก่อนแล้ว
สัญญำณข้อมูลชนกัน ต่ำงคนต่ำงหยุดแล้วรอส่งใหม่
องค์ประกอบของเครือข่าย
ตัวกลางนาข้อมูลMedia
• CSMA/CD (Carrier Sense Multiple
Access/Collision Detection)
ลักษณะการแบ่งกันใช้สาย (Media Access Control)
แต่กำรเริ่มส่งสัญญำณนี้อำจเกิดขึ้นจำกหลำยๆ
สถำนีพร้อมกันได้ เพรำะต่ำงคนต่ำง “ฟัง” และ
เข้ำใจว่ำสำยว่ำงพร้อมๆ กัน ผลก็คือสัญญำณที่
ได้นั้นจะชนกันในสำย ทำให้ข้อมูลใช้ไม่ได้ถึงตรงนี้
แต่ละเครื่องก็จะต้องสำมำรถตรวจนับกำรชนกัน
(Collision Detection)
กรณีที่ 1
เครื่องหนึ่งตรวจพบว่ำ
สำยว่ำง ก็เริ่มส่งได้
กรณีที่ 2
เครื่องหนึ่งตรวจพบว่ำ
สำยไม่ว่ำง จึงยังไม่ส่ง
กรณีที่ 3
ต่ำงคนต่ำงคิดว่ำสำยว่ำง
เริ่มส่งข้อมูลพร้อมกัน
อีกเครื่องหนึ่งส่งข้อมูล
ออกมำบนสำยก่อนแล้ว
สัญญำณข้อมูลชนกัน ต่ำงคนต่ำงหยุดแล้วรอส่งใหม่
องค์ประกอบของเครือข่าย
ตัวกลางนาข้อมูลMedia
• CSMA/CD (Carrier Sense Multiple
Access/Collision Detection)
ลักษณะการแบ่งกันใช้สาย (Media Access Control)
จำกนั้นแต่ละเครื่องที่ส่งข้อมูลออกมำชนกันก็จะ
หยุดส่งและรอ โดยนับถอยหลังตำมเวลำที่สุ่ม
ขึ้นมำซึ่งจะแตกต่ำงกันระหว่ำงแต่ละเครื่อง เมื่อ
ครบเวลำที่นับของแต่ละเครื่องแล้วก็ค่อยส่งข้อมูล
ออกมำใหม่ เนื่องจำกเวลำที่ใช้รอแตกต่ำงกันทำ
ให้กำรส่งครั้งใหม่นี้ไม่มีโอกำสจะชนกันระหว่ำงคู่
เดิมอีก
กรณีที่ 1
เครื่องหนึ่งตรวจพบว่ำ
สำยว่ำง ก็เริ่มส่งได้
กรณีที่ 2
เครื่องหนึ่งตรวจพบว่ำ
สำยไม่ว่ำง จึงยังไม่ส่ง
กรณีที่ 3
ต่ำงคนต่ำงคิดว่ำสำยว่ำง
เริ่มส่งข้อมูลพร้อมกัน
อีกเครื่องหนึ่งส่งข้อมูล
ออกมำบนสำยก่อนแล้ว
สัญญำณข้อมูลชนกัน ต่ำงคนต่ำงหยุดแล้วรอส่งใหม่
องค์ประกอบของเครือข่าย
ตัวกลางนาข้อมูลMedia
• Token Passing
ลักษณะการแบ่งกันใช้สาย (Media Access Control)
วิธีนี้ใช้หลักกำรที่ว่ำ ในขณะใดขณะหนึ่งจะมี
คอมพิวเตอร์เพียงเครื่องเดียวใน LAN ที่มีสิทธิ์ใน
กำรส่งข้อมูล โดยมีรหัสที่เรียกว่ำ Token เก็บไว้
เมื่อส่งข้อมูลออกไปเสร็จแล้วก็จะส่งรหัส Token
นี้ออกไปให้เครื่องอื่นๆ ตำมลำดับที่กำหนดไว้
ล่วงหน้ำ ถ้ำเครื่องไหนเมื่อได้รับรหัสแล้วยังไม่
ต้องกำรส่งข้อมูลก็จะส่งรหัส Token นี้ต่อไปเลย
มี Token, ไม่มีข้อมูล
ส่ง Token ต่อให้เครื่องที่ 2เครื่องที่ 1
เครื่องที่ 2
เครื่องที่ 3
เครื่องที่ 4
มี Token, ไม่มีข้อมูล
ส่ง Token ต่อให้เครื่องที่ 3
มี Token, มีข้อมูล ส่งข้อมูลให้เครื่อง
ที่ 2 Token ต่อให้เครื่องที่ 4
มี Token, ไม่มีข้อมูล
ส่ง Token ต่อให้เครื่องที่ 1
องค์ประกอบของเครือข่าย
ตัวกลางนาข้อมูลMedia
• Token Passing
ลักษณะการแบ่งกันใช้สาย (Media Access Control)
แต่ถ้ำเครื่องนั้นๆ ต้องกำรส่งข้อมูล ก็ให้ส่งข้อมูล
ออกมำก่อนแล้วจึงค่อยส่งรหัส Token ต่อไปให้
เครื่องอื่นตำมลำดับ ด้วยวิธีนี้ทุกเครื่องจะได้รับ
สิทธิ์ในกำรส่งข้อมูล (โดยมีรหัส Token ส่ง
มำถึง) 1 ครั้งภำยใน 1 รอบกำรทำงำนหรือ 1
ห้วงเวลำที่กำหนด
มี Token, ไม่มีข้อมูล
ส่ง Token ต่อให้เครื่องที่ 2เครื่องที่ 1
เครื่องที่ 2
เครื่องที่ 3
เครื่องที่ 4
มี Token, ไม่มีข้อมูล
ส่ง Token ต่อให้เครื่องที่ 3
มี Token, มีข้อมูล ส่งข้อมูลให้เครื่อง
ที่ 2 Token ต่อให้เครื่องที่ 4
มี Token, ไม่มีข้อมูล
ส่ง Token ต่อให้เครื่องที่ 1
องค์ประกอบของเครือข่าย
ตัวกลางนาข้อมูลMedia
• Token Passing
ลักษณะการแบ่งกันใช้สาย (Media Access Control)
ให้สำมำรถจำกัดเวลำได้ว่ำจะสำมำรถส่งข้อมูล
ออกไปภำยในเวลำไม่เกินกี่ Millisecond แต่
กระบวนกำรทำงำนของกำรจัดสรร Token นี้จะมี
ควำมซับซ้อนกว่ำแบบ CSMA/CD มำก (เช่น
ต้องจัดกำรหำว่ำใครจะเป็นคนออก Token ใหม่
หำกของเดิมสูญหำยด้วย) จึงใช้กันในเครือข่ำย
บำงแบบเท่ำนั้น เช่น กำรเชื่อมต่อระบบ LAN แบบ
Token Ring
มี Token, ไม่มีข้อมูล
ส่ง Token ต่อให้เครื่องที่ 2เครื่องที่ 1
เครื่องที่ 2
เครื่องที่ 3
เครื่องที่ 4
มี Token, ไม่มีข้อมูล
ส่ง Token ต่อให้เครื่องที่ 3
มี Token, มีข้อมูล ส่งข้อมูลให้เครื่อง
ที่ 2 Token ต่อให้เครื่องที่ 4
มี Token, ไม่มีข้อมูล
ส่ง Token ต่อให้เครื่องที่ 1
มาตรฐานของระบบ LAN
ในระบบเครือข่ำย LAN นั้นมีลักษณะทำงฮำร์ดแวร์ที่ยึดมำตรฐำน
ของสถำบันวิศวกรรมไฟฟ้ำ และอิเล็กทรอนิกส์ของสหรัฐฯ หรือ
IEEE (Institute of Electrical and Electronics Engineers) ซึ่งยัง
มีมำตรฐำนย่อยๆ อีกหลำยแบบ เพื่อรับรองเทคโนโลยีเครือข่ำยใน
รูปแบบต่ำงๆ เช่น
ดูมำตรฐำนอื่นๆ ได้ที่ www.ieee802.org
IEEE 802.3
สำหรับเครือข่ำยอินเทอร์เน็ต
IEEE 802.11
สำหรับเครือข่ำย LAN ไร้สำย (Wireless LAN)
ที่นิยมเรียกกันว่ำมำตรฐำน Wi-Fi เป็นต้น
มาตรฐานของระบบ LAN
สำหรับหัวข้อนี้จะกล่ำวถึงกำรเชื่อมต่อระบบเครือข่ำยแบบ
Ethernet, Token Ring และ FDDI เพื่อให้เข้ำใจถึงพื้นฐำนหลักใน
กำรรับส่งข้อมูลที่เคยใช้กันมำตั้งแต่ดั้งเดิม ซึ่งปัจจุบันกำรเชื่อมต่อ
แบบ Ethernet ได้รับกำรพัฒนำควำมเร็วให้มีควำมเร็วสูงขึ้นและ
เป็นที่นิยมใช้งำนกันโดยทั่วไป
ดูมำตรฐำนอื่นๆ ได้ที่ www.ieee802.org
มาตรฐานของระบบ LAN
อีเธอร์เนตEthernet
เป็นระบบ LAN ที่พัฒนำขึ้นโดย 3 บริษัทใหญ่คือ บริษัท Xerox
Corporation, Digital Equipment Corporation (DEC) และ Intel
โดยถูกจัดให้เป็นมำตรฐำนของ IEEE ในกลุ่มที่มีรหัส 802.3 และใช้
กันอย่ำงแพร่หลำยจนถึงปัจจุบัน ในระยะแรกใช้สำย Coaxial เป็น
หลัก ต่อมำได้พัฒนำไปใช้สำยแบบ UTP และเพิ่มควำมเร็วจำก 10
Mbps (เมกะบิต/วินำที) ขึ้นไปเป็น 100-1000 Mbps (1 Gbps)
บำงระบบมีควำมเร็วสูงถึง 10 Gbps (กิกะบิต/วินำที)
Coaxial UTP
มาตรฐานของระบบ LAN
อีเธอร์เนตEthernet
ลักษณะสำคัญแต่เดิมของ Ethernet คือข้อมูลทุกอย่ำงจะส่งผ่ำน
ตัวกลำงหรือ Ether ที่เชื่อมระหว่ำงทุกๆ โหนด ซึ่งในที่นี้ก็คือสำย
Coaxial นั่นเอง ดังนั้น Ethernet ในยุคแรกจึงใช้กำรเชื่อมต่อสำยแบบ
Bus ที่วิ่งผ่ำนทุกเครื่อง และต่อมำเมื่อมีกำรใช้สำย UTP ที่ต่อผ่ำน
อุปกรณ์ Hub เกิดขึ้นจึงค่อยๆ เปลี่ยนไปสู่กำรเชื่อมต่อแบบ Star ที่
รวมสำยเข้ำศูนย์กลำง
มาตรฐานของระบบ LAN
อีเธอร์เนตEthernet
มำตรฐำนของระบบ Ethernet เป็นไปตำมมำตรฐำนที่ชื่อ
IEEE 802.3 ซึ่งใช้ในกำรต่อสำยแบบที่เชื่อมทุกเครื่องถึง
กันโดยตรง โดยมีกฎเกณฑ์หรือโปรโตคอลแบบ
CSMA/CD สำหรับชื่อมำตรฐำนของ Ethernet นั้นจะ
แยกแยะได้ด้วยรหัสดังตัวอย่ำง
10 Base - 5
ควำมเร็ว 10 Mbps
วิธีส่งสัญญำณ
สำยที่ใช้เป็น Coaxial ระยะไม่เกิน 5 เมตร
มาตรฐานของระบบ LAN
อีเธอร์เนตEthernet
เป็นตัวบอกว่ำระบบนั้นทำควำมเร็วได้เท่ำไร โดยทั่วไปคือ 10, 100 หรือ 1000 Mbps เป็นต้น ตัวเลขนี้จะเป็นค่ำสูงสุดที่ระบบ
LAN นั้นทำได้ ซึ่งควำมเร็วนี้ทำได้ในกรณีที่ไม่มีอุปสรรคอื่นใดมำถ่วงให้ช้ำลง แต่ในทำงปฏิบัติแล้วจะได้ควำมเร็วต่ำกว่ำนี้มำก
และกำรนำไปใช้เทียบกับค่ำอื่นๆ ก็อำจต้องแปลงค่ำนี้ให้เป็นไบต์ (Byte) ก่อนคือ 1 ไบต์ เท่ำกับ 8 บิต โดยประมำณ
ความเรว
มาตรฐานของระบบ LAN
อีเธอร์เนตEthernet
หำกพิจำรณำถึงกำรเสียเวลำอื่นๆ เช่น กำรส่งข้อมูลตรวจสอบกำรแปลงข้อมูลและอื่นๆ ก็จะทำให้ควำมเร็วในทำงปฏิบัติจริง
ลดต่ำลงอีก เช่น LAN 100 Mbps ตำมทฤษฎีน่ำจะรับส่งข้อมูลได้ถึง 12.5 Mbytes/Second แต่ในทำงปฎิบัติจะทำได้แค่รำวๆ
8-9 Mbytes/Second เท่ำนั้น
ความเรว
มาตรฐานของระบบ LAN
อีเธอร์เนตEthernet
โดยปกติรหัสที่ใช้บอกกำรส่งสัญญำณทำงไฟฟ้ำบนระบบ Ethernet จะมี 2 ลักษณะคือ Baseband และ Broadband ดังที่
อธิบำยไปแล้ว ซึ่งระบบ LAN ควำมเร็วสูงในปัจจุบันพัฒนำไปใช้แบบ Broadband มำกขึ้น
วิธีส่งสัญญาณ
สัญญำณที่ส่งในแบบ
Broadband
สัญญำณดิจิทัล
ธรรมดำแบบ
Baseband0 1 0 1 0
มาตรฐานของระบบ LAN
อีเธอร์เนตEthernet
• Base หมายถึง Baseband
ส่งเป็นสัญญำณแบบดิจิตอล 0 และ 1 หรือ แรงดันไฟฟ้ำ 0 และ 5 โวลต์โดยไม่
มีกำรผสมสัญญำณนี้เข้ำกับสัญญำณควำมถี่สูงอื่นใด วิธีกำรนี้ทำงำนง่ำยทั้ง
วงจรรับและส่ง แต่จะถูกรบกวนได้ง่ำยและส่งได้ระยะทำงไม่ไกล นอกจำกนี้ใน
สำยเส้นหนึ่งๆ ยังส่งสัญญำณแบบนี้ได้เพียงชุดเดียวเท่ำนั้น
วิธีส่งสัญญาณ
สัญญำณที่ส่งในแบบ
Broadband
สัญญำณดิจิทัล
ธรรมดำแบบ
Baseband0 1 0 1 0
มาตรฐานของระบบ LAN
อีเธอร์เนตEthernet
• Broad หมายถึง Broadband
มีกำรผสมสัญญำณข้อมูลที่จะส่งเข้ำกับสัญญำณอนำล็อกหรือคลื่นพำหะที่มี
ควำมถี่สูง เพื่อให้ส่งได้ไกลและมีควำมเพี้ยนน้อยกว่ำแบบ Base โดยจัดกำรให้
ข้อมูลชุดหนึ่งผสมกับสัญญำณที่ควำมถี่ช่วงหนึ่งนับเป็น 1 แชนแนล พอมี
ข้อมูลอีกชุดหนึ่งก็เลี่ยงไปใช้กำรผสมเข้ำกับควำมถี่อื่นที่ห่ำงออกไปมำกพอที่จะ
ไม่รบกวนกัน ก็จะได้เป็นอีกแชนแนลหนึ่งที่สำมำรถรับส่งไปพร้อมๆ กันได้ วิธีนี้
จะส่งได้ไกลขึ้น ส่งข้อมูลได้มำกขึ้น ทำให้ควำมเร็วโดยรวมสูงขึ้น
วิธีส่งสัญญาณ
สัญญำณที่ส่งในแบบ
Broadband
สัญญำณดิจิทัล
ธรรมดำแบบ
Baseband0 1 0 1 0
มาตรฐานของระบบ LAN
อีเธอร์เนตEthernet
Ethernet แบบพื้นฐำนดั้งเดิมนั้นมีควำมเร็วเพียง 10 Mbps และมีกำรต่อสำย 3 แบบ ต่อมำมีสำย Fiber Optic และสำย UTP เพิ่ม
ขึ้นมำ ก็พัฒนำขึ้นไปจนทำควำมเร็วได้เป็นระดับ 1000 Mbps ซึ่งสำยแต่ละแบบนั้นใช้รหัสแตกต่ำงกัน ดังนี้
สายที่ใช้
รหัส หมายถึง
5 ใช้สำยแบบ Thick Coaxial ขนำดใหญ่โยงถึงกัน สำยแบบนี้ลำกไปได้ไกลไม่เกิน500 เมตร จึงใช้เลข 5 กำกับ
2 ใช้สำยแบบ Thin Coaxial ขนำดเล็กโยงถึงกัน สำยแบบนี้ลำกไปได้ไกลไม่เกิน 200 เมตร จึงใช้เลข 2 กำกับ
T ใช้สำย UTP แบบ CAT 5 ต่อจำกทุกเครื่องเข้ำหำอุปกรณ์รวมสำย (เช่น Hub/Switch) สำยแบบนี้ลำกไปได้ไกลไม่เกิน 100 เมตรประมำณ
F เป็นระบบที่ใช้สำยใยแก้วนำแสง (Fiber Optic) ซึ่งสำมำรถลำกไปได้ไกลหลำยร้อยเมตรขึ้นไป
มาตรฐานของระบบ LAN
อีเธอร์เนตEthernet
สายที่ใช้
Thick Coaxial Thin Coaxial UTP Fiber Optic
มาตรฐานของระบบ LAN
อีเธอร์เนตEthernet
มาตรฐานที่สาคัญของ Ethernet
มาตรฐาน ความหมาย
10Base-5 ใช้สำยแบบ Thick Coaxial ขนำดใหญ่โยงถึงกัน โดยแต่ละจุดจะต้องมีอุปกรณ์ Transceiver เป็นตัวเชื่อม และจำก Transceiver นี้ออกไปยัง
กำร์ด LAN จะใช้สำยสั้นๆ ที่เรียกว่ำ AUI Cable อีกทีหนึ่ง
10Base-2 ใช้สำยแบบ Thin Coaxial ขนำดเล็กโยงถึงกัน ด้วยกำรต่อเข้ำกับกำร์ด LAN โดยไม่ต้องมีอุปกรณ์ Transceiver แต่ต้องมีหัวต่อสำมทำงที่
เรียกว่ำ T-Connector สำหรับแยกสำยเข้ำแต่ละเครื่อง และต้องมีอุปกรณ์ที่เรียกว่ำ Terminator ปิดท้ำยที่ปลำยสำยทั้งสองด้ำนเพื่อป้องกัน
กำรสะท้อนกลับของสัญญำณที่อำจรบกวนกำรทำงำนได้
10Base-T ใช้สำย UTP แบบ CAT 5 ต่อจำกทุกเครื่องเข้ำหำ Hub/Switch จำกนั้นจึงต่อระหว่ำง Hub/Switch หลำยๆ ตัวเข้ำด้วยกัน (ถ้ำมี) ด้วยสำย
UTP ก็ได้ หรือบำงแบบที่เก่ำหน่อยก็อำจมีช่องให้ต่อเข้ำกับสำยแบบ Thick หรือ Thin เพื่อเชื่อมโยงระหว่ำงแต่ละ Hub/Switch อีกทีหนึ่ง
มาตรฐานของระบบ LAN
อีเธอร์เนตEthernet
มาตรฐานที่สาคัญของ Ethernet
Transceiver T-Connector SwitchTerminator
มาตรฐานของระบบ LAN
อีเธอร์เนตEthernet
มาตรฐานที่สาคัญของ Ethernet
ระบบ LAN แบบ 10 Base - 2
มาตรฐานของระบบ LAN
อีเธอร์เนตEthernet
มาตรฐานที่สาคัญของ Ethernet
ระบบ LAN แบบ 10 Base - T
มาตรฐานของระบบ LAN
อีเธอร์ความเรวสูงFast/Gigabit Ethernet
Ethernet แบบดั้งเดิมได้รับพัฒนำให้มีควำมเร็วสูงขึ้นจำก 10 Mbps เป็น 100
Mbps (Fast Ethernet) และ 1,000 Mbps (Gigabit Ethernet) หรือมำกกว่ำนั้น ซึ่ง
มำกพอที่จะใช้กับข้อมูลขนำดใหญ่ อย่ำงเช่นไฟล์มัลติมีเดียรวมทั้งข้อมูลที่ต้องรับส่ง
ให้ได้ตำมเวลำจริงหรือ Real – Time ได้ดีขึ้นกว่ำเดิม (เช่น กำรประชุมระยะไกลที่
ต้องใช้ทั้งเสียงและภำพเคลื่อนไหว) ซึ่งมำตรฐำนของ Ethernet ควำมเร็วสูงเหล่ำนี้
อำจจัดเป็นหลำยกลุ่มด้วยกัน ดังนี้
มาตรฐานของระบบ LAN
อีเธอร์ความเรวสูงFast/Gigabit Ethernet
มาตรฐาน ความหมาย
Fast Ethernet
(100 Base-T)
100 Base-T เป็นระบบที่พัฒนำต่อจำก Ethernet โดยใช้สำยที่ดีขึ้นกว่ำ 10 Base-T เดิม เช่น สำย CAT5e หรือ CAT6 เป็นต้น
โดยต่อเข้ำกับ Hub/Switch เช่นเดียวกับ 10 Base-T แต่ต้องเป็น Hub/Switch ที่รองรับควำมเร็ว 100 Mbps ด้วย สำยที่ใช้
กับระบบ 100 Base-T นี้จะแยกรับส่งข้อมูลเป็น 4 คู่สำยด้วยควำมเร็วคู่สำยละ 25 Mbps รวมเป็น 25 x 4 = 100 Mbps
มาตรฐานของระบบ LAN
อีเธอร์ความเรวสูงFast/Gigabit Ethernet
มาตรฐาน ความหมาย
Gigabit Ethernet
(1000 Base-T)
1000 Base-T (สำย UTP) หรือ 1000 Base-F (สำย Fiber optic) เป็นเทคโนโลยีที่สำมำรถส่งข้อมูลได้ในระดับควำมเร็ว
1,000 Mbps หรื 1 Gbps ซึ่งเป็นมำตรฐำนของเครือข่ำยระดับ High-End สำหรับงำนที่ต้องกำรควำมเร็วระดับสูง เช่น งำน
กรำฟิก หรือใช้เชื่อมต่อตรงช่วงที่ต่อเข้ำเครื่องเซิร์ฟเวอร์ เพื่อให้สำมำรถรองรับงำนจำกเครื่องอื่นๆ ได้ปริมำณมำกและ
พร้อมๆ กัน สำยที่ใช้ก็จะมีทั้งแบบที่เป็น UTP (แต่ควำมยำวไม่มำกนัก) และ Fiber Optic
มาตรฐานของระบบ LAN
อีเธอร์ความเรวสูงFast/Gigabit Ethernet
มาตรฐาน ความหมาย
10 Gigabit
Ethernet
เป็นเทคโนโลยีที่สำมำรถรับส่งข้อมูลได้ในระดับควำมเร็ว 10,000 Mbps หรือ 10 Gbps มักใช้กับกำรเชื่อมต่อระหว่ำงเมือง
หรือ WAN รวมถึงระดับเครื่องเซิร์ฟเวอร์และเดสก์ท็อปสำหรับเครือข่ำยที่ต้องกำรควำมเร็วสูงมำก เป็นต้น
มาตรฐานของระบบ LAN
การเชื่อมต่อเครือข่าย LAN แบบดั้งเดิม
Token-Ring/FDDI
เป็นกำรเชื่อมต่อเครือข่ำย LAN ในแบบวงแหวน (Ring) และใช้วิธีควบคุมกำรส่งข้อมูลแบบ Token Passing ซึ่งพัฒนำขึ้นโดย
บริษัทไอบีเอ็มสำหรับรุ่นแรกๆ มีควำมเร็วเพียง 4 Mbps แต่ต่อมำได้ปรับปรุงเป็น 16 Mbps สำยที่ใช้จะเป็นเคเบิลแบบพิเศษมี 2 คู่
ต่อเข้ำกับอุปกรณ์รวมสำยที่เรียกว่ำ MAU (Multiple Access Unit) ซึ่ง 1 ตัวต่อได้ 8 เครื่อง และพ่วงระหว่ำง MAU แต่ละตัวเข้ำ
ด้วยกันได้อีก ลักษณะของกำรลำกสำยจำก MAU ไปยังแต่ละเครื่องนั้นจะดูเหมือนกับกำรเชื่อม่อแบบดำวกระจำยหรือเครือข่ำยแบบ
Star (แต่ถ้ำไล่สำยดูจริงๆ จะพบว่ำยังเป็นวงแหวนหรือ Ring อยู่)
Token-Ring
มาตรฐานของระบบ LAN
การเชื่อมต่อเครือข่าย LAN แบบดั้งเดิม
Token-Ring/FDDI
Token-Ring
มาตรฐานของระบบ LAN
การเชื่อมต่อเครือข่าย LAN แบบดั้งเดิม
Token-Ring/FDDI
Token-Ring
จุดอ่อนของ Token Ring คือถ้ำสำยเส้นใดเส้นหนึ่งขำดไป Ring จะไม่ครบวงและทำงำนไม่ได้ ดังนั้นเพื่อแก้ปัญหำนี้บริษัท IBM ผู้
คิดค้น Token Ring จึงออกแบบสำยและอุปกรณ์ให้มีลักษณะพิเศษคือมีสำยสำรองในตัวเป็น 2 ชุด เมื่อมีปัญหำสำยในวงเกิดชำรุด
บำงช่วงหรือบำงเครื่องไม่ทำงำน สำยส่วนที่เหลือกับอุปกรณ์ MAU จะเปลี่ยนลักษณะกำรต่อสำยให้กลับเป็นวงแบบ 2 ชั้น วนอ้อม
สำยส่วนที่ขำดไป ทำให้ระบบสำมำรถทำงำนต่อได้โดยไม่ติดขัด (ปัจจุบันพบกำรเชื่อมต่อเครือข่ำย LAN แบบ Token-Ring น้อยมำก
แล้ว อำจมีใช้ในระบบเก่ำๆ)
มาตรฐานของระบบ LAN
การเชื่อมต่อเครือข่าย LAN แบบดั้งเดิม
Token-Ring/FDDI
FDDI (Fiber Distributed Data Interface)
FDDI เป็นมำตรฐำนกำรต่อระบบเครือข่ำยโดยอำศัยสำย
Fiber Optic ซึ่งจะสำมำรถรับส่งข้อมูลได้ที่ควำมเร็วสูงระดับ
100 Mbps เท่ำกับ Fast Ethernet หรือสิบเท่ำของ
Ethernet พื้นฐำน
มาตรฐานของระบบ LAN
การเชื่อมต่อเครือข่าย LAN แบบดั้งเดิม
Token-Ring/FDDI
FDDI (Fiber Distributed Data Interface)
ลักษณะของ FDDI จะต่อเป็น Ring ที่มีสำยสองชั้นเดินคู่ขนำน
กัน เพื่อสำรองในกรณีที่เกิดสำยขำดขึ้น โดยวงจรจะตัดส่วนที่
ขำดออกแล้ววนสำยที่เหลือให้ครบรอบเป็น Ring ตำมเดิมใน
แบบเดียวกับสำย Token Ring ของ IBM ลักษณะกำรรับส่ง
ข้อมูลของ FDDI ก็ใช้วิธี Token-passing เช่นเดียวกัน ส่วนสำย
ที่ต่อนั้นจะทำได้ในระยะระหว่ำงแต่ละเครื่องไม่เกิน 2 กิโลเมตร
และระยะรวมทั้งหมดไม่เกิน 100 กิโลเมตร
มาตรฐานของระบบ LAN
การเชื่อมต่อเครือข่าย LAN แบบดั้งเดิม
Token-Ring/FDDI
FDDI (Fiber Distributed Data Interface)
FDDI เหมำะที่จะใช้เป็นเครือข่ำยหลักคือ Backbone ที่เชื่อมระบบ
LAN หลำยๆ วงเข้ำด้วยกัน โดยแต่ละวง LAN จะต้องมีตัวรวม
สำย (Concentrator) หรืออุปกรณ์ Router ที่ใช้ต่อระหว่ำง
LAN ทั้งวงเข้ำเป็นสถำนีหรือ Node หนึ่งในวงของ FDDI
เครือข่ายแลนไร้สาย (Wireless LAN)
เครือข่ำยแบบไร้สำย (Wireless Network) คือ เครือข่ำยที่อำศัยคลื่นวิทยุ (RF : Radio Frequency) ในกำรรับส่งข้อมูล ไม่ต้อง
เดินสำยเหมือน LAN แบบใช้สำย เหมำะกับกำรใช้งำนในบ้ำนหรือบริเวณที่ไม่สะดวกในกำรเดินสำย และเป็นจุดที่ไม่มีปัญหำเรื่อง
กำรรบกวนของสัญญำณวิทยุมำกนัก เรำสำมำรถใช้อินเทอร์เน็ตได้จำกทุกห้องในบ้ำนหรือแม้แต่ที่สนำมหน้ำบ้ำน โดยไม่ขำดกำร
ติดต่อตรำบใดที่ยังอยู่ในระยะทำกำร เนื่องจำกคลื่นวิทยุนี้มีคุณสมบัติในกำรทะลุทะลวงสิ่งกีดขวำงต่ำงๆ ได้ ไม่ว่ำจะเป็นผนัง
กำแพง เพดำน เป็นต้น
เครือข่ายแลนไร้สาย (Wireless LAN)
ปัจจุบันควำมถี่ของคลื่นที่ได้รับ
จัดสรรมำให้ใช้จะมีอยู่ 3 ย่ำน
ควำมถี่คือ ช่วง 900 MHz, 2.4
GHz และ 5 GHz ซึ่งจัดเป็นคลื่น
ควำมถี่เสรีหรือ ISM Bands คือ
คลื่นควำมถี่สำธำรณะสำหรับใช้ใน
ด้ำนอุตสำหกรรม (Industrial),
วิทยำศำสตร์ (Scientific) และ
กำรแพทย์ (Medical) โดย
เครือข่ำยไร้สำยจะใช้ย่ำนควำมถี่
ในช่วง 2.1-5 GHz
เครือข่ายแลนไร้สาย (Wireless LAN)
เป็นกำรเชื่อมต่อเครือข่ำยโดยใช้คลื่นวิทยุในกำรรับส่งข้อมูลระหว่ำงเครื่องหนึ่งกับเครื่องอื่นๆ หรือระหว่ำงเครื่องที่มีกำร์ด LAN
ไร้สำย (Wireless Card) กับสถำนีฐำนหรือ “จุดเข้ำใช้” (Access Point) ซึ่งเป็นตัวกลำงในกำรติดต่อทั้งระหว่ำงแต่ละเครื่องที่ใช้
Wireless LAN ด้วยกัน รวมถึงกำรเชื่อมต่อเข้ำกับระบบ LAN แบบใช้สำยทั้งภำยในหรือภำยนอกบริเวณ โดยนำสำยมำเสียบเข้ำ
ที่ตัว Access Point แทนที่จะต้องลำกสำย LAN ไปถึงทุกเครื่องอย่ำง LAN แบบเดิม ซึ่งจุดที่ติดตั้งสถำนีฐำนหรือ Access Point
นั้นนิยมเรียกว่ำ ฮอตสปอท (Hotspot)
รู้จักกับเครือข่ายแลนไร้สายWireless LAN
เครือข่ายแลนไร้สาย (Wireless LAN)
อุปกรณ์ Access Point เป็นตัวกระจำยสัญญำณไร้สำยไปในเครือข่ำย และหลำยๆ
รุ่นยังทำหน้ำที่เป็น Router เพื่อแชร์อินเทอร์เน็ตให้กับเครื่องที่อยู่ในเครือข่ำยนั้น
(ทั้งเครื่องที่มีสำยและไร้สำย) โดยปกติระบบ LAN ไร้สำยจะมีกำรจำกัดจำนวน
เครื่องที่ต่อได้ในเครือข่ำยเดียวกันเช่น 128 เครื่อง ทั้งนี้เพรำะมีช่วงควำมถี่ที่จะแบ่ง
กันใช้ในจำนวนจำกัด
รู้จักกับเครือข่ายแลนไร้สายWireless LAN
เครือข่ายแลนไร้สาย (Wireless LAN)
ตัวอย่ำงอุปกรณ์ Access Point เช่น AirPort Extreme ของบริษัทแอปเปิ้ล ซึ่งเป็น
อุปกรณ์ช่วยกระจำยสัญญำณ Wi-Fi ที่สำมำรถรับส่งคลื่นควำมถี่ได้ 2 ย่ำนควำมถี่
คือ 2.4 GHz และ 5 GHz ทำให้รองรับชนิดของอุปกรณ์ไร้สำยได้มำกขึ้น โดยจะ
เชื่อมต่อควำมถี่ที่มีประสิทธิภำพดีที่สุดในขณะนั้นให้กับอุปกรณ์โดยอัตโนมัติ รองรับ
มำตรฐำน 802.11ac ทำให้รับส่งข้อมูลได้รวดเร็วขึ้น สัญญำณชัดเจนขึ้น
รู้จักกับเครือข่ายแลนไร้สายWireless LAN
Airport Extreme อุปกรณ์ Access Point สำหรับ
กระจำยสัญญำณ WiFi ในเครือข่ำย
เครือข่ายแลนไร้สาย (Wireless LAN)
เครื่องคอมพิวเตอร์หรืออุปกรณ์ที่จะใช้ในเครือข่ำยไร้สำยนั้นต้องติดตั้ง Wireless Card ทุกเครื่อง เพื่อใช้เป็นตัวรับสัญญำณไร้
สำยจำก Access Point ซึ่งกำร์ดไร้สำยนั้นมีหลำยรูปแบบ ขึ้นอยู่กับเครื่องที่ใช้งำน เช่น แบบ PCI Card สำหรับติดตั้งภำยใน
เครื่องพีซี, แบบ PCMCIA สำหรับโน้ตบุ๊ค และแบบ USB Wireless สำหรับเสียบต่อใช้งำนภำยนอก รวมถึงชิป Wi-Fi ที่ฝังอยู่
ในสมำร์ทโฟนและอุปกรณ์พกพำต่ำงๆ เป็นต้น
รู้จักกับเครือข่ายแลนไร้สายWireless LAN
เครือข่ายแลนไร้สาย (Wireless LAN)
รู้จักกับเครือข่ายแลนไร้สายWireless LAN
เครือข่ายแลนไร้สาย (Wireless LAN)
มาตรฐานของเครือข่ายแลนไร้สายWireless LAN (Wi-Fi) Standard
ปัจจุบันมำตรฐำน Wireless LAN นั้นเรียกรวมว่ำ IEEE 802.11 หรือเรียกอีกอย่ำงว่ำ Wi-Fi (Wireless Fidelity) โดยตั้งชื่อให้
ล้อไปกับคำว่ำ Hi-Fi (Hi-Fidelity) ซึ่งเป็นระบบเสียงคุณภำพสูงของยุดนั้น ซึ่งมำตรฐำน IEEE 802.11 ยังแบ่งย่อยเป็นหลำย
แขนง เช่น
เครือข่ายแลนไร้สาย (Wireless LAN)
มาตรฐานของเครือข่ายแลนไร้สายWireless LAN (Wi-Fi) Standard
เป็นมำตรฐำนที่ใช้ควำมถี่ 2.4 GHz มีควำมเร็วในกำรรับส่งข้อมูลสูงสุด 11 Mbps (ในทำงปฏิบัติจะได้เฉลี่ยประมำณ 6 Mbps
เท่ำนั้น) มีรัศมีกระจำยสัญญำณประมำณ 30-45 เมตร ปัจจุบันไม่ค่อยมีใช้กันแล้ว
IEEE 802.11b
เครือข่ายแลนไร้สาย (Wireless LAN)
มาตรฐานของเครือข่ายแลนไร้สายWireless LAN (Wi-Fi) Standard
ใช้ควำมถี่ 2.4 GHz เช่นเดียวกับ 802.11b แต่เพิ่มควำมเร็วสูงสุดเป็น 54 Mbps (ในทำงปฏิบัติจะได้เฉลี่ยประมำณ 18-22
Mbps) และสำมำรถใช้งำนทั้งกำร์ดและสถำนีฐำน (Access Point) ร่วมกับเครือข่ำยแบบ 802.11b ได้ในรัศมีเดียวกัน (แต่
ควำมเร็วสูงสุดจะลดลงเหลือเท่ำ 802.11b คือ 11 Mbps)
IEEE 802.11g
เครือข่ายแลนไร้สาย (Wireless LAN)
มาตรฐานของเครือข่ายแลนไร้สายWireless LAN (Wi-Fi) Standard
เป็นมำตรฐำนที่ส่งสัญญำณได้สองควำมถี่ (Dual Band) คือ 2.4 GHz และ 5 GHz และเพิ่มควำมเร็วในกำรรับส่งข้อมูลสูงสุด
เป็น 600 Mbps สำมำรถรองรับอุปกรณ์มำตรฐำน 802.11b และ 802.11g ได้
IEEE 802.11n
เครือข่ายแลนไร้สาย (Wireless LAN)
มาตรฐานของเครือข่ายแลนไร้สายWireless LAN (Wi-Fi) Standard
เป็นมำตรฐำนที่ใช้ควำมถี่ 5 GHz (ยังคงใช้ควำมถี่ 2.4 GHz ได้ในเวลำเดียวกัน) โดยพัฒนำประสิทธิภำพด้ำนคลื่นควำมถี่ให้มี
ช่องสัญญำณกว้ำงขึ้น สำมำรถรับส่งสัญญำณผ่ำนสิ่งกีดขวำงได้ดีขึ้นและระยะได้ขึ้น ทำให้สัญญำณ WiFi ที่เชื่อมต่อนั้นมี
ควำมเสถียรชัดเจนและรวดเร็วกว่ำมำตรฐำนเดิมมีควำมเร็วในกำรรับส่งข้อมูลสูงสุด 1300 Mbps หรือ 1.3 Gbps
IEEE 802.11ac
เครือข่ายแลนไร้สาย (Wireless LAN)
มาตรฐานของเครือข่ายแลนไร้สายWireless LAN (Wi-Fi) Standard
อย่ำงไรก็ตำม ควำมเร็วในกำรรับส่งข้อมูลที่ระบุนี้เป็นควำมเร็วสูงสุดในห้องโล่งๆ ในทำงปฏิบัติถ้ำมีสัญญำณรบกวนมำกหรือมี
สิ่งกีดขวำง เช่น พำร์ติชั่น ผนังคอนกรีต หรืออยู่ในห้องที่มีผนังทึบ ควำมเร็วก็จะลดต่ำลงไปอีก
เครือข่ายแลนไร้สาย (Wireless LAN)
ความปลอดภัยของเครือข่ายแลนไร้สายWireless LAN (Wi-Fi) Security
ข้อมูลถูกส่งไปในอำกำศซึ่งสำมำรถถูกดักจับได้ง่ำย ดังนั้นจึงต้องมีวิธีกำร
เข้ำรหัสข้อมูล (Data Encryption) แต่เดิมจะใช้วิธีเข้ำรหัสเรียกว่ำ WEP
(Wired Equivalent Privacy) ซึ่งยังมีปัญหำเรื่องกุญแจกำรเข้ำรหัสหรือ
คีย์ (Key) ที่ยังไม่ปลอดภัยเท่ำที่ควร จึงมีกำรออกมำตรฐำนใหม่คือ WPA
(Wi-Fi Protected Access) ที่ปลอดภัยกว่ำด้วยกำรใช้คีย์แบบชั่วครำว ทำ
ให้ยำกต่อกำรคำดเดำของผู้บุกรุก และยังไม่พัฒนำไปเป็น WPA2 หรือ
IEEE 802.11i ซึ่งมีกลไกที่ซับซ้อนกว่ำ จึงมีควำมปลอดภัยสูงยิ่งขึ้นไปอีก
เครือข่ายแลนไร้สาย (Wireless LAN)
ความปลอดภัยของเครือข่ายแลนไร้สายWireless LAN (Wi-Fi) Security
นอกจำกนี้ ในด้ำนกำรป้องกันผู้อื่นแอบเชื่อมต่อเข้ำมำในระบบ LAN ไร้สำย
ก็ยังมีวิธีกำหนดรหัสเครือข่ำยที่เรียกว่ำ SSID (Service Set ID) ซึ่ง จะ
คล้ำยๆ กับชื่อ Workgroup ในเครือข่ำยของ Windows นั่นเองโดย
อุปกรณ์ทุกชิ้นในเครือข่ำยจะต้องถูกกำหนดค่ำ SSID ที่ตรงกันด้วยจึงจะ
สำมำรถสื่อสำรกันได้ ดังนั้น SSID จึงควรรู้เฉพำะบุคคลในเครือข่ำย เพื่อ
ป้องกันไม่ให้บุคคลภำยนอกแอบเข้ำมำเชื่อมต่อกับระบบ LAN ของเรำได้
เครือข่ายแลนไร้สาย (Wireless LAN)
เครือข่ายอินเทอร์เนตไร้สายMobile Internet
เป็นกำรเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตผ่ำนเครือข่ำยโทรศัพท์เคลื่อนที่ หรือบรอด
แบนด์ไร้สำย (Wereless Broadband) โดยใช้งำนผ่ำนเครื่องสมำร์ทโฟน
แท็บเล็ต หรืออุปกรณ์รับสัญญำณอินเทอร์เน็ตเพื่อเชื่อมต่อกับเครื่อง
คอมพิวเตอร์ เช่น AirCard และ Mobile Wi-Fi เป็นต้น สำหรับควำมเร็วใน
กำรรับส่งข้อมูลนั้นมีกำรพัฒนำประสิทธิภำพกันอย่ำงต่อเนื่อง จำกเดิมใน
ยุค 2G ได้พัฒนำขึ้นเรื่อยๆ จนเป็น 2.5G, 3G, 4G และ 5G
การทางานของคอมพิวเตอร์ในเครือข่าย
แต่ละเครื่องในเครือข่ำยจะยอมให้เครื่องอื่นๆ ในระบบเข้ำมำใช้
ข้อมูลหรืออุปกรณ์ของตนได้โดยเสมอภำคกัน (ทุกเครื่องมี
ศักดิ์เท่ำกัน)
แบบเสมอภาคPeer-to-Peer
การทางานของคอมพิวเตอร์ในเครือข่าย
Server Based หรือ Dedicated Server มีกำร
กำหนดให้บำงเครื่องเป็นแม่ข่ำยเรียกว่ำ เซิร์ฟเวอร์
(Server) ทำหน้ำที่เป็นผู้ให้บริกำรแก่เครื่องลูกข่ำย
อื่นๆ ที่เรียกว่ำ ไคลเอนต์ (Client) เวิร์กสเตชั่น
(Workstation) สถำนีงำนที่เป็นลูกข่ำยซึ่งเรียกใช้และ
คอยรับบริกำรจำกเครื่องเซิร์ฟเวอร์
แบบมีเครื่องแม่ข่ายServer Based
การทางานของคอมพิวเตอร์ในเครือข่าย
Server Based Peer-to-Peer
ข้อดี  เร็ว
 มีขีดควำมสำมำรถสูง มีฟังก์ชั่นให้ใช้มำก
 มีมำตรฐำนที่ยอมรับกันทั่วไป
 ใช้กับเครื่องข่ำยขนำดใหญ่ได้
 ระบบควำมปลอดภัยดี
 รำคำถูก
 ติดตั้งง่ำย ใช้งำนง่ำย
 ไม่จำเป็นต้องจัดหำเครื่องไปทำเป็นเซิร์ฟเวอร์โดยเฉพำะ
ข้อเสีย  รำคำสูง
 ติดตั้งยุ่งยำกกว่ำ
 ต้องมีผู้ดูแลระบบ (System Administrator
 ควำมเร็วในกำรให้บริกำรไม่สูงเท่ำแบบ Server Based
 ขยำยระบบได้จำกัด ไม่เหมำะกับเครือข่ำยขนำดใหญ่
 ระบบควำมปลอดภัยไม่เข้มงวดมำกนัก
ข้อดี-ข้อเสียPros and Cons
การทางานของคอมพิวเตอร์ในเครือข่าย
สำหรับเครื่องเซิร์ฟเวอร์ที่อยู่ในระบบ LAN นั้นอำจทำได้หลำยลักษณะ แล้วแต่ควำมเหมำะสมในกำรใช้งำนดังตัวอย่ำงต่อไปนี้
File Server
เครื่อง Server เป็นผู้จัดกำรระบบไฟล์ โดยจะรับคำสั่งมำจำก Client ว่ำจะให้อ่ำน/
บันทึกข้อมูลกับไฟล์ใด แล้วจึงจัดกำรกับไฟล์ในอุปกรณ์จัดเก็บข้อมูล ตำมคำขอของ
เครื่องลูกข่ำย แต่ถ้ำในเวลำเดียวกันมีผู้ใช้หลำยคนจะแก้ไขข้อมูลชุดเดียวกัน
ระบบปฏิบัติกำรของไฟล์เซิร์ฟเวอร์จะป้องกันข้อมูลไม่ให้ถูกแก้ไขโดยผู้ใช้หลำยคน
พร้อมๆ กันด้วยกำร Lock คือขณะที่คนหนึ่งกำลังแก้ไขข้อมูลตัวหนึ่งอยู่ จะต้อง Lock
ข้อมูลนั้นไม่ให้คนอื่นเข้ำยุ่ง (อำจเรียกดูได้แต่แก้ไขไม่ได้) จนกว่ำจะทำงำนเสร็จ คน
อื่นๆ ที่ต้องกำรเข้ำมำแก้ไขข้อมูลต้องคอยจนกว่ำคนแรกจะยกเลิกกำร Lock ก่อน
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์

More Related Content

What's hot

สื่อการสอน คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
สื่อการสอน คอมพิวเตอร์เบื้องต้นสื่อการสอน คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
สื่อการสอน คอมพิวเตอร์เบื้องต้นNoppakhun Suebloei
 
6 ขั้นตอนอัดคลิปวิดีโอหน้าจอสอนออนไลน์ง่ายๆ ด้วย PowerPoint
6 ขั้นตอนอัดคลิปวิดีโอหน้าจอสอนออนไลน์ง่ายๆ ด้วย PowerPoint6 ขั้นตอนอัดคลิปวิดีโอหน้าจอสอนออนไลน์ง่ายๆ ด้วย PowerPoint
6 ขั้นตอนอัดคลิปวิดีโอหน้าจอสอนออนไลน์ง่ายๆ ด้วย PowerPoint
Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
ปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับคอมพิวเตอร์ (Human Computer Interaction)
ปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับคอมพิวเตอร์ (Human Computer Interaction)ปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับคอมพิวเตอร์ (Human Computer Interaction)
ปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับคอมพิวเตอร์ (Human Computer Interaction)
Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
ข้อมูลและการจัดการข้อมูล
ข้อมูลและการจัดการข้อมูลข้อมูลและการจัดการข้อมูล
ข้อมูลและการจัดการข้อมูล
Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
Week 3 องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
Week 3 องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์Week 3 องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
Week 3 องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
เสียงสำหรับมัลติมีเดีย (Sound for Multimedia)
เสียงสำหรับมัลติมีเดีย (Sound for Multimedia)เสียงสำหรับมัลติมีเดีย (Sound for Multimedia)
เสียงสำหรับมัลติมีเดีย (Sound for Multimedia)
Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5
ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5
ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5
ณัฐพล บัวพันธ์
 
เทคนิคการสร้างสื่อเพื่อการปฏิบัติงานในยุคดิจิทัล (Creating Techniques Media f...
เทคนิคการสร้างสื่อเพื่อการปฏิบัติงานในยุคดิจิทัล (Creating Techniques Media f...เทคนิคการสร้างสื่อเพื่อการปฏิบัติงานในยุคดิจิทัล (Creating Techniques Media f...
เทคนิคการสร้างสื่อเพื่อการปฏิบัติงานในยุคดิจิทัล (Creating Techniques Media f...
Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
อินเทอร์เน็ตและบริการออนไลน์
อินเทอร์เน็ตและบริการออนไลน์อินเทอร์เน็ตและบริการออนไลน์
อินเทอร์เน็ตและบริการออนไลน์
Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
การสื่อสารและระบบเครือข่าย
การสื่อสารและระบบเครือข่ายการสื่อสารและระบบเครือข่าย
การสื่อสารและระบบเครือข่าย
พัน พัน
 
หน่วย2 ความน่าเชื่อถือของข้อมูล
หน่วย2 ความน่าเชื่อถือของข้อมูลหน่วย2 ความน่าเชื่อถือของข้อมูล
หน่วย2 ความน่าเชื่อถือของข้อมูล
ให้รัก นำทาง
 
การสื่อสารและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
การสื่อสารและเครือข่ายคอมพิวเตอร์การสื่อสารและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
การสื่อสารและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ดุลยวัต วิไลพันธุ์
 
คู่มือ Thunkable
คู่มือ Thunkableคู่มือ Thunkable
คู่มือ Thunkable
Khunakon Thanatee
 
สื่อดั้งเดิม สื่อใหม่ ความแตกต่างระหว่างสื่อดั้งเดิมและสื่อใหม่
สื่อดั้งเดิม สื่อใหม่ ความแตกต่างระหว่างสื่อดั้งเดิมและสื่อใหม่สื่อดั้งเดิม สื่อใหม่ ความแตกต่างระหว่างสื่อดั้งเดิมและสื่อใหม่
สื่อดั้งเดิม สื่อใหม่ ความแตกต่างระหว่างสื่อดั้งเดิมและสื่อใหม่
Watermalon Singha
 
ถอดความบทประพันธ์เรื่อง โคลงสุภาษิตนฤทุมนาการ
ถอดความบทประพันธ์เรื่อง โคลงสุภาษิตนฤทุมนาการถอดความบทประพันธ์เรื่อง โคลงสุภาษิตนฤทุมนาการ
ถอดความบทประพันธ์เรื่อง โคลงสุภาษิตนฤทุมนาการsupaporn2516mw
 
ความรู้คอมพิวเตอร์พื้นฐาน (Computing Fundamental)
ความรู้คอมพิวเตอร์พื้นฐาน (Computing Fundamental)ความรู้คอมพิวเตอร์พื้นฐาน (Computing Fundamental)
ความรู้คอมพิวเตอร์พื้นฐาน (Computing Fundamental)
Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
ข่าวปลอม (Fake News) - Check ก่อน Share Part 3 สร้างทักษะในการคิด วิเคราะห์ แ...
ข่าวปลอม (Fake News) - Check ก่อน Share Part 3 สร้างทักษะในการคิด วิเคราะห์ แ...ข่าวปลอม (Fake News) - Check ก่อน Share Part 3 สร้างทักษะในการคิด วิเคราะห์ แ...
ข่าวปลอม (Fake News) - Check ก่อน Share Part 3 สร้างทักษะในการคิด วิเคราะห์ แ...
Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
หน่วยที่ 8 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 8 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์หน่วยที่ 8 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 8 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
jzturbo
 
บทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะ
บทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะบทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะ
บทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะKittichai Pinlert
 

What's hot (20)

สื่อการสอน คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
สื่อการสอน คอมพิวเตอร์เบื้องต้นสื่อการสอน คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
สื่อการสอน คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
6 ขั้นตอนอัดคลิปวิดีโอหน้าจอสอนออนไลน์ง่ายๆ ด้วย PowerPoint
6 ขั้นตอนอัดคลิปวิดีโอหน้าจอสอนออนไลน์ง่ายๆ ด้วย PowerPoint6 ขั้นตอนอัดคลิปวิดีโอหน้าจอสอนออนไลน์ง่ายๆ ด้วย PowerPoint
6 ขั้นตอนอัดคลิปวิดีโอหน้าจอสอนออนไลน์ง่ายๆ ด้วย PowerPoint
 
ปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับคอมพิวเตอร์ (Human Computer Interaction)
ปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับคอมพิวเตอร์ (Human Computer Interaction)ปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับคอมพิวเตอร์ (Human Computer Interaction)
ปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับคอมพิวเตอร์ (Human Computer Interaction)
 
ข้อมูลและการจัดการข้อมูล
ข้อมูลและการจัดการข้อมูลข้อมูลและการจัดการข้อมูล
ข้อมูลและการจัดการข้อมูล
 
Week 3 องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
Week 3 องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์Week 3 องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
Week 3 องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
 
เสียงสำหรับมัลติมีเดีย (Sound for Multimedia)
เสียงสำหรับมัลติมีเดีย (Sound for Multimedia)เสียงสำหรับมัลติมีเดีย (Sound for Multimedia)
เสียงสำหรับมัลติมีเดีย (Sound for Multimedia)
 
ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5
ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5
ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5
 
เทคนิคการสร้างสื่อเพื่อการปฏิบัติงานในยุคดิจิทัล (Creating Techniques Media f...
เทคนิคการสร้างสื่อเพื่อการปฏิบัติงานในยุคดิจิทัล (Creating Techniques Media f...เทคนิคการสร้างสื่อเพื่อการปฏิบัติงานในยุคดิจิทัล (Creating Techniques Media f...
เทคนิคการสร้างสื่อเพื่อการปฏิบัติงานในยุคดิจิทัล (Creating Techniques Media f...
 
อินเทอร์เน็ตและบริการออนไลน์
อินเทอร์เน็ตและบริการออนไลน์อินเทอร์เน็ตและบริการออนไลน์
อินเทอร์เน็ตและบริการออนไลน์
 
การสื่อสารและระบบเครือข่าย
การสื่อสารและระบบเครือข่ายการสื่อสารและระบบเครือข่าย
การสื่อสารและระบบเครือข่าย
 
หน่วย2 ความน่าเชื่อถือของข้อมูล
หน่วย2 ความน่าเชื่อถือของข้อมูลหน่วย2 ความน่าเชื่อถือของข้อมูล
หน่วย2 ความน่าเชื่อถือของข้อมูล
 
การสื่อสารและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
การสื่อสารและเครือข่ายคอมพิวเตอร์การสื่อสารและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
การสื่อสารและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
รายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
รายงานโครงงานคอมพิวเตอร์รายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
รายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
 
คู่มือ Thunkable
คู่มือ Thunkableคู่มือ Thunkable
คู่มือ Thunkable
 
สื่อดั้งเดิม สื่อใหม่ ความแตกต่างระหว่างสื่อดั้งเดิมและสื่อใหม่
สื่อดั้งเดิม สื่อใหม่ ความแตกต่างระหว่างสื่อดั้งเดิมและสื่อใหม่สื่อดั้งเดิม สื่อใหม่ ความแตกต่างระหว่างสื่อดั้งเดิมและสื่อใหม่
สื่อดั้งเดิม สื่อใหม่ ความแตกต่างระหว่างสื่อดั้งเดิมและสื่อใหม่
 
ถอดความบทประพันธ์เรื่อง โคลงสุภาษิตนฤทุมนาการ
ถอดความบทประพันธ์เรื่อง โคลงสุภาษิตนฤทุมนาการถอดความบทประพันธ์เรื่อง โคลงสุภาษิตนฤทุมนาการ
ถอดความบทประพันธ์เรื่อง โคลงสุภาษิตนฤทุมนาการ
 
ความรู้คอมพิวเตอร์พื้นฐาน (Computing Fundamental)
ความรู้คอมพิวเตอร์พื้นฐาน (Computing Fundamental)ความรู้คอมพิวเตอร์พื้นฐาน (Computing Fundamental)
ความรู้คอมพิวเตอร์พื้นฐาน (Computing Fundamental)
 
ข่าวปลอม (Fake News) - Check ก่อน Share Part 3 สร้างทักษะในการคิด วิเคราะห์ แ...
ข่าวปลอม (Fake News) - Check ก่อน Share Part 3 สร้างทักษะในการคิด วิเคราะห์ แ...ข่าวปลอม (Fake News) - Check ก่อน Share Part 3 สร้างทักษะในการคิด วิเคราะห์ แ...
ข่าวปลอม (Fake News) - Check ก่อน Share Part 3 สร้างทักษะในการคิด วิเคราะห์ แ...
 
หน่วยที่ 8 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 8 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์หน่วยที่ 8 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 8 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
บทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะ
บทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะบทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะ
บทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะ
 

Similar to ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์

2.2 เครือข่ายคอมพิวเตอร์
2.2 เครือข่ายคอมพิวเตอร์2.2 เครือข่ายคอมพิวเตอร์
2.2 เครือข่ายคอมพิวเตอร์Meaw Sukee
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 28
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 28เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 28
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 28sawalee kongyuen
 
ระบบเครือข่ายคอมผิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมผิวเตอร์ระบบเครือข่ายคอมผิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมผิวเตอร์nuchanad
 
%B7อข่ายคอมพิวเตอร์77
%B7อข่ายคอมพิวเตอร์77%B7อข่ายคอมพิวเตอร์77
%B7อข่ายคอมพิวเตอร์77
Tophit Sampootong
 
%B7อข่ายคอมพิวเตอร์77
%B7อข่ายคอมพิวเตอร์77%B7อข่ายคอมพิวเตอร์77
%B7อข่ายคอมพิวเตอร์77
Tophit Sampootong
 
Internet1
Internet1Internet1
Internet1mod2may
 
ใบความรุ้ 2 เรื่อง เครือข่ายคอมพิวเตอร์
ใบความรุ้ 2 เรื่อง เครือข่ายคอมพิวเตอร์ใบความรุ้ 2 เรื่อง เครือข่ายคอมพิวเตอร์
ใบความรุ้ 2 เรื่อง เครือข่ายคอมพิวเตอร์jansaowapa
 
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
Krittalak Chawat
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์Buzzer'Clup Her-Alone
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์Buzzer'Clup Her-Alone
 
ใบความรู้ที่ 3
ใบความรู้ที่ 3ใบความรู้ที่ 3
ใบความรู้ที่ 3Nattapon
 

Similar to ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ (20)

2.2 เครือข่ายคอมพิวเตอร์
2.2 เครือข่ายคอมพิวเตอร์2.2 เครือข่ายคอมพิวเตอร์
2.2 เครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
Computer network
Computer networkComputer network
Computer network
 
Datacom
DatacomDatacom
Datacom
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 28
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 28เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 28
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 28
 
ระบบเครือข่ายคอมผิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมผิวเตอร์ระบบเครือข่ายคอมผิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมผิวเตอร์
 
Network
NetworkNetwork
Network
 
Network
NetworkNetwork
Network
 
405609008 2
405609008 2405609008 2
405609008 2
 
%B7อข่ายคอมพิวเตอร์77
%B7อข่ายคอมพิวเตอร์77%B7อข่ายคอมพิวเตอร์77
%B7อข่ายคอมพิวเตอร์77
 
%B7อข่ายคอมพิวเตอร์77
%B7อข่ายคอมพิวเตอร์77%B7อข่ายคอมพิวเตอร์77
%B7อข่ายคอมพิวเตอร์77
 
Internet1
Internet1Internet1
Internet1
 
ใบความรุ้ 2 เรื่อง เครือข่ายคอมพิวเตอร์
ใบความรุ้ 2 เรื่อง เครือข่ายคอมพิวเตอร์ใบความรุ้ 2 เรื่อง เครือข่ายคอมพิวเตอร์
ใบความรุ้ 2 เรื่อง เครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
รายงาน 1
รายงาน  1 รายงาน  1
รายงาน 1
 
รายงาน1233
รายงาน1233รายงาน1233
รายงาน1233
 
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
Week 2
Week 2Week 2
Week 2
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
ใบความรู้ที่ 3
ใบความรู้ที่ 3ใบความรู้ที่ 3
ใบความรู้ที่ 3
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
 

More from Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai

การสื่อสารภายในองค์กรอย่างมีประสิทธิภาพ (Communication Effectively in an Orga...
การสื่อสารภายในองค์กรอย่างมีประสิทธิภาพ (Communication Effectively in an Orga...การสื่อสารภายในองค์กรอย่างมีประสิทธิภาพ (Communication Effectively in an Orga...
การสื่อสารภายในองค์กรอย่างมีประสิทธิภาพ (Communication Effectively in an Orga...
Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
ทักษะดิจิทัลสำหรับการปฏิบัติงานในยุคดิจิทัล (Digital Skills for Working in Th...
ทักษะดิจิทัลสำหรับการปฏิบัติงานในยุคดิจิทัล (Digital Skills for Working in Th...ทักษะดิจิทัลสำหรับการปฏิบัติงานในยุคดิจิทัล (Digital Skills for Working in Th...
ทักษะดิจิทัลสำหรับการปฏิบัติงานในยุคดิจิทัล (Digital Skills for Working in Th...
Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
เทคโนโลยีเสมือนจริงและจักรวาลนฤมิตสำหรับการท่องเที่ยว โรงแรม และอีเวนต์
เทคโนโลยีเสมือนจริงและจักรวาลนฤมิตสำหรับการท่องเที่ยว โรงแรม และอีเวนต์เทคโนโลยีเสมือนจริงและจักรวาลนฤมิตสำหรับการท่องเที่ยว โรงแรม และอีเวนต์
เทคโนโลยีเสมือนจริงและจักรวาลนฤมิตสำหรับการท่องเที่ยว โรงแรม และอีเวนต์
Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
การทำการตลาดบนมือถือสำหรับธุรกิจจัดจำหน่ายสินค้า (Mobile Marketing for Produc...
การทำการตลาดบนมือถือสำหรับธุรกิจจัดจำหน่ายสินค้า (Mobile Marketing for Produc...การทำการตลาดบนมือถือสำหรับธุรกิจจัดจำหน่ายสินค้า (Mobile Marketing for Produc...
การทำการตลาดบนมือถือสำหรับธุรกิจจัดจำหน่ายสินค้า (Mobile Marketing for Produc...
Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
การทำการตลาดบนมือถือสำหรับธุรกิจบริการ (Mobile Marketing for Service Business)
การทำการตลาดบนมือถือสำหรับธุรกิจบริการ (Mobile Marketing for Service Business)การทำการตลาดบนมือถือสำหรับธุรกิจบริการ (Mobile Marketing for Service Business)
การทำการตลาดบนมือถือสำหรับธุรกิจบริการ (Mobile Marketing for Service Business)
Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
การตลาดผ่านเครื่องมือค้นหา (Search Engine Marketing)
การตลาดผ่านเครื่องมือค้นหา (Search Engine Marketing)การตลาดผ่านเครื่องมือค้นหา (Search Engine Marketing)
การตลาดผ่านเครื่องมือค้นหา (Search Engine Marketing)
Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
AR / VR / MR / XR มุ่งสู่อนาคตการท่องเที่ยวที่เหนือจริง
AR / VR / MR / XR มุ่งสู่อนาคตการท่องเที่ยวที่เหนือจริงAR / VR / MR / XR มุ่งสู่อนาคตการท่องเที่ยวที่เหนือจริง
AR / VR / MR / XR มุ่งสู่อนาคตการท่องเที่ยวที่เหนือจริง
Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
สีกับการออกแบบส่วนประสานงานกับผู้ใช้ (Color with User Interface Design)
สีกับการออกแบบส่วนประสานงานกับผู้ใช้ (Color with User Interface Design)สีกับการออกแบบส่วนประสานงานกับผู้ใช้ (Color with User Interface Design)
สีกับการออกแบบส่วนประสานงานกับผู้ใช้ (Color with User Interface Design)
Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
การออกแบบกราฟิกส่วนประสานงานกับผู้ใช้ (Graphical User Interface)
การออกแบบกราฟิกส่วนประสานงานกับผู้ใช้ (Graphical User Interface)การออกแบบกราฟิกส่วนประสานงานกับผู้ใช้ (Graphical User Interface)
การออกแบบกราฟิกส่วนประสานงานกับผู้ใช้ (Graphical User Interface)
Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
การจัดวางตัวอักษร (Typography)
การจัดวางตัวอักษร (Typography)การจัดวางตัวอักษร (Typography)
การจัดวางตัวอักษร (Typography)
Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
เทคนิคการจัดการเรียนรู้ด้วยเกมมิฟิเคชั่น (Gamification)
เทคนิคการจัดการเรียนรู้ด้วยเกมมิฟิเคชั่น (Gamification)เทคนิคการจัดการเรียนรู้ด้วยเกมมิฟิเคชั่น (Gamification)
เทคนิคการจัดการเรียนรู้ด้วยเกมมิฟิเคชั่น (Gamification)
Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
เทคนิคการสร้างสื่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล (Learning Media Technique in Digita...
เทคนิคการสร้างสื่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล (Learning Media Technique in Digita...เทคนิคการสร้างสื่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล (Learning Media Technique in Digita...
เทคนิคการสร้างสื่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล (Learning Media Technique in Digita...
Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
การสร้างสื่อภาพกราฟิกเคลื่อนไหว (Motion Graphic)
การสร้างสื่อภาพกราฟิกเคลื่อนไหว  (Motion Graphic)การสร้างสื่อภาพกราฟิกเคลื่อนไหว  (Motion Graphic)
การสร้างสื่อภาพกราฟิกเคลื่อนไหว (Motion Graphic)
Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
เสียงสำหรับงานมัลติมีเดีย (Sound for Multimedia)
เสียงสำหรับงานมัลติมีเดีย (Sound for Multimedia)เสียงสำหรับงานมัลติมีเดีย (Sound for Multimedia)
เสียงสำหรับงานมัลติมีเดีย (Sound for Multimedia)
Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
การตลาดไมซ์ที่รู้ใจและเข้าถึงการตลาดดิจิทัล (MICE Digital Marketing)
การตลาดไมซ์ที่รู้ใจและเข้าถึงการตลาดดิจิทัล (MICE Digital Marketing)การตลาดไมซ์ที่รู้ใจและเข้าถึงการตลาดดิจิทัล (MICE Digital Marketing)
การตลาดไมซ์ที่รู้ใจและเข้าถึงการตลาดดิจิทัล (MICE Digital Marketing)
Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
เทคโนโลยีเสมือนจริงและจักรวาลนฤมิตสำหรับงานไมซ์ (Virtual Reality and Metavers...
เทคโนโลยีเสมือนจริงและจักรวาลนฤมิตสำหรับงานไมซ์ (Virtual Reality and Metavers...เทคโนโลยีเสมือนจริงและจักรวาลนฤมิตสำหรับงานไมซ์ (Virtual Reality and Metavers...
เทคโนโลยีเสมือนจริงและจักรวาลนฤมิตสำหรับงานไมซ์ (Virtual Reality and Metavers...
Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
อัตลักษณ์องค์กร (Corporate Identity: C.I.)
อัตลักษณ์องค์กร (Corporate Identity: C.I.)อัตลักษณ์องค์กร (Corporate Identity: C.I.)
อัตลักษณ์องค์กร (Corporate Identity: C.I.)
Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
AR VR Metaverse ทางการแพทย์และพยาบาล
AR VR Metaverse ทางการแพทย์และพยาบาลAR VR Metaverse ทางการแพทย์และพยาบาล
AR VR Metaverse ทางการแพทย์และพยาบาล
Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
สร้างสื่อ Augmented Reality ง่ายๆ ด้วย Vidinoti
สร้างสื่อ Augmented Reality ง่ายๆ ด้วย Vidinotiสร้างสื่อ Augmented Reality ง่ายๆ ด้วย Vidinoti
สร้างสื่อ Augmented Reality ง่ายๆ ด้วย Vidinoti
Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
การเล่าเรื่องสินค้าผ่านภาพถ่าย (Digital Storytelling in Photography)
การเล่าเรื่องสินค้าผ่านภาพถ่าย (Digital Storytelling in Photography)การเล่าเรื่องสินค้าผ่านภาพถ่าย (Digital Storytelling in Photography)
การเล่าเรื่องสินค้าผ่านภาพถ่าย (Digital Storytelling in Photography)
Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 

More from Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai (20)

การสื่อสารภายในองค์กรอย่างมีประสิทธิภาพ (Communication Effectively in an Orga...
การสื่อสารภายในองค์กรอย่างมีประสิทธิภาพ (Communication Effectively in an Orga...การสื่อสารภายในองค์กรอย่างมีประสิทธิภาพ (Communication Effectively in an Orga...
การสื่อสารภายในองค์กรอย่างมีประสิทธิภาพ (Communication Effectively in an Orga...
 
ทักษะดิจิทัลสำหรับการปฏิบัติงานในยุคดิจิทัล (Digital Skills for Working in Th...
ทักษะดิจิทัลสำหรับการปฏิบัติงานในยุคดิจิทัล (Digital Skills for Working in Th...ทักษะดิจิทัลสำหรับการปฏิบัติงานในยุคดิจิทัล (Digital Skills for Working in Th...
ทักษะดิจิทัลสำหรับการปฏิบัติงานในยุคดิจิทัล (Digital Skills for Working in Th...
 
เทคโนโลยีเสมือนจริงและจักรวาลนฤมิตสำหรับการท่องเที่ยว โรงแรม และอีเวนต์
เทคโนโลยีเสมือนจริงและจักรวาลนฤมิตสำหรับการท่องเที่ยว โรงแรม และอีเวนต์เทคโนโลยีเสมือนจริงและจักรวาลนฤมิตสำหรับการท่องเที่ยว โรงแรม และอีเวนต์
เทคโนโลยีเสมือนจริงและจักรวาลนฤมิตสำหรับการท่องเที่ยว โรงแรม และอีเวนต์
 
การทำการตลาดบนมือถือสำหรับธุรกิจจัดจำหน่ายสินค้า (Mobile Marketing for Produc...
การทำการตลาดบนมือถือสำหรับธุรกิจจัดจำหน่ายสินค้า (Mobile Marketing for Produc...การทำการตลาดบนมือถือสำหรับธุรกิจจัดจำหน่ายสินค้า (Mobile Marketing for Produc...
การทำการตลาดบนมือถือสำหรับธุรกิจจัดจำหน่ายสินค้า (Mobile Marketing for Produc...
 
การทำการตลาดบนมือถือสำหรับธุรกิจบริการ (Mobile Marketing for Service Business)
การทำการตลาดบนมือถือสำหรับธุรกิจบริการ (Mobile Marketing for Service Business)การทำการตลาดบนมือถือสำหรับธุรกิจบริการ (Mobile Marketing for Service Business)
การทำการตลาดบนมือถือสำหรับธุรกิจบริการ (Mobile Marketing for Service Business)
 
การตลาดผ่านเครื่องมือค้นหา (Search Engine Marketing)
การตลาดผ่านเครื่องมือค้นหา (Search Engine Marketing)การตลาดผ่านเครื่องมือค้นหา (Search Engine Marketing)
การตลาดผ่านเครื่องมือค้นหา (Search Engine Marketing)
 
AR / VR / MR / XR มุ่งสู่อนาคตการท่องเที่ยวที่เหนือจริง
AR / VR / MR / XR มุ่งสู่อนาคตการท่องเที่ยวที่เหนือจริงAR / VR / MR / XR มุ่งสู่อนาคตการท่องเที่ยวที่เหนือจริง
AR / VR / MR / XR มุ่งสู่อนาคตการท่องเที่ยวที่เหนือจริง
 
สีกับการออกแบบส่วนประสานงานกับผู้ใช้ (Color with User Interface Design)
สีกับการออกแบบส่วนประสานงานกับผู้ใช้ (Color with User Interface Design)สีกับการออกแบบส่วนประสานงานกับผู้ใช้ (Color with User Interface Design)
สีกับการออกแบบส่วนประสานงานกับผู้ใช้ (Color with User Interface Design)
 
การออกแบบกราฟิกส่วนประสานงานกับผู้ใช้ (Graphical User Interface)
การออกแบบกราฟิกส่วนประสานงานกับผู้ใช้ (Graphical User Interface)การออกแบบกราฟิกส่วนประสานงานกับผู้ใช้ (Graphical User Interface)
การออกแบบกราฟิกส่วนประสานงานกับผู้ใช้ (Graphical User Interface)
 
การจัดวางตัวอักษร (Typography)
การจัดวางตัวอักษร (Typography)การจัดวางตัวอักษร (Typography)
การจัดวางตัวอักษร (Typography)
 
เทคนิคการจัดการเรียนรู้ด้วยเกมมิฟิเคชั่น (Gamification)
เทคนิคการจัดการเรียนรู้ด้วยเกมมิฟิเคชั่น (Gamification)เทคนิคการจัดการเรียนรู้ด้วยเกมมิฟิเคชั่น (Gamification)
เทคนิคการจัดการเรียนรู้ด้วยเกมมิฟิเคชั่น (Gamification)
 
เทคนิคการสร้างสื่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล (Learning Media Technique in Digita...
เทคนิคการสร้างสื่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล (Learning Media Technique in Digita...เทคนิคการสร้างสื่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล (Learning Media Technique in Digita...
เทคนิคการสร้างสื่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล (Learning Media Technique in Digita...
 
การสร้างสื่อภาพกราฟิกเคลื่อนไหว (Motion Graphic)
การสร้างสื่อภาพกราฟิกเคลื่อนไหว  (Motion Graphic)การสร้างสื่อภาพกราฟิกเคลื่อนไหว  (Motion Graphic)
การสร้างสื่อภาพกราฟิกเคลื่อนไหว (Motion Graphic)
 
เสียงสำหรับงานมัลติมีเดีย (Sound for Multimedia)
เสียงสำหรับงานมัลติมีเดีย (Sound for Multimedia)เสียงสำหรับงานมัลติมีเดีย (Sound for Multimedia)
เสียงสำหรับงานมัลติมีเดีย (Sound for Multimedia)
 
การตลาดไมซ์ที่รู้ใจและเข้าถึงการตลาดดิจิทัล (MICE Digital Marketing)
การตลาดไมซ์ที่รู้ใจและเข้าถึงการตลาดดิจิทัล (MICE Digital Marketing)การตลาดไมซ์ที่รู้ใจและเข้าถึงการตลาดดิจิทัล (MICE Digital Marketing)
การตลาดไมซ์ที่รู้ใจและเข้าถึงการตลาดดิจิทัล (MICE Digital Marketing)
 
เทคโนโลยีเสมือนจริงและจักรวาลนฤมิตสำหรับงานไมซ์ (Virtual Reality and Metavers...
เทคโนโลยีเสมือนจริงและจักรวาลนฤมิตสำหรับงานไมซ์ (Virtual Reality and Metavers...เทคโนโลยีเสมือนจริงและจักรวาลนฤมิตสำหรับงานไมซ์ (Virtual Reality and Metavers...
เทคโนโลยีเสมือนจริงและจักรวาลนฤมิตสำหรับงานไมซ์ (Virtual Reality and Metavers...
 
อัตลักษณ์องค์กร (Corporate Identity: C.I.)
อัตลักษณ์องค์กร (Corporate Identity: C.I.)อัตลักษณ์องค์กร (Corporate Identity: C.I.)
อัตลักษณ์องค์กร (Corporate Identity: C.I.)
 
AR VR Metaverse ทางการแพทย์และพยาบาล
AR VR Metaverse ทางการแพทย์และพยาบาลAR VR Metaverse ทางการแพทย์และพยาบาล
AR VR Metaverse ทางการแพทย์และพยาบาล
 
สร้างสื่อ Augmented Reality ง่ายๆ ด้วย Vidinoti
สร้างสื่อ Augmented Reality ง่ายๆ ด้วย Vidinotiสร้างสื่อ Augmented Reality ง่ายๆ ด้วย Vidinoti
สร้างสื่อ Augmented Reality ง่ายๆ ด้วย Vidinoti
 
การเล่าเรื่องสินค้าผ่านภาพถ่าย (Digital Storytelling in Photography)
การเล่าเรื่องสินค้าผ่านภาพถ่าย (Digital Storytelling in Photography)การเล่าเรื่องสินค้าผ่านภาพถ่าย (Digital Storytelling in Photography)
การเล่าเรื่องสินค้าผ่านภาพถ่าย (Digital Storytelling in Photography)
 

ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์

  • 1. 08-888-206 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อสื่อสารมวลชน Information Technology for Mass Communication ผู้สอน อ.กฤษณพงศ์ เลิศบำรุงชัย อ.ธนะภูมิ สงค์ธนำพิทักษ์ สำขำเทคโนโลยีมัลติมีเดีย คณะเทคโนโลยีสื่อสำรมวลชน มหำวิทยำลัยเทคโนโลยีรำชมงคลธัญบุรี
  • 2. บทที่ 7 ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ผู้สอน อ.กฤษณพงศ์ เลิศบำรุงชัย อ.ธนะภูมิ สงค์ธนำพิทักษ์ สำขำเทคโนโลยีมัลติมีเดีย คณะเทคโนโลยีสื่อสำรมวลชน มหำวิทยำลัยเทคโนโลยีรำชมงคลธัญบุรี
  • 3. วัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม 1. บอกวัตถุประสงค์ของกำรใช้งำนเครือข่ำยคอมพิวเตอร์ได้ 2. บอกข้อจำกัดของระบบเครือข่ำยได้ 3. อธิบำยเกี่ยวกับองค์ประกอบของระบบเครือข่ำยได้ 4. บอกลักษณะตัวกลำงนำข้อมูลแบบต่ำงๆ ได้ 5. อธิบำยมำตรฐำนต่ำงๆ ของระบบ LAN ได้ 6. อธิบำยลักษณะกำรทำงำนของเครือข่ำยแบบไร้สำยได้ 7. อธิบำยลักษณะกำรทำงำนของคอมพิวเตอร์ในเครือข่ำยได้
  • 4. ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ (Computer Network) ระบบเครือข่ำยคอมพิวเตอร์ คือ กำรนำเอำคอมพิวเตอร์ หลำยๆ เครื่องมำเชื่อมต่อเข้ำไว้ด้วยกัน เพื่อสำมำรถ แลกเปลี่ยนข้อมูลข่ำวสำร รวมถึงใช้ทรัพยำกรบำงอย่ำง ของระบบร่วมกันได้
  • 5. ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ (Computer Network) เพื่อใช้อุปกรณ์ต่ำงๆ เช่น เครื่องพิมพ์ พื้นที่ในดิสก์ ฯลฯ ร่วมกัน ประหยัดกว่ำกำรมีอุปกรณ์หลำยๆ ชุด สำหรับแต่ละเครื่อง เช่น ลงทุนซื้อพรินเตอร์ควำมเร็ว สูงหรือคุณภำพสูงเครื่องเดียวมำใช้ร่วมกัน ดีกว่ำ ติดตั้งเครื่องพรินเตอร์ขนำดเล็กๆ ที่พิมพ์ช้ำให้กับ คอมพิวเตอร์ทั้ง 20 เครื่องในแผนกหนึ่ง เป็นต้น วัตถุประสงค์ของการใช้เครือข่ายObjective ใช้ทรัพยากรร่วมกัน
  • 6. ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ (Computer Network) ใช้ในกรณีที่ต้องกำรให้เรียกใช้ข้อมูลชุดเดียวกันได้จำกหลำยๆ เครื่อง เช่น ข้อมูลกลำง ซึ่งมีเพียงชุดเดียวและเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลำ ต้องอ่ำนหรือแก้ไขกับข้อมูลกลำงนี้อยู่ เสมอ จึงไม่สำมำรถทำสำเนำไปใช้เป็นของฝ่ำยใดๆ ได้ เช่น ยอดเงินในบัญชีธนำคำร (ซึ่งอำจมีกำรฝำกหรือถอนเมื่อไรก็ได้) เลขที่ตั๋วหนังหรือที่นั่งในเครื่องบิน จะต้องกันที่ นั้นเอำไว้เลย ไม่สำมำรถขำยให้กับลูกค้ำรำยอื่นอีก ลักษณะเช่นนี้เรียกว่ำเป็นกำรรักษำ ควำมถูกต้องตรงกันของข้อมูล (Data Integrity) วัตถุประสงค์ของการใช้เครือข่ายObjective ใช้ข้อมูลในไฟล์ร่วมกัน
  • 7. ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ (Computer Network) ทำให้สำมำรถดูแลและบริหำรระบบได้จำกที่เดียว เช่น ผู้ดูแลระบบ สำมำรถตรวจสอบสถำนกำรณ์ทำงำน ติดตั้งหรือถอดถอนโปรแกรม หรือทำสำเนำข้อมูล (Backup) และจัดกำรงำนอื่นๆ ได้จำกแหล่งเดียว เช่น จำกเครื่องใดเครื่องหนึ่งบนเครือข่ำยนั้น โดยไม่ต้องเดินไปทำงำนแต่ ละเครื่อง ซึ่งอำจจะอยู่คนละห้อง คนละชั้น หรือคนละอำคำรกันก็เป็นได้ วัตถุประสงค์ของการใช้เครือข่ายObjective ความง่ายในการดูแลระบบ
  • 8. ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ (Computer Network) อ่ำนว่ำ “แลน” ซึ่งเป็นกำรเชื่อมต่อเครื่องคอมพิวเตอร์เข้ำด้วยกันใน ระยะจำกัด เช่น ในอำคำรเดียวกัน หรือบริเวณอำคำรใกล้เคียงที่ สำมำรถลำกสำยเชื่อมโยงถึงกันได้โดยตรง ประเภทของเครือข่ายType of Network Local Area Network (LAN)
  • 9. ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ (Computer Network) อ่ำนว่ำ “แมน” เป็นกำรรวมกลุ่มเครือข่ำย LAN เข้ำด้วยกันเป็นเครือข่ำย ขนำดกลำง ซึ่งแต่เดิมใช้เชื่อมโยงเครือข่ำยกันในระดับเขตหรือระดับเมือง นั่นเอง ปัจจุบันเทคโนโลยีที่ทันสมัยของเครือข่ำย LAN มีประสิทธิภำพสูงขึ้น จึงก้ำวข้ำมผ่ำนไปเป็นเครือข่ำยขนำดใหญ่ทำให้เครือข่ำย MAN นั้นเลือน หำยไปในที่สุด ประเภทของเครือข่ายType of Network Metropolitan Area Network (MAN)
  • 10. ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ (Computer Network) อ่ำนว่ำ “แวน” เป็นกำรเชื่อมต่อ LAN ในที่ต่ำงๆ เข้ำด้วยกันผ่ำนระบบสื่อสำรอื่นๆ เช่น เครือข่ำยโทรศัพท์สำยเช่ำ (Leased Line) หรือสำยข้อมูลที่เช่ำพิเศษจำกผู้ให้บริกำรด้ำนนี้ โดยเฉพำะ จนกลำยเป็นเครือข่ำยขนำดใหญ่ข้ำมประเทศ ซึ่งรวมถึงระบบอินเทอร์เน็ตด้วย ประเภทของเครือข่ายType of Network Wide Area Network (WAN)
  • 11. ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ (Computer Network) ในกำรนำระบบเครือข่ำยมำใช้งำน ผู้วำงระบบจะต้องคิดให้รอบคอบว่ำกำรต่อเครื่องคอมพิวเตอร์เข้ำกับเครือข่ำยนั้นจะทำงำนได้ ตำมต้องกำรหรือไม่ มีข้อจำกัดอย่ำงไร และควรเลือกใช้เทคโนโลยีแบบใด (ซึ่งมีให้เลือกใช้มำกมำย) โดยผลสรุปที่ได้อำจแตกต่ำง กันไปในแต่ละงำน เช่น บำงงำนอำจเหมำะสมที่จะต่อระบบ LAN ควำมเร็วสูงบำงงำนควรต่อกับอินเทอร์เน็ต หรือบำงงำนควร ปล่อยเครื่องนั้นไว้เดี่ยวๆ อย่ำให้ต่อกับใครเลยจะดีกว่ำ (ต้องกำรควำมปลอดภัยสูง) เป็นต้น ข้อจำกัดของระบบเครือข่ำยมีหลำย อย่ำง เช่น ข้อจากัดของระบบเครือข่ายLimit of Network
  • 12. ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ (Computer Network) กำรเรียกใช้ไฟล์ข้อมูลผ่ำนระบบเครือข่ำย ไม่ว่ำจะเป็นกำรอ่ำนหรือเขียนก็ตำมมักจะช้ำ กว่ำกำรอ่ำนหรือเขียนกับฮำร์ดดิสก์โดยตรงในเครื่องของตนเอง แต่หำกระบบเครือข่ำย ที่ใช้เป็นแบบควำมเร็วสูง ก็อำจจะไม่ทันรู้สึกถึงควำมแตกต่ำงเรื่องควำมเร็วในกำรรับส่ง ข้อมูลมำกนัก ข้อจากัดของระบบเครือข่ายLimit of Network การเรียกใช้ข้อมูลทาได้ช้า
  • 13. ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ (Computer Network) ข้อมูลหรือทรัพยำกรที่แบ่งกันใช้นี้อำจไม่สำมำรถเรียกใช้ได้ทันทีทันใด เพรำะหำกมี คนอื่นใช้งำนอยู่เรำก็อำจต้องรอก่อน ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับลักษณะงำนด้วย เช่น หำกมีใคร ใช้พรินเตอร์พิมพ์งำนอยู่ งำนของเรำก็จะต้องไปเข้ำคิวรอ ยังไม่ถูกพิมพ์ออกมำ ทันที หรือในกรณีของไฟล์ข้อมูลที่มีผู้อื่นกำลังอ่ำนไฟล์นั้นอยู่ ระบบอำจยอมให้เรำ เข้ำไปแทรกอ่ำนด้วยได้ แต่หำกมีคนอื่นกำลังแก้ไขข้อมูลตรงนั้นอยู่พร้อมๆ กันเรำก็ คงต้องรอ ไม่เช่นนั้นข้อมูลที่อ่ำนมำได้ก็จะไม่ใช่ข้อมูลที่ถูกต้องล่ำสุด เป็นต้น ข้อจากัดของระบบเครือข่ายLimit of Network ข้อมูลไม่สามารถใช้ได้ทันที
  • 14. ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ (Computer Network) ระบบที่ประกอบด้วยคอมพิวเตอร์หลำยๆ เครื่องซึ่งทำงำนเป็นอิสระจำกกันอยู่คนละที่ แต่จัดให้ทำงำนร่วมกันนั้น ย่อมมีควำมสลับซับซ้อนและยำกในกำรดูแลมำกกว่ำ เครื่องคอมพิวเตอร์เครื่องเดียวที่อยู่ตรงหน้ำซึ่งเรำสำมำรถสั่งงำนได้ตำมต้องกำร รวมทั้งมีโอกำสที่จะถูกผู้อื่นแอบเข้ำมำใช้งำนหรือล้วงเอำข้อมูลลับออกไป หรือแม้แต่ โอกำสที่จะตกเป็นเหยื่อของไวรัสคอมพิวเตอร์ก็มีมำกกว่ำเครื่องที่ตั้งอยู่เฉยๆ โดยไม่ เชื่อมต่อกับใคร ข้อจากัดของระบบเครือข่ายLimit of Network ยากต่อการควบคุมและดูแล
  • 15. องค์ประกอบของเครือข่าย ระบบเครือข่ำยโดยทั่วไปจะประกอบด้วยส่วนสำคัญคือ อุปกรณ์ เครือข่ำย (Hardware) ซอฟต์แวร์สำหรับเครือข่ำย (Software) และตัวกลำงนำข้อมูล (Media) สำหรับเชื่อมต่อ คอมพิวเตอร์เข้ำเป็นเครือข่ำย โดยคอมพิวเตอร์หรืออุปกรณ์ แต่ละตัวที่อยู่ในเครือข่ำยจะเรียกกันว่ำ โหนด (Node)
  • 16. องค์ประกอบของเครือข่าย อุปกรณ์หลักที่จะทำให้คอมพิวเตอร์และทรัพยำกรต่ำงๆ สำมรำรถ เชื่อมต่อถึงกันเป็นระบบเครือข่ำยได้คือกำร์ดแลน และตัวรวมสำยหรือ ฮับ (Hub) นอกจำกนี้กำรต่อระบบเครือข่ำยนั้นอำจไม่ได้จำกัดอยู่แค่ในวง LAN ของเรำเท่ำนั้น แต่ยังสำมำรถต่อระหว่ำง LAN หลำยๆ วงของแต่ ละหน่วยงำนในองค์กรเดียวกัน ตลอดจนกำรเชื่อมต่อกับ WAN และ อินเทอร์เน็ตที่มีขนำดใหญ่อีกด้วย โดยใช้อุปกรณ์เชื่อมต่อระหว่ำง เครือข่ำย เช่น Bridge, Switch, Router และ Repeater เป็นต้น อุปกรณ์เครือข่ายNetwork Hardware
  • 17. องค์ประกอบของเครือข่าย สำหรับควำมเร็วในกำรรับสี่งข้อมูลของเครือข่ำยนั้นขึ้นอยู่กับ ควำมสำมำรถของอุปกรณ์ที่ใช้ด้วย เช่น กำร์ดแลน ฮับหรือสวิทซ์ รวมถึงลักษณะของสำยที่ใช้เชื่อมต่อ โดยทั้งหมดมีควำมเกี่ยวข้องกัน เช่น หำกนำอุปกรณ์ที่มีกำร์ดแลน 10/100/1000 Mbps ไปเชื่อมต่อกับ สวิทซ์ที่รองรับควำมเร็ว 10/100 Mbps ก็จะสำมำรถรับส่งข้อมูลได้ที่ ควำมเร็วสูงสุด 100 Mbps เท่ำนั้น แม้ว่ำกำร์ดแลนจะให้งำนได้ถึง 1000 Mbps (Megabit Per Second คือ เมกะบิต/วินำที) ก็ตำม อุปกรณ์เครือข่ายNetwork Hardware
  • 18. องค์ประกอบของเครือข่าย อุปกรณ์เครือข่ายNetwork Hardware เป็นกำร์ดสำหรับต่อเครื่องคอมพิวเตอร์เข้ำกับสำย LAN ดังนั้นจึงต้องมีช่องสำหรับเสียบสำยเคเบิลแบบใดแบบหนึ่งที่จะใช้ การ์ดแลน (NIC : Network Interface Card)
  • 19. องค์ประกอบของเครือข่าย อุปกรณ์เครือข่ายNetwork Hardware ใช้สำหรับเชื่อมโยงคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ต่ำงๆ ให้เป็นเครือข่ำยเดียวกัน มีจำนวนพอร์ตต่ำงกัน เช่น 5, 8, 10, 16, และ 24 พอร์ตหรือมำกกว่ำนั้น ซึ่งควำมเร็วในกำรรับสี่งข้อมูลจะขึ้นอยู่กับ Hub ว่ำมีแบนด์วิธ (Bandwidth) หรือรองรับควำมเร็วได้เท่ำไร เช่น 10/100/1000 Mbps ฮับ (Hub)
  • 20. องค์ประกอบของเครือข่าย อุปกรณ์เครือข่ายNetwork Hardware ทุกโหนด (Node) ที่เชื่อมต่อเข้ำกับ Hub จะส่งสัญญำณถึงกันทั้งหมด เช่น สมมติในเครือข่ำยมีอยู่ 10 โหนด หำกโหนด 3 ต้องกำรส่งข้อมูลถึงโหนด 9 หน้ำที่ของ Hub คือส่งข้อมูลไปในเครือข่ำยให้กับทุกโหนด ดังนั้นเครื่อง อื่นๆ ในเครือข่ำยก็จะได้รับข้อมูลนั้นไปด้วย แม้จะไม่ต้องกำรก็ตำม ทำให้ แบนด์วิธของระบบต้องถูกแชร์ไปทุกเครื่อง ตัวอย่ำงนี้ควำมเร็วจะต้องหำร ด้วย 10 เป็นต้น ฮับ (Hub)
  • 21. องค์ประกอบของเครือข่าย อุปกรณ์เครือข่ายNetwork Hardware ถ้ำโหนดใดหรื่อสำยของพอร์ตใดมีปัญหำก็สำมำรถดึงออกจำก Hub ได้ รวมทั้งโยกย้ำยสำย สลับเครื่องหรือเพิ่มจำนวนเครื่องได้ง่ำย เพรำะสำย ทั้งหมดจำกทุกเครื่องจะลำกมำรวมอยู่ที่เดียวกันหมด โดยเรำอำจทำเป็นตู้ หรือห้องขึ้นมำเพื่อเก็บสำยให้เรียบร้อย (Wiring Closet) ก็ได้ ฮับ (Hub)
  • 22. องค์ประกอบของเครือข่าย อุปกรณ์เครือข่ายNetwork Hardware หน้ำที่เป็น “สะพำน” เชื่อมระหว่ำง 2 เครือข่ำยเข้ำด้วยกัน โดยถ้ำข้อมูลที่ ส่งออกมำในเครือข่ำยหนึ่ง มีปลำยทำมงไปที่อีกเครือข่ำยหนึ่ง Bridge ก็จะ ส่งข้อมูลข้ำมไปให้ แต่ถ้ำข้อมูลนั้นไม่ข้ำมเครือข่ำย Bridge ก็จะรับรู้และไม่ เกี่ยวข้องด้วย Bridge เป็นอุปกรณ์เชื่อมโยงเครือข่ำยที่ใช้กันในช่วงแรกๆ ระยะหลังนิยมใช้ Switch ซึ่งมีควำมเร็วและประสิทธิภำพสูงกว่ำ บริดจ์ (Bridge)
  • 23. องค์ประกอบของเครือข่าย อุปกรณ์เครือข่ายNetwork Hardware ใช้สำหรับเชื่อมโยงคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ต่ำงๆ ให้เป็นเครือข่ำยเดียวกัน หรือ ระหว่ำงเครือข่ำยก็ได้ ทำงำนต่ำงจำก Hub คือไม่ส่งสัญญำณไปทุกพอร์ต แต่จะ ส่งไปยังพอร์ตที่เรียกใช้งำนเท่ำนั้น ไม่รบกวนกำรรับส่งข้อมูลในพอร์ตอื่นๆ ทำให้ รับส่งข้อมูลได้รวดเร็วเพรำะไม่ต้องแชร์แบนด์วิธไปทุกเครื่อง และยังมีควำม ปลอดภัยกว่ำอีกด้วย เพรำะส่งตรงถึงเครื่องที่เป็นผู้รับข้อมูลเท่ำนั้น โดยใช้ หมำยเลขประจำอุปกรณ์ (Mac Address) ซึ่งถูกกำหนดมำบนกำร์ดแลนตั้งแต่ กระบวนกำรผลิต กำร์ดแต่ละใบจึงมีเลขไม่ซ้ำกัน สวิทช์ (Switch)
  • 24. องค์ประกอบของเครือข่าย อุปกรณ์เครือข่ายNetwork Hardware เป็นอุปกรณ์ที่ทำงำนเสมือนเป็นเครื่องหรือ Node หนึ่งในเครือข่ำย ทำหน้ำที่รับ ข้อมูลเข้ำมำแล้วส่งต่อไปยังปลำยทำงคล้ำยกับ Switch หรือ Bridge แต่มี ควำมสำมำรถในกำรหำเส้นทำงที่ดีที่สุดเพื่อส่งข้อมูลต่อไปยังเครือข่ำยอื่น ซึ่งอำจ ใช้สื่อสัญญำณหลำยแลบแตกต่ำงกันได้ (เช่น Ethernet หรือ Token-Ring เป็น ต้น) โดยจะแปลงหรือจัดรูปแบบข้อมูลให้ตรงตำมลักษณะของเครือข่ำยที่จะส่งต่อ ในทำงปฏิบัตินั้นฮำร์ดแวร์ของ Router กับ Bridge จะมีควำมซับซ้อนพอๆ กัน พี ยงแต่มีซอฟต์แวร์ที่ใช้ควบคุมซึ่งซับซ้อนกว่ำกันเท่ำนั้น เราเตอร์ (Router)
  • 25. องค์ประกอบของเครือข่าย อุปกรณ์เครือข่ายNetwork Hardware เมื่อสำยที่ต่อกันระหว่ำงเครื่องมีควำมยำวเกินกว่ำที่มำตรฐำนกำหนด สัญญำณ ที่ส่งถึงกันผ่ำนเครือข่ำยก็อำจจะอ่อนลงจนรับไม่ได้ ก็จะใช้อุปกรณ์ Repeater เพื่อทำหน้ำที่ “ทวนสัญญำณ” (Repeat) คือช่วยขยำยสัญญำณไฟฟ้ำที่ส่งบน สำย LAN ให้แรงขึ้น แต่มีข้อจำกัดคือไม่สำมำรถกลั่นกรองข้อมูลที่ส่งผ่ำนได้ โดยจะรู้แต่ว่ำถ้ำมีสัญญำณเข้ำมำทำงฟำกหนึ่งหรือ Segment หนึ่ง ก็จะขยำย แล้วส่งต่อออกไปยังอีกฟำกหนึ่งให้เสมอ (Hub ที่ใช้ในระบบ LAN ที่ใช้สำย UTP ก็จัดเป็นอุปกรณ์ที่ทำงำนในลักษณะเดียวกับ Repeater นั่นเอง) รีพีทเตอร์ (Repeater)
  • 26. องค์ประกอบของเครือข่าย อุปกรณ์เครือข่ายNetwork Hardware นอกจำกนี้ยังมี Repeater สำหรับช่วยขยำยสัญญำณคลื่นวิทยุของเครือข่ำย ไร้สำย (Wireless LAN) รวมทั้งสัญญำณเครือข่ำยโทรศัพท์เคลื่อนที่ (เช่น เครือข่ำย 3G) ที่อยู่ในจุดอับสัญญำณหรือสัญญำณอ่อนแรงเพื่อช่วยเพิ่ม ระยะของสัญญำณให้แรงขึ้นเช่นกัน รีพีทเตอร์ (Repeater)
  • 27. องค์ประกอบของเครือข่าย ซอฟต์แวร์เครือข่ายNetwork Software เครือข่ำยคอมพิวเตอร์สำมำรถควบคุมได้ด้วยซอฟต์แวร์ ต่ำงๆ ที่เกี่ยวข้องกับระบบเครือข่ำย เช่น โปรแกรมที่เป็นไดร เวอร์ควบคุมกำร์ด LAN โปรแกรมที่จัดกำรโปรโตคอลใน กำรติดต่อสื่อสำร (เช่น IPX/SPX, TCP/IP) โปรแกรมควบคุมระบบที่มีควำมสำมำรถทำงำนกับเครือข่ำย (เช่น Netware, Windows Server 2016, Linux หรือ Unix) รวมถึงโปรแกรมสำหรับจัดกำรระบบสื่อสำรที่ เกี่ยวข้องอื่นๆ
  • 28. องค์ประกอบของเครือข่าย ตัวกลางนาข้อมูลMedia เมื่อพูดถึงตัวกลำงนำข้อมูล (Media) ในระบบเครือข่ำย ก็ อำจเป็นได้ตั้งแต่สำยเคเบิลชนิดต่ำงๆ เช่นสำย Coaxial, สำย UTP. สำยใยแก้วนำแสง (Fiber Optic) และคลื่นวิทยุแบบที่ใช้ กับ Wireless LAN เป็นต้น
  • 29. องค์ประกอบของเครือข่าย ตัวกลางนาข้อมูลMedia ส่วนกรณีของระบบ WAN และอินเทอร์เน็ตนั้นมักจะเป็นสำยเชื่อมต่อพิเศษ ที่มีควำมเร็วสูง เครือข่ำยโทรศัพท์เคลื่อนที่ รวมทั้งกำรส่งสัญญำณผ่ำน คลื่นไมโครเวฟและดำวเทียม โดยใช้เทคโนโลยีเครือข่ำยแบบต่ำงๆ เพื่อ สื่อสำรข้อมูลควำมเร็วสูง เช่น เทคโนโลยี ATM (Asynchronous Transfer Mode) เป็นต้น
  • 30. องค์ประกอบของเครือข่าย ตัวกลางนาข้อมูลMedia ในหัวข้อนี้จะกล่ำวถึงตัวกลำงนำข้อมูลที่ใช้ในระบบ LAN แบบใช้สำยทั่วไป ซึ่งมี ประเด็นสำคัญที่ควรพิจำรณำอยู่หลำยประกำร เช่น สำยเคเบิลที่ใช้ ลักษณะของ สัญญำณไฟฟ้ำที่รับส่งกัน และลักษณะกำรแบ่งกันใช้สำย (Media Access Control) เป็นต้น
  • 31. องค์ประกอบของเครือข่าย ตัวกลางนาข้อมูลMedia • สาย UTP (Unshielded Twisted Pair) หรือสาย LAN เป็นสำยขนำดเล็กคล้ำยสำยโทรศัพท์ แต่มี 8 เส้นบิดตีเกลียวเป็นคู่ๆ เพื่อลดผลของ สัญญำณรบกวน (Crosstalk) แต่ไม่มีเปลือกที่เป็นโลหะถักหุ้มเหมือนสำย Coaxial จึง มีขนำดกะทัดรัดกว่ำ มีน้ำหนักเบำ ตัวสำยยืดหยุ่นปรับให้โค้งงอได้ง่ำยลักษณะกำร เดินสำยจะต้องต่อจำกเครื่องเข้ำหำอุปกรณ์รวมสำยเท่ำนั้น ปัจจุบันเป็นสำยที่ได้รับ ควำมนิยมแพร่หลำย เพรำะมีรำคำถูก ติดตั้งง่ำย ใช้งำนได้กว้ำงขวำง มีอุปกรณ์ เชื่อมต่อที่ผลิตออกมำให้เลือกมำก รวมทั้งสำมำรถใช้กับเทคโนโลยีใหม่ๆ ที่ทำ ควำมเร็วได้สูง เช่น 1,000 Mbps หรือมำกกว่ำนั้น เป็นต้น สายเคเบิลที่ใช้
  • 32. องค์ประกอบของเครือข่าย ตัวกลางนาข้อมูลMedia • สาย UTP (Unshielded Twisted Pair) หรือสาย LAN สำย UTP แบ่งเป็น 6 กลุ่ม (Category) ซึ่งมีควำมเร็วในกำรส่งข้อมูลแตกต่ำงกัน ดังนี้ สายเคเบิลที่ใช้ CAT1 Category 1 CAT5 Category 5 CAT2 Category 2 CAT5e Category 5 Enhanced CAT3 Category 3 CAT6 Category 6 CAT4 Category 4
  • 33. องค์ประกอบของเครือข่าย ตัวกลางนาข้อมูลMedia • สาย UTP (Unshielded Twisted Pair) หรือสาย LAN สายเคเบิลที่ใช้  CAT1 (Category 1) ควำมเร็วสูงสุด 1 Mbps ใช้เป็นสำยโทรศัพท์ ไม่สำมำรถรับส่งข้อมูลดิจิตอลได้ CAT2 (Category 2) ควำมเร็วสูงสุด 4 Mbps สำมำรถรับส่งข้อมูลดิจิตอลได้ CAT3 (Category 3) ควำมเร็วสูงสุด 16 Mbps โดยสำยสัญญำณแต่ละคู่จะบิดเกลียวอย่ำงน้อย3-4 รอบ/ฟุต ใช้เชื่อมต่อในเครือข่ำย Ethernet และ Token Ring แบบเก่ำ
  • 34. องค์ประกอบของเครือข่าย ตัวกลางนาข้อมูลMedia • สาย UTP (Unshielded Twisted Pair) หรือสาย LAN สายเคเบิลที่ใช้  CAT4 (Category 4) ควำมเร็วสูงสุด 20 Mbps มีกำรพัฒนำเรื่องกำรป้องกันสัญญำณรบกวนให้ดีขึ้น  CAT5 (Category 5) ควำมเร็วสูงสุด 100 Mbps เป็นสำย UTP แบบมำตรฐำนขั้นต้น โดยสำยสัญญำณแต่ละคู่มีกำรบิดเกลียว 3-4 รอบ/นิ้ว ป้องกันสัญญำณรบกวนได้ดีรับส่งข้อมูลได้ไกล 100 เมตร รองรับกำรใช้งำนในเครือข่ำยอินเทอร์เน็ตควำมเร็วสูง Fast Ethernet
  • 35. องค์ประกอบของเครือข่าย ตัวกลางนาข้อมูลMedia • สาย UTP (Unshielded Twisted Pair) หรือสาย LAN สายเคเบิลที่ใช้  CAT5e (Category 5 Enhanced) ควำมเร็วสูงสุด 1000 Mbps หรือ 1 Gbps ตัวสำยใช้วัสดุที่มีคุณภำพกำรนำสัญญำณสูง และมีกำร บิดเกลียวของสำยเพิ่มขึ้น ซึ่งสำมำรถป้องกันสัญญำณรบกวนได้ดียิ่งขึ้น รองรับกำรเชื่อมต่ออุปกรณ์ในเครือข่ำยอินเทอร์เน็ตควำมเร็ว สูง Gigabit Ethernet ได้  CAT6 (Category 6) ควำมเร็วสูงสุด 1 Gbps โดยเพิ่มแผ่นฟอยล์กันคลื่นรบกวนให้กับสำยสัญญำณเหมำะสำหรับใช้ในบริเวณที่มี คลื่นไฟฟ้ำสูงหรือสัญญำณไม่ดี
  • 36. องค์ประกอบของเครือข่าย ตัวกลางนาข้อมูลMedia • สายใยแก้วนาแสง (Fiber Optic) เป็นสำยที่ใช้กับกำรส่งสัญญำณด้วยแสง ซึ่งจะต้องมีอุปกรณ์พิเศษโดยเฉพำะ มีข้อ มดีตรงที่ส่งได้เป็นระยะทำงไกลโดยไม่มีสัญญำณรบกวน และมักใช้ในกรณีที่เป็น โครงข่ำยหลักเชื่อมระหว่ำงเครือข่ำยย่อยๆ สายเคเบิลที่ใช้
  • 37. องค์ประกอบของเครือข่าย ตัวกลางนาข้อมูลMedia • สายใยแก้วนาแสง (Fiber Optic) ปัจจุบันมีใช้ในระบบอินเทอร์เน็ตควำมเร็วสูงหรือ Gigabit Ethernet ด้วย รวมถึง โครงกำรอินเทอร์เน็ตควำมเร็วสูงโดยใช้สำยใยแก้วนำแสงที่เรียกว่ำ FTTx เช่น สายเคเบิลที่ใช้  FTTH (Fiber to The Home) กำรใช้สำยใยแก้วนำแสงต่อตรงเข้ำบ้ำน  FTTO (Fiber to The Office) กำรใช้สำยใยแก้วนำแสงต่อตรงเข้ำสำนักงำน  FTTB (Fiber to The Building) กำรใช้สำยใยแก้วนำแสงต่อตรงเข้ำอำคำร โดยควำมเร็วในกำรดำวน์โหลด/อัพโหลดนั้นขึ้นอยู่กับผู้ให้บริกำร FTTx แต่ละรำย เช่น 15/5 Mbps, 20/3 Mbps, 30/3 Mbps, 50/5 Mbps หรือ 100/20 Mbps เป็นต้น
  • 38. องค์ประกอบของเครือข่าย ตัวกลางนาข้อมูลMedia คอมพิวเตอร์ทำงำนกับสัญญำณที่เป็นระบบดิจิตอล แทนด้วย 0 และ 1 ในระบบ LAN กำรส่งข้อมูลด้วยสัญญำณดิจิทัลเป็นแบบ Baseband ใช้ควำมถี่พื้นฐำน ของสัญญำณข้อมูลจริง ปัญหำคือถูกรบกวนได้ง่ำยด้วยคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ำ หรือสัญญำณรบกวนต่ำงๆ เพรำะสัญญำณไฟฟ้ำมีรูปแบบไม่แน่นอน ถ้ำมีอะไร แปลกปลอมเข้ำมำก็แยกได้ยำกว่ำอะไรเป็นข้อมูล ดังนั้นจึงมีกำรนำเอำคลื่น ควำมถี่สูงเข้ำมำใช้เป็นคลื่นพำหะ (Carrier) โดยผสมสัญญำณข้อมูลเข้ำกับคลื่น พำหะนี้ในแบบของกำรผสมทำงควำมถี่ (FM : Frequency Modulation) แบบ เดียวกับกำรส่งวิทยุกระจำยเสียง FM นั่นเอง ลักษณะของสัญญาณไฟฟ้าที่รับส่งกัน สัญญำณที่ส่งในแบบ Broadband สัญญำณดิจิทัล ธรรมดำแบบ Baseband0 1 0 1 0
  • 39. องค์ประกอบของเครือข่าย ตัวกลางนาข้อมูลMedia แต่เนื่องจำกสัญญำณที่เรำผสมเข้ำไปในคลื่นพำหะนี้มีเพียง 2 ระดับคือ 0 และ 1 ดังนั้นคลื่นที่ส่งจึงมีลักษณะเป็นสองควำมถี่สลับกันไป หรือใน บำงกรณีอำจใช้กำรผสมสัญญำณตำมจังหวะหรือเฟส (Phase) ของ สัญญำณก็ได้ กำรที่นำคลื่นพำหะมำใช้นี้ทำให้ผู้รับสำมำรถแยกควำม แตกต่ำงระหว่ำงข้อมูล 0 และ 1 ได้ดีขึ้นโดยดูจำกควำมถี่ ซึ่งรบกวนได้ ยำกกว่ำ และกำรที่ใช้สัญญำณควำมถี่สูง (แถบควำมถี่กว้ำง) มำช่วยใน กำรส่งข้อมูลนั้นเรียกว่ำ Broadband ลักษณะของสัญญาณไฟฟ้าที่รับส่งกัน สัญญำณที่ส่งในแบบ Broadband สัญญำณดิจิทัล ธรรมดำแบบ Baseband0 1 0 1 0
  • 40. องค์ประกอบของเครือข่าย ตัวกลางนาข้อมูลMedia Broadband จึงมีประสิทธิภำพดีกว่ำกำรส่งในแบบ Baseband และมี ควำมเร็วสูงกว่ำ โดยอุปกรณ์รับส่งสำมำรถจัดกำรกับสัญญำณที่มี ควำมถี่สูงๆ ระดับควำมถี่วิทยุ (RF : Radio Frequency) ได้ ซึ่งปัจจุบัน ได้รับกำรพัฒนำคุณภำพให้มีควำมเร็วสูงมำกยิ่งขึ้น ลักษณะของสัญญาณไฟฟ้าที่รับส่งกัน สัญญำณที่ส่งในแบบ Broadband สัญญำณดิจิทัล ธรรมดำแบบ Baseband0 1 0 1 0
  • 41. องค์ประกอบของเครือข่าย ตัวกลางนาข้อมูลMedia เนื่องจำกทุกเครื่องในระบบ LAN ใช้สำยสัญญำณชุดเดียวกันในกำรติดต่อ จึงต้อง มีวิธีกำรที่จะแบ่งเวลำใช้สำยนี้ให้ทั่วถึงกัน เพื่อไม่ให้แต่ละเครื่องต้องรอนำนเกินไป ก่อนจะรับส่งกันได้ ตัวอย่ำงเช่น ลักษณะการแบ่งกันใช้สาย (Media Access Control)
  • 42. องค์ประกอบของเครือข่าย ตัวกลางนาข้อมูลMedia • CSMA/CD (Carrier Sense Multiple Access/Collision Detection) ลักษณะการแบ่งกันใช้สาย (Media Access Control) วิธีนี้ใช้ในมำตรฐำนอินเทอร์เน็ต เช่น Fast Ethernet โดยมีหลักกำรทำงำนคือ ในขณะใด ขณะหนึ่งนั้นคอมพิวเตอร์แต่ละเครื่องจะคอย “ฟัง” ว่ำสำยว่ำงหรือไม่ (Carrier Detection) ถ้ำพบว่ำสำยว่ำงก็จะเริ่มส่งสัญญำณออกมำ ซึ่งถ้ำสำยว่ำงจริงข้อมูลก็จะไปถึงผู้รับได้เลย กรณีที่ 1 เครื่องหนึ่งตรวจพบว่ำ สำยว่ำง ก็เริ่มส่งได้ กรณีที่ 2 เครื่องหนึ่งตรวจพบว่ำ สำยไม่ว่ำง จึงยังไม่ส่ง กรณีที่ 3 ต่ำงคนต่ำงคิดว่ำสำยว่ำง เริ่มส่งข้อมูลพร้อมกัน อีกเครื่องหนึ่งส่งข้อมูล ออกมำบนสำยก่อนแล้ว สัญญำณข้อมูลชนกัน ต่ำงคนต่ำงหยุดแล้วรอส่งใหม่
  • 43. องค์ประกอบของเครือข่าย ตัวกลางนาข้อมูลMedia • CSMA/CD (Carrier Sense Multiple Access/Collision Detection) ลักษณะการแบ่งกันใช้สาย (Media Access Control) แต่กำรเริ่มส่งสัญญำณนี้อำจเกิดขึ้นจำกหลำยๆ สถำนีพร้อมกันได้ เพรำะต่ำงคนต่ำง “ฟัง” และ เข้ำใจว่ำสำยว่ำงพร้อมๆ กัน ผลก็คือสัญญำณที่ ได้นั้นจะชนกันในสำย ทำให้ข้อมูลใช้ไม่ได้ถึงตรงนี้ แต่ละเครื่องก็จะต้องสำมำรถตรวจนับกำรชนกัน (Collision Detection) กรณีที่ 1 เครื่องหนึ่งตรวจพบว่ำ สำยว่ำง ก็เริ่มส่งได้ กรณีที่ 2 เครื่องหนึ่งตรวจพบว่ำ สำยไม่ว่ำง จึงยังไม่ส่ง กรณีที่ 3 ต่ำงคนต่ำงคิดว่ำสำยว่ำง เริ่มส่งข้อมูลพร้อมกัน อีกเครื่องหนึ่งส่งข้อมูล ออกมำบนสำยก่อนแล้ว สัญญำณข้อมูลชนกัน ต่ำงคนต่ำงหยุดแล้วรอส่งใหม่
  • 44. องค์ประกอบของเครือข่าย ตัวกลางนาข้อมูลMedia • CSMA/CD (Carrier Sense Multiple Access/Collision Detection) ลักษณะการแบ่งกันใช้สาย (Media Access Control) จำกนั้นแต่ละเครื่องที่ส่งข้อมูลออกมำชนกันก็จะ หยุดส่งและรอ โดยนับถอยหลังตำมเวลำที่สุ่ม ขึ้นมำซึ่งจะแตกต่ำงกันระหว่ำงแต่ละเครื่อง เมื่อ ครบเวลำที่นับของแต่ละเครื่องแล้วก็ค่อยส่งข้อมูล ออกมำใหม่ เนื่องจำกเวลำที่ใช้รอแตกต่ำงกันทำ ให้กำรส่งครั้งใหม่นี้ไม่มีโอกำสจะชนกันระหว่ำงคู่ เดิมอีก กรณีที่ 1 เครื่องหนึ่งตรวจพบว่ำ สำยว่ำง ก็เริ่มส่งได้ กรณีที่ 2 เครื่องหนึ่งตรวจพบว่ำ สำยไม่ว่ำง จึงยังไม่ส่ง กรณีที่ 3 ต่ำงคนต่ำงคิดว่ำสำยว่ำง เริ่มส่งข้อมูลพร้อมกัน อีกเครื่องหนึ่งส่งข้อมูล ออกมำบนสำยก่อนแล้ว สัญญำณข้อมูลชนกัน ต่ำงคนต่ำงหยุดแล้วรอส่งใหม่
  • 45. องค์ประกอบของเครือข่าย ตัวกลางนาข้อมูลMedia • Token Passing ลักษณะการแบ่งกันใช้สาย (Media Access Control) วิธีนี้ใช้หลักกำรที่ว่ำ ในขณะใดขณะหนึ่งจะมี คอมพิวเตอร์เพียงเครื่องเดียวใน LAN ที่มีสิทธิ์ใน กำรส่งข้อมูล โดยมีรหัสที่เรียกว่ำ Token เก็บไว้ เมื่อส่งข้อมูลออกไปเสร็จแล้วก็จะส่งรหัส Token นี้ออกไปให้เครื่องอื่นๆ ตำมลำดับที่กำหนดไว้ ล่วงหน้ำ ถ้ำเครื่องไหนเมื่อได้รับรหัสแล้วยังไม่ ต้องกำรส่งข้อมูลก็จะส่งรหัส Token นี้ต่อไปเลย มี Token, ไม่มีข้อมูล ส่ง Token ต่อให้เครื่องที่ 2เครื่องที่ 1 เครื่องที่ 2 เครื่องที่ 3 เครื่องที่ 4 มี Token, ไม่มีข้อมูล ส่ง Token ต่อให้เครื่องที่ 3 มี Token, มีข้อมูล ส่งข้อมูลให้เครื่อง ที่ 2 Token ต่อให้เครื่องที่ 4 มี Token, ไม่มีข้อมูล ส่ง Token ต่อให้เครื่องที่ 1
  • 46. องค์ประกอบของเครือข่าย ตัวกลางนาข้อมูลMedia • Token Passing ลักษณะการแบ่งกันใช้สาย (Media Access Control) แต่ถ้ำเครื่องนั้นๆ ต้องกำรส่งข้อมูล ก็ให้ส่งข้อมูล ออกมำก่อนแล้วจึงค่อยส่งรหัส Token ต่อไปให้ เครื่องอื่นตำมลำดับ ด้วยวิธีนี้ทุกเครื่องจะได้รับ สิทธิ์ในกำรส่งข้อมูล (โดยมีรหัส Token ส่ง มำถึง) 1 ครั้งภำยใน 1 รอบกำรทำงำนหรือ 1 ห้วงเวลำที่กำหนด มี Token, ไม่มีข้อมูล ส่ง Token ต่อให้เครื่องที่ 2เครื่องที่ 1 เครื่องที่ 2 เครื่องที่ 3 เครื่องที่ 4 มี Token, ไม่มีข้อมูล ส่ง Token ต่อให้เครื่องที่ 3 มี Token, มีข้อมูล ส่งข้อมูลให้เครื่อง ที่ 2 Token ต่อให้เครื่องที่ 4 มี Token, ไม่มีข้อมูล ส่ง Token ต่อให้เครื่องที่ 1
  • 47. องค์ประกอบของเครือข่าย ตัวกลางนาข้อมูลMedia • Token Passing ลักษณะการแบ่งกันใช้สาย (Media Access Control) ให้สำมำรถจำกัดเวลำได้ว่ำจะสำมำรถส่งข้อมูล ออกไปภำยในเวลำไม่เกินกี่ Millisecond แต่ กระบวนกำรทำงำนของกำรจัดสรร Token นี้จะมี ควำมซับซ้อนกว่ำแบบ CSMA/CD มำก (เช่น ต้องจัดกำรหำว่ำใครจะเป็นคนออก Token ใหม่ หำกของเดิมสูญหำยด้วย) จึงใช้กันในเครือข่ำย บำงแบบเท่ำนั้น เช่น กำรเชื่อมต่อระบบ LAN แบบ Token Ring มี Token, ไม่มีข้อมูล ส่ง Token ต่อให้เครื่องที่ 2เครื่องที่ 1 เครื่องที่ 2 เครื่องที่ 3 เครื่องที่ 4 มี Token, ไม่มีข้อมูล ส่ง Token ต่อให้เครื่องที่ 3 มี Token, มีข้อมูล ส่งข้อมูลให้เครื่อง ที่ 2 Token ต่อให้เครื่องที่ 4 มี Token, ไม่มีข้อมูล ส่ง Token ต่อให้เครื่องที่ 1
  • 48. มาตรฐานของระบบ LAN ในระบบเครือข่ำย LAN นั้นมีลักษณะทำงฮำร์ดแวร์ที่ยึดมำตรฐำน ของสถำบันวิศวกรรมไฟฟ้ำ และอิเล็กทรอนิกส์ของสหรัฐฯ หรือ IEEE (Institute of Electrical and Electronics Engineers) ซึ่งยัง มีมำตรฐำนย่อยๆ อีกหลำยแบบ เพื่อรับรองเทคโนโลยีเครือข่ำยใน รูปแบบต่ำงๆ เช่น ดูมำตรฐำนอื่นๆ ได้ที่ www.ieee802.org IEEE 802.3 สำหรับเครือข่ำยอินเทอร์เน็ต IEEE 802.11 สำหรับเครือข่ำย LAN ไร้สำย (Wireless LAN) ที่นิยมเรียกกันว่ำมำตรฐำน Wi-Fi เป็นต้น
  • 49. มาตรฐานของระบบ LAN สำหรับหัวข้อนี้จะกล่ำวถึงกำรเชื่อมต่อระบบเครือข่ำยแบบ Ethernet, Token Ring และ FDDI เพื่อให้เข้ำใจถึงพื้นฐำนหลักใน กำรรับส่งข้อมูลที่เคยใช้กันมำตั้งแต่ดั้งเดิม ซึ่งปัจจุบันกำรเชื่อมต่อ แบบ Ethernet ได้รับกำรพัฒนำควำมเร็วให้มีควำมเร็วสูงขึ้นและ เป็นที่นิยมใช้งำนกันโดยทั่วไป ดูมำตรฐำนอื่นๆ ได้ที่ www.ieee802.org
  • 50. มาตรฐานของระบบ LAN อีเธอร์เนตEthernet เป็นระบบ LAN ที่พัฒนำขึ้นโดย 3 บริษัทใหญ่คือ บริษัท Xerox Corporation, Digital Equipment Corporation (DEC) และ Intel โดยถูกจัดให้เป็นมำตรฐำนของ IEEE ในกลุ่มที่มีรหัส 802.3 และใช้ กันอย่ำงแพร่หลำยจนถึงปัจจุบัน ในระยะแรกใช้สำย Coaxial เป็น หลัก ต่อมำได้พัฒนำไปใช้สำยแบบ UTP และเพิ่มควำมเร็วจำก 10 Mbps (เมกะบิต/วินำที) ขึ้นไปเป็น 100-1000 Mbps (1 Gbps) บำงระบบมีควำมเร็วสูงถึง 10 Gbps (กิกะบิต/วินำที) Coaxial UTP
  • 51. มาตรฐานของระบบ LAN อีเธอร์เนตEthernet ลักษณะสำคัญแต่เดิมของ Ethernet คือข้อมูลทุกอย่ำงจะส่งผ่ำน ตัวกลำงหรือ Ether ที่เชื่อมระหว่ำงทุกๆ โหนด ซึ่งในที่นี้ก็คือสำย Coaxial นั่นเอง ดังนั้น Ethernet ในยุคแรกจึงใช้กำรเชื่อมต่อสำยแบบ Bus ที่วิ่งผ่ำนทุกเครื่อง และต่อมำเมื่อมีกำรใช้สำย UTP ที่ต่อผ่ำน อุปกรณ์ Hub เกิดขึ้นจึงค่อยๆ เปลี่ยนไปสู่กำรเชื่อมต่อแบบ Star ที่ รวมสำยเข้ำศูนย์กลำง
  • 52. มาตรฐานของระบบ LAN อีเธอร์เนตEthernet มำตรฐำนของระบบ Ethernet เป็นไปตำมมำตรฐำนที่ชื่อ IEEE 802.3 ซึ่งใช้ในกำรต่อสำยแบบที่เชื่อมทุกเครื่องถึง กันโดยตรง โดยมีกฎเกณฑ์หรือโปรโตคอลแบบ CSMA/CD สำหรับชื่อมำตรฐำนของ Ethernet นั้นจะ แยกแยะได้ด้วยรหัสดังตัวอย่ำง 10 Base - 5 ควำมเร็ว 10 Mbps วิธีส่งสัญญำณ สำยที่ใช้เป็น Coaxial ระยะไม่เกิน 5 เมตร
  • 53. มาตรฐานของระบบ LAN อีเธอร์เนตEthernet เป็นตัวบอกว่ำระบบนั้นทำควำมเร็วได้เท่ำไร โดยทั่วไปคือ 10, 100 หรือ 1000 Mbps เป็นต้น ตัวเลขนี้จะเป็นค่ำสูงสุดที่ระบบ LAN นั้นทำได้ ซึ่งควำมเร็วนี้ทำได้ในกรณีที่ไม่มีอุปสรรคอื่นใดมำถ่วงให้ช้ำลง แต่ในทำงปฏิบัติแล้วจะได้ควำมเร็วต่ำกว่ำนี้มำก และกำรนำไปใช้เทียบกับค่ำอื่นๆ ก็อำจต้องแปลงค่ำนี้ให้เป็นไบต์ (Byte) ก่อนคือ 1 ไบต์ เท่ำกับ 8 บิต โดยประมำณ ความเรว
  • 54. มาตรฐานของระบบ LAN อีเธอร์เนตEthernet หำกพิจำรณำถึงกำรเสียเวลำอื่นๆ เช่น กำรส่งข้อมูลตรวจสอบกำรแปลงข้อมูลและอื่นๆ ก็จะทำให้ควำมเร็วในทำงปฏิบัติจริง ลดต่ำลงอีก เช่น LAN 100 Mbps ตำมทฤษฎีน่ำจะรับส่งข้อมูลได้ถึง 12.5 Mbytes/Second แต่ในทำงปฎิบัติจะทำได้แค่รำวๆ 8-9 Mbytes/Second เท่ำนั้น ความเรว
  • 55. มาตรฐานของระบบ LAN อีเธอร์เนตEthernet โดยปกติรหัสที่ใช้บอกกำรส่งสัญญำณทำงไฟฟ้ำบนระบบ Ethernet จะมี 2 ลักษณะคือ Baseband และ Broadband ดังที่ อธิบำยไปแล้ว ซึ่งระบบ LAN ควำมเร็วสูงในปัจจุบันพัฒนำไปใช้แบบ Broadband มำกขึ้น วิธีส่งสัญญาณ สัญญำณที่ส่งในแบบ Broadband สัญญำณดิจิทัล ธรรมดำแบบ Baseband0 1 0 1 0
  • 56. มาตรฐานของระบบ LAN อีเธอร์เนตEthernet • Base หมายถึง Baseband ส่งเป็นสัญญำณแบบดิจิตอล 0 และ 1 หรือ แรงดันไฟฟ้ำ 0 และ 5 โวลต์โดยไม่ มีกำรผสมสัญญำณนี้เข้ำกับสัญญำณควำมถี่สูงอื่นใด วิธีกำรนี้ทำงำนง่ำยทั้ง วงจรรับและส่ง แต่จะถูกรบกวนได้ง่ำยและส่งได้ระยะทำงไม่ไกล นอกจำกนี้ใน สำยเส้นหนึ่งๆ ยังส่งสัญญำณแบบนี้ได้เพียงชุดเดียวเท่ำนั้น วิธีส่งสัญญาณ สัญญำณที่ส่งในแบบ Broadband สัญญำณดิจิทัล ธรรมดำแบบ Baseband0 1 0 1 0
  • 57. มาตรฐานของระบบ LAN อีเธอร์เนตEthernet • Broad หมายถึง Broadband มีกำรผสมสัญญำณข้อมูลที่จะส่งเข้ำกับสัญญำณอนำล็อกหรือคลื่นพำหะที่มี ควำมถี่สูง เพื่อให้ส่งได้ไกลและมีควำมเพี้ยนน้อยกว่ำแบบ Base โดยจัดกำรให้ ข้อมูลชุดหนึ่งผสมกับสัญญำณที่ควำมถี่ช่วงหนึ่งนับเป็น 1 แชนแนล พอมี ข้อมูลอีกชุดหนึ่งก็เลี่ยงไปใช้กำรผสมเข้ำกับควำมถี่อื่นที่ห่ำงออกไปมำกพอที่จะ ไม่รบกวนกัน ก็จะได้เป็นอีกแชนแนลหนึ่งที่สำมำรถรับส่งไปพร้อมๆ กันได้ วิธีนี้ จะส่งได้ไกลขึ้น ส่งข้อมูลได้มำกขึ้น ทำให้ควำมเร็วโดยรวมสูงขึ้น วิธีส่งสัญญาณ สัญญำณที่ส่งในแบบ Broadband สัญญำณดิจิทัล ธรรมดำแบบ Baseband0 1 0 1 0
  • 58. มาตรฐานของระบบ LAN อีเธอร์เนตEthernet Ethernet แบบพื้นฐำนดั้งเดิมนั้นมีควำมเร็วเพียง 10 Mbps และมีกำรต่อสำย 3 แบบ ต่อมำมีสำย Fiber Optic และสำย UTP เพิ่ม ขึ้นมำ ก็พัฒนำขึ้นไปจนทำควำมเร็วได้เป็นระดับ 1000 Mbps ซึ่งสำยแต่ละแบบนั้นใช้รหัสแตกต่ำงกัน ดังนี้ สายที่ใช้ รหัส หมายถึง 5 ใช้สำยแบบ Thick Coaxial ขนำดใหญ่โยงถึงกัน สำยแบบนี้ลำกไปได้ไกลไม่เกิน500 เมตร จึงใช้เลข 5 กำกับ 2 ใช้สำยแบบ Thin Coaxial ขนำดเล็กโยงถึงกัน สำยแบบนี้ลำกไปได้ไกลไม่เกิน 200 เมตร จึงใช้เลข 2 กำกับ T ใช้สำย UTP แบบ CAT 5 ต่อจำกทุกเครื่องเข้ำหำอุปกรณ์รวมสำย (เช่น Hub/Switch) สำยแบบนี้ลำกไปได้ไกลไม่เกิน 100 เมตรประมำณ F เป็นระบบที่ใช้สำยใยแก้วนำแสง (Fiber Optic) ซึ่งสำมำรถลำกไปได้ไกลหลำยร้อยเมตรขึ้นไป
  • 60. มาตรฐานของระบบ LAN อีเธอร์เนตEthernet มาตรฐานที่สาคัญของ Ethernet มาตรฐาน ความหมาย 10Base-5 ใช้สำยแบบ Thick Coaxial ขนำดใหญ่โยงถึงกัน โดยแต่ละจุดจะต้องมีอุปกรณ์ Transceiver เป็นตัวเชื่อม และจำก Transceiver นี้ออกไปยัง กำร์ด LAN จะใช้สำยสั้นๆ ที่เรียกว่ำ AUI Cable อีกทีหนึ่ง 10Base-2 ใช้สำยแบบ Thin Coaxial ขนำดเล็กโยงถึงกัน ด้วยกำรต่อเข้ำกับกำร์ด LAN โดยไม่ต้องมีอุปกรณ์ Transceiver แต่ต้องมีหัวต่อสำมทำงที่ เรียกว่ำ T-Connector สำหรับแยกสำยเข้ำแต่ละเครื่อง และต้องมีอุปกรณ์ที่เรียกว่ำ Terminator ปิดท้ำยที่ปลำยสำยทั้งสองด้ำนเพื่อป้องกัน กำรสะท้อนกลับของสัญญำณที่อำจรบกวนกำรทำงำนได้ 10Base-T ใช้สำย UTP แบบ CAT 5 ต่อจำกทุกเครื่องเข้ำหำ Hub/Switch จำกนั้นจึงต่อระหว่ำง Hub/Switch หลำยๆ ตัวเข้ำด้วยกัน (ถ้ำมี) ด้วยสำย UTP ก็ได้ หรือบำงแบบที่เก่ำหน่อยก็อำจมีช่องให้ต่อเข้ำกับสำยแบบ Thick หรือ Thin เพื่อเชื่อมโยงระหว่ำงแต่ละ Hub/Switch อีกทีหนึ่ง
  • 64. มาตรฐานของระบบ LAN อีเธอร์ความเรวสูงFast/Gigabit Ethernet Ethernet แบบดั้งเดิมได้รับพัฒนำให้มีควำมเร็วสูงขึ้นจำก 10 Mbps เป็น 100 Mbps (Fast Ethernet) และ 1,000 Mbps (Gigabit Ethernet) หรือมำกกว่ำนั้น ซึ่ง มำกพอที่จะใช้กับข้อมูลขนำดใหญ่ อย่ำงเช่นไฟล์มัลติมีเดียรวมทั้งข้อมูลที่ต้องรับส่ง ให้ได้ตำมเวลำจริงหรือ Real – Time ได้ดีขึ้นกว่ำเดิม (เช่น กำรประชุมระยะไกลที่ ต้องใช้ทั้งเสียงและภำพเคลื่อนไหว) ซึ่งมำตรฐำนของ Ethernet ควำมเร็วสูงเหล่ำนี้ อำจจัดเป็นหลำยกลุ่มด้วยกัน ดังนี้
  • 65. มาตรฐานของระบบ LAN อีเธอร์ความเรวสูงFast/Gigabit Ethernet มาตรฐาน ความหมาย Fast Ethernet (100 Base-T) 100 Base-T เป็นระบบที่พัฒนำต่อจำก Ethernet โดยใช้สำยที่ดีขึ้นกว่ำ 10 Base-T เดิม เช่น สำย CAT5e หรือ CAT6 เป็นต้น โดยต่อเข้ำกับ Hub/Switch เช่นเดียวกับ 10 Base-T แต่ต้องเป็น Hub/Switch ที่รองรับควำมเร็ว 100 Mbps ด้วย สำยที่ใช้ กับระบบ 100 Base-T นี้จะแยกรับส่งข้อมูลเป็น 4 คู่สำยด้วยควำมเร็วคู่สำยละ 25 Mbps รวมเป็น 25 x 4 = 100 Mbps
  • 66. มาตรฐานของระบบ LAN อีเธอร์ความเรวสูงFast/Gigabit Ethernet มาตรฐาน ความหมาย Gigabit Ethernet (1000 Base-T) 1000 Base-T (สำย UTP) หรือ 1000 Base-F (สำย Fiber optic) เป็นเทคโนโลยีที่สำมำรถส่งข้อมูลได้ในระดับควำมเร็ว 1,000 Mbps หรื 1 Gbps ซึ่งเป็นมำตรฐำนของเครือข่ำยระดับ High-End สำหรับงำนที่ต้องกำรควำมเร็วระดับสูง เช่น งำน กรำฟิก หรือใช้เชื่อมต่อตรงช่วงที่ต่อเข้ำเครื่องเซิร์ฟเวอร์ เพื่อให้สำมำรถรองรับงำนจำกเครื่องอื่นๆ ได้ปริมำณมำกและ พร้อมๆ กัน สำยที่ใช้ก็จะมีทั้งแบบที่เป็น UTP (แต่ควำมยำวไม่มำกนัก) และ Fiber Optic
  • 67. มาตรฐานของระบบ LAN อีเธอร์ความเรวสูงFast/Gigabit Ethernet มาตรฐาน ความหมาย 10 Gigabit Ethernet เป็นเทคโนโลยีที่สำมำรถรับส่งข้อมูลได้ในระดับควำมเร็ว 10,000 Mbps หรือ 10 Gbps มักใช้กับกำรเชื่อมต่อระหว่ำงเมือง หรือ WAN รวมถึงระดับเครื่องเซิร์ฟเวอร์และเดสก์ท็อปสำหรับเครือข่ำยที่ต้องกำรควำมเร็วสูงมำก เป็นต้น
  • 68. มาตรฐานของระบบ LAN การเชื่อมต่อเครือข่าย LAN แบบดั้งเดิม Token-Ring/FDDI เป็นกำรเชื่อมต่อเครือข่ำย LAN ในแบบวงแหวน (Ring) และใช้วิธีควบคุมกำรส่งข้อมูลแบบ Token Passing ซึ่งพัฒนำขึ้นโดย บริษัทไอบีเอ็มสำหรับรุ่นแรกๆ มีควำมเร็วเพียง 4 Mbps แต่ต่อมำได้ปรับปรุงเป็น 16 Mbps สำยที่ใช้จะเป็นเคเบิลแบบพิเศษมี 2 คู่ ต่อเข้ำกับอุปกรณ์รวมสำยที่เรียกว่ำ MAU (Multiple Access Unit) ซึ่ง 1 ตัวต่อได้ 8 เครื่อง และพ่วงระหว่ำง MAU แต่ละตัวเข้ำ ด้วยกันได้อีก ลักษณะของกำรลำกสำยจำก MAU ไปยังแต่ละเครื่องนั้นจะดูเหมือนกับกำรเชื่อม่อแบบดำวกระจำยหรือเครือข่ำยแบบ Star (แต่ถ้ำไล่สำยดูจริงๆ จะพบว่ำยังเป็นวงแหวนหรือ Ring อยู่) Token-Ring
  • 70. มาตรฐานของระบบ LAN การเชื่อมต่อเครือข่าย LAN แบบดั้งเดิม Token-Ring/FDDI Token-Ring จุดอ่อนของ Token Ring คือถ้ำสำยเส้นใดเส้นหนึ่งขำดไป Ring จะไม่ครบวงและทำงำนไม่ได้ ดังนั้นเพื่อแก้ปัญหำนี้บริษัท IBM ผู้ คิดค้น Token Ring จึงออกแบบสำยและอุปกรณ์ให้มีลักษณะพิเศษคือมีสำยสำรองในตัวเป็น 2 ชุด เมื่อมีปัญหำสำยในวงเกิดชำรุด บำงช่วงหรือบำงเครื่องไม่ทำงำน สำยส่วนที่เหลือกับอุปกรณ์ MAU จะเปลี่ยนลักษณะกำรต่อสำยให้กลับเป็นวงแบบ 2 ชั้น วนอ้อม สำยส่วนที่ขำดไป ทำให้ระบบสำมำรถทำงำนต่อได้โดยไม่ติดขัด (ปัจจุบันพบกำรเชื่อมต่อเครือข่ำย LAN แบบ Token-Ring น้อยมำก แล้ว อำจมีใช้ในระบบเก่ำๆ)
  • 71. มาตรฐานของระบบ LAN การเชื่อมต่อเครือข่าย LAN แบบดั้งเดิม Token-Ring/FDDI FDDI (Fiber Distributed Data Interface) FDDI เป็นมำตรฐำนกำรต่อระบบเครือข่ำยโดยอำศัยสำย Fiber Optic ซึ่งจะสำมำรถรับส่งข้อมูลได้ที่ควำมเร็วสูงระดับ 100 Mbps เท่ำกับ Fast Ethernet หรือสิบเท่ำของ Ethernet พื้นฐำน
  • 72. มาตรฐานของระบบ LAN การเชื่อมต่อเครือข่าย LAN แบบดั้งเดิม Token-Ring/FDDI FDDI (Fiber Distributed Data Interface) ลักษณะของ FDDI จะต่อเป็น Ring ที่มีสำยสองชั้นเดินคู่ขนำน กัน เพื่อสำรองในกรณีที่เกิดสำยขำดขึ้น โดยวงจรจะตัดส่วนที่ ขำดออกแล้ววนสำยที่เหลือให้ครบรอบเป็น Ring ตำมเดิมใน แบบเดียวกับสำย Token Ring ของ IBM ลักษณะกำรรับส่ง ข้อมูลของ FDDI ก็ใช้วิธี Token-passing เช่นเดียวกัน ส่วนสำย ที่ต่อนั้นจะทำได้ในระยะระหว่ำงแต่ละเครื่องไม่เกิน 2 กิโลเมตร และระยะรวมทั้งหมดไม่เกิน 100 กิโลเมตร
  • 73. มาตรฐานของระบบ LAN การเชื่อมต่อเครือข่าย LAN แบบดั้งเดิม Token-Ring/FDDI FDDI (Fiber Distributed Data Interface) FDDI เหมำะที่จะใช้เป็นเครือข่ำยหลักคือ Backbone ที่เชื่อมระบบ LAN หลำยๆ วงเข้ำด้วยกัน โดยแต่ละวง LAN จะต้องมีตัวรวม สำย (Concentrator) หรืออุปกรณ์ Router ที่ใช้ต่อระหว่ำง LAN ทั้งวงเข้ำเป็นสถำนีหรือ Node หนึ่งในวงของ FDDI
  • 74. เครือข่ายแลนไร้สาย (Wireless LAN) เครือข่ำยแบบไร้สำย (Wireless Network) คือ เครือข่ำยที่อำศัยคลื่นวิทยุ (RF : Radio Frequency) ในกำรรับส่งข้อมูล ไม่ต้อง เดินสำยเหมือน LAN แบบใช้สำย เหมำะกับกำรใช้งำนในบ้ำนหรือบริเวณที่ไม่สะดวกในกำรเดินสำย และเป็นจุดที่ไม่มีปัญหำเรื่อง กำรรบกวนของสัญญำณวิทยุมำกนัก เรำสำมำรถใช้อินเทอร์เน็ตได้จำกทุกห้องในบ้ำนหรือแม้แต่ที่สนำมหน้ำบ้ำน โดยไม่ขำดกำร ติดต่อตรำบใดที่ยังอยู่ในระยะทำกำร เนื่องจำกคลื่นวิทยุนี้มีคุณสมบัติในกำรทะลุทะลวงสิ่งกีดขวำงต่ำงๆ ได้ ไม่ว่ำจะเป็นผนัง กำแพง เพดำน เป็นต้น
  • 75. เครือข่ายแลนไร้สาย (Wireless LAN) ปัจจุบันควำมถี่ของคลื่นที่ได้รับ จัดสรรมำให้ใช้จะมีอยู่ 3 ย่ำน ควำมถี่คือ ช่วง 900 MHz, 2.4 GHz และ 5 GHz ซึ่งจัดเป็นคลื่น ควำมถี่เสรีหรือ ISM Bands คือ คลื่นควำมถี่สำธำรณะสำหรับใช้ใน ด้ำนอุตสำหกรรม (Industrial), วิทยำศำสตร์ (Scientific) และ กำรแพทย์ (Medical) โดย เครือข่ำยไร้สำยจะใช้ย่ำนควำมถี่ ในช่วง 2.1-5 GHz
  • 76. เครือข่ายแลนไร้สาย (Wireless LAN) เป็นกำรเชื่อมต่อเครือข่ำยโดยใช้คลื่นวิทยุในกำรรับส่งข้อมูลระหว่ำงเครื่องหนึ่งกับเครื่องอื่นๆ หรือระหว่ำงเครื่องที่มีกำร์ด LAN ไร้สำย (Wireless Card) กับสถำนีฐำนหรือ “จุดเข้ำใช้” (Access Point) ซึ่งเป็นตัวกลำงในกำรติดต่อทั้งระหว่ำงแต่ละเครื่องที่ใช้ Wireless LAN ด้วยกัน รวมถึงกำรเชื่อมต่อเข้ำกับระบบ LAN แบบใช้สำยทั้งภำยในหรือภำยนอกบริเวณ โดยนำสำยมำเสียบเข้ำ ที่ตัว Access Point แทนที่จะต้องลำกสำย LAN ไปถึงทุกเครื่องอย่ำง LAN แบบเดิม ซึ่งจุดที่ติดตั้งสถำนีฐำนหรือ Access Point นั้นนิยมเรียกว่ำ ฮอตสปอท (Hotspot) รู้จักกับเครือข่ายแลนไร้สายWireless LAN
  • 77. เครือข่ายแลนไร้สาย (Wireless LAN) อุปกรณ์ Access Point เป็นตัวกระจำยสัญญำณไร้สำยไปในเครือข่ำย และหลำยๆ รุ่นยังทำหน้ำที่เป็น Router เพื่อแชร์อินเทอร์เน็ตให้กับเครื่องที่อยู่ในเครือข่ำยนั้น (ทั้งเครื่องที่มีสำยและไร้สำย) โดยปกติระบบ LAN ไร้สำยจะมีกำรจำกัดจำนวน เครื่องที่ต่อได้ในเครือข่ำยเดียวกันเช่น 128 เครื่อง ทั้งนี้เพรำะมีช่วงควำมถี่ที่จะแบ่ง กันใช้ในจำนวนจำกัด รู้จักกับเครือข่ายแลนไร้สายWireless LAN
  • 78. เครือข่ายแลนไร้สาย (Wireless LAN) ตัวอย่ำงอุปกรณ์ Access Point เช่น AirPort Extreme ของบริษัทแอปเปิ้ล ซึ่งเป็น อุปกรณ์ช่วยกระจำยสัญญำณ Wi-Fi ที่สำมำรถรับส่งคลื่นควำมถี่ได้ 2 ย่ำนควำมถี่ คือ 2.4 GHz และ 5 GHz ทำให้รองรับชนิดของอุปกรณ์ไร้สำยได้มำกขึ้น โดยจะ เชื่อมต่อควำมถี่ที่มีประสิทธิภำพดีที่สุดในขณะนั้นให้กับอุปกรณ์โดยอัตโนมัติ รองรับ มำตรฐำน 802.11ac ทำให้รับส่งข้อมูลได้รวดเร็วขึ้น สัญญำณชัดเจนขึ้น รู้จักกับเครือข่ายแลนไร้สายWireless LAN Airport Extreme อุปกรณ์ Access Point สำหรับ กระจำยสัญญำณ WiFi ในเครือข่ำย
  • 79. เครือข่ายแลนไร้สาย (Wireless LAN) เครื่องคอมพิวเตอร์หรืออุปกรณ์ที่จะใช้ในเครือข่ำยไร้สำยนั้นต้องติดตั้ง Wireless Card ทุกเครื่อง เพื่อใช้เป็นตัวรับสัญญำณไร้ สำยจำก Access Point ซึ่งกำร์ดไร้สำยนั้นมีหลำยรูปแบบ ขึ้นอยู่กับเครื่องที่ใช้งำน เช่น แบบ PCI Card สำหรับติดตั้งภำยใน เครื่องพีซี, แบบ PCMCIA สำหรับโน้ตบุ๊ค และแบบ USB Wireless สำหรับเสียบต่อใช้งำนภำยนอก รวมถึงชิป Wi-Fi ที่ฝังอยู่ ในสมำร์ทโฟนและอุปกรณ์พกพำต่ำงๆ เป็นต้น รู้จักกับเครือข่ายแลนไร้สายWireless LAN
  • 81. เครือข่ายแลนไร้สาย (Wireless LAN) มาตรฐานของเครือข่ายแลนไร้สายWireless LAN (Wi-Fi) Standard ปัจจุบันมำตรฐำน Wireless LAN นั้นเรียกรวมว่ำ IEEE 802.11 หรือเรียกอีกอย่ำงว่ำ Wi-Fi (Wireless Fidelity) โดยตั้งชื่อให้ ล้อไปกับคำว่ำ Hi-Fi (Hi-Fidelity) ซึ่งเป็นระบบเสียงคุณภำพสูงของยุดนั้น ซึ่งมำตรฐำน IEEE 802.11 ยังแบ่งย่อยเป็นหลำย แขนง เช่น
  • 82. เครือข่ายแลนไร้สาย (Wireless LAN) มาตรฐานของเครือข่ายแลนไร้สายWireless LAN (Wi-Fi) Standard เป็นมำตรฐำนที่ใช้ควำมถี่ 2.4 GHz มีควำมเร็วในกำรรับส่งข้อมูลสูงสุด 11 Mbps (ในทำงปฏิบัติจะได้เฉลี่ยประมำณ 6 Mbps เท่ำนั้น) มีรัศมีกระจำยสัญญำณประมำณ 30-45 เมตร ปัจจุบันไม่ค่อยมีใช้กันแล้ว IEEE 802.11b
  • 83. เครือข่ายแลนไร้สาย (Wireless LAN) มาตรฐานของเครือข่ายแลนไร้สายWireless LAN (Wi-Fi) Standard ใช้ควำมถี่ 2.4 GHz เช่นเดียวกับ 802.11b แต่เพิ่มควำมเร็วสูงสุดเป็น 54 Mbps (ในทำงปฏิบัติจะได้เฉลี่ยประมำณ 18-22 Mbps) และสำมำรถใช้งำนทั้งกำร์ดและสถำนีฐำน (Access Point) ร่วมกับเครือข่ำยแบบ 802.11b ได้ในรัศมีเดียวกัน (แต่ ควำมเร็วสูงสุดจะลดลงเหลือเท่ำ 802.11b คือ 11 Mbps) IEEE 802.11g
  • 84. เครือข่ายแลนไร้สาย (Wireless LAN) มาตรฐานของเครือข่ายแลนไร้สายWireless LAN (Wi-Fi) Standard เป็นมำตรฐำนที่ส่งสัญญำณได้สองควำมถี่ (Dual Band) คือ 2.4 GHz และ 5 GHz และเพิ่มควำมเร็วในกำรรับส่งข้อมูลสูงสุด เป็น 600 Mbps สำมำรถรองรับอุปกรณ์มำตรฐำน 802.11b และ 802.11g ได้ IEEE 802.11n
  • 85. เครือข่ายแลนไร้สาย (Wireless LAN) มาตรฐานของเครือข่ายแลนไร้สายWireless LAN (Wi-Fi) Standard เป็นมำตรฐำนที่ใช้ควำมถี่ 5 GHz (ยังคงใช้ควำมถี่ 2.4 GHz ได้ในเวลำเดียวกัน) โดยพัฒนำประสิทธิภำพด้ำนคลื่นควำมถี่ให้มี ช่องสัญญำณกว้ำงขึ้น สำมำรถรับส่งสัญญำณผ่ำนสิ่งกีดขวำงได้ดีขึ้นและระยะได้ขึ้น ทำให้สัญญำณ WiFi ที่เชื่อมต่อนั้นมี ควำมเสถียรชัดเจนและรวดเร็วกว่ำมำตรฐำนเดิมมีควำมเร็วในกำรรับส่งข้อมูลสูงสุด 1300 Mbps หรือ 1.3 Gbps IEEE 802.11ac
  • 86. เครือข่ายแลนไร้สาย (Wireless LAN) มาตรฐานของเครือข่ายแลนไร้สายWireless LAN (Wi-Fi) Standard อย่ำงไรก็ตำม ควำมเร็วในกำรรับส่งข้อมูลที่ระบุนี้เป็นควำมเร็วสูงสุดในห้องโล่งๆ ในทำงปฏิบัติถ้ำมีสัญญำณรบกวนมำกหรือมี สิ่งกีดขวำง เช่น พำร์ติชั่น ผนังคอนกรีต หรืออยู่ในห้องที่มีผนังทึบ ควำมเร็วก็จะลดต่ำลงไปอีก
  • 87. เครือข่ายแลนไร้สาย (Wireless LAN) ความปลอดภัยของเครือข่ายแลนไร้สายWireless LAN (Wi-Fi) Security ข้อมูลถูกส่งไปในอำกำศซึ่งสำมำรถถูกดักจับได้ง่ำย ดังนั้นจึงต้องมีวิธีกำร เข้ำรหัสข้อมูล (Data Encryption) แต่เดิมจะใช้วิธีเข้ำรหัสเรียกว่ำ WEP (Wired Equivalent Privacy) ซึ่งยังมีปัญหำเรื่องกุญแจกำรเข้ำรหัสหรือ คีย์ (Key) ที่ยังไม่ปลอดภัยเท่ำที่ควร จึงมีกำรออกมำตรฐำนใหม่คือ WPA (Wi-Fi Protected Access) ที่ปลอดภัยกว่ำด้วยกำรใช้คีย์แบบชั่วครำว ทำ ให้ยำกต่อกำรคำดเดำของผู้บุกรุก และยังไม่พัฒนำไปเป็น WPA2 หรือ IEEE 802.11i ซึ่งมีกลไกที่ซับซ้อนกว่ำ จึงมีควำมปลอดภัยสูงยิ่งขึ้นไปอีก
  • 88. เครือข่ายแลนไร้สาย (Wireless LAN) ความปลอดภัยของเครือข่ายแลนไร้สายWireless LAN (Wi-Fi) Security นอกจำกนี้ ในด้ำนกำรป้องกันผู้อื่นแอบเชื่อมต่อเข้ำมำในระบบ LAN ไร้สำย ก็ยังมีวิธีกำหนดรหัสเครือข่ำยที่เรียกว่ำ SSID (Service Set ID) ซึ่ง จะ คล้ำยๆ กับชื่อ Workgroup ในเครือข่ำยของ Windows นั่นเองโดย อุปกรณ์ทุกชิ้นในเครือข่ำยจะต้องถูกกำหนดค่ำ SSID ที่ตรงกันด้วยจึงจะ สำมำรถสื่อสำรกันได้ ดังนั้น SSID จึงควรรู้เฉพำะบุคคลในเครือข่ำย เพื่อ ป้องกันไม่ให้บุคคลภำยนอกแอบเข้ำมำเชื่อมต่อกับระบบ LAN ของเรำได้
  • 89. เครือข่ายแลนไร้สาย (Wireless LAN) เครือข่ายอินเทอร์เนตไร้สายMobile Internet เป็นกำรเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตผ่ำนเครือข่ำยโทรศัพท์เคลื่อนที่ หรือบรอด แบนด์ไร้สำย (Wereless Broadband) โดยใช้งำนผ่ำนเครื่องสมำร์ทโฟน แท็บเล็ต หรืออุปกรณ์รับสัญญำณอินเทอร์เน็ตเพื่อเชื่อมต่อกับเครื่อง คอมพิวเตอร์ เช่น AirCard และ Mobile Wi-Fi เป็นต้น สำหรับควำมเร็วใน กำรรับส่งข้อมูลนั้นมีกำรพัฒนำประสิทธิภำพกันอย่ำงต่อเนื่อง จำกเดิมใน ยุค 2G ได้พัฒนำขึ้นเรื่อยๆ จนเป็น 2.5G, 3G, 4G และ 5G
  • 91. การทางานของคอมพิวเตอร์ในเครือข่าย Server Based หรือ Dedicated Server มีกำร กำหนดให้บำงเครื่องเป็นแม่ข่ำยเรียกว่ำ เซิร์ฟเวอร์ (Server) ทำหน้ำที่เป็นผู้ให้บริกำรแก่เครื่องลูกข่ำย อื่นๆ ที่เรียกว่ำ ไคลเอนต์ (Client) เวิร์กสเตชั่น (Workstation) สถำนีงำนที่เป็นลูกข่ำยซึ่งเรียกใช้และ คอยรับบริกำรจำกเครื่องเซิร์ฟเวอร์ แบบมีเครื่องแม่ข่ายServer Based
  • 92. การทางานของคอมพิวเตอร์ในเครือข่าย Server Based Peer-to-Peer ข้อดี  เร็ว  มีขีดควำมสำมำรถสูง มีฟังก์ชั่นให้ใช้มำก  มีมำตรฐำนที่ยอมรับกันทั่วไป  ใช้กับเครื่องข่ำยขนำดใหญ่ได้  ระบบควำมปลอดภัยดี  รำคำถูก  ติดตั้งง่ำย ใช้งำนง่ำย  ไม่จำเป็นต้องจัดหำเครื่องไปทำเป็นเซิร์ฟเวอร์โดยเฉพำะ ข้อเสีย  รำคำสูง  ติดตั้งยุ่งยำกกว่ำ  ต้องมีผู้ดูแลระบบ (System Administrator  ควำมเร็วในกำรให้บริกำรไม่สูงเท่ำแบบ Server Based  ขยำยระบบได้จำกัด ไม่เหมำะกับเครือข่ำยขนำดใหญ่  ระบบควำมปลอดภัยไม่เข้มงวดมำกนัก ข้อดี-ข้อเสียPros and Cons
  • 93. การทางานของคอมพิวเตอร์ในเครือข่าย สำหรับเครื่องเซิร์ฟเวอร์ที่อยู่ในระบบ LAN นั้นอำจทำได้หลำยลักษณะ แล้วแต่ควำมเหมำะสมในกำรใช้งำนดังตัวอย่ำงต่อไปนี้ File Server เครื่อง Server เป็นผู้จัดกำรระบบไฟล์ โดยจะรับคำสั่งมำจำก Client ว่ำจะให้อ่ำน/ บันทึกข้อมูลกับไฟล์ใด แล้วจึงจัดกำรกับไฟล์ในอุปกรณ์จัดเก็บข้อมูล ตำมคำขอของ เครื่องลูกข่ำย แต่ถ้ำในเวลำเดียวกันมีผู้ใช้หลำยคนจะแก้ไขข้อมูลชุดเดียวกัน ระบบปฏิบัติกำรของไฟล์เซิร์ฟเวอร์จะป้องกันข้อมูลไม่ให้ถูกแก้ไขโดยผู้ใช้หลำยคน พร้อมๆ กันด้วยกำร Lock คือขณะที่คนหนึ่งกำลังแก้ไขข้อมูลตัวหนึ่งอยู่ จะต้อง Lock ข้อมูลนั้นไม่ให้คนอื่นเข้ำยุ่ง (อำจเรียกดูได้แต่แก้ไขไม่ได้) จนกว่ำจะทำงำนเสร็จ คน อื่นๆ ที่ต้องกำรเข้ำมำแก้ไขข้อมูลต้องคอยจนกว่ำคนแรกจะยกเลิกกำร Lock ก่อน