SlideShare a Scribd company logo
1 of 19
Download to read offline
รายงาน
เรือง
่

เครือข่ายคอมพิวเตอร์

จัดทาโดย
นางสาวสวลี คงยืน เลขที่ 28
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/1

เสนอ
ครูจุฑารัตน์

ใจบุญ

โรงเรียนรัษฎานุประดิษฐ์อนุสรณ์
คานา
รายงานเล่มนี้เป็ นส่ วนหนึ่งของวิชา การงานอาชีพและเทคโนโลยี จัดทาขึ้นเพื่อเป็ นการเรี ยน การ
สอน ในวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ และยังเป็ นประโยชน์ต่อผูเ้ รี ยน ผูสอน หรื อผูที่จะศึกษาในเรื่ องของ
้
้
เครื อข่ายคอมพิวเตอร์ ที่มีท้ ง ความสาคัญของระบบเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ ประเภทของเครื อข่าย
ั
คอมพิวเตอร์ องค์ประกอบของเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ โครงสร้างของเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ และประโยชน์
่
ของระบบเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ ที่รวมอยูในเล่มนี้ ทาให้ง่ายในการค้นคว้า และค้นหาข้อมูล อีกทั้งยังทาให้
เรามีความรู ้ และความเข้าใจในเรื่ องนี้ เพิ่มขึ้นอีกด้วย
หากรายงานเล่มนี้ผิดพลาด หรื อเนื้อหาไม่ตรงตามเป้ าหมายประการใด ก็ขออภัยไว้ ณ ที่น้ ีดวย
้
ผู้จัดทา
สารบัญ
เรื่อง

หน้ า

เครือข่ ายคอมพิวเตอร์
- ความสาคัญของระบบเครื อข่ายคอมพิวเตอร์
- ประเภทของเครื อข่ายคอมพิวเตอร์
- องค์ประกอบของเครื อข่ายคอมพิวเตอร์
- โครงสร้างของเครื อข่ายคอมพิวเตอร์
- ประโยชน์ของระบบเครื อข่ายคอมพิวเตอร์

1
2
4
7
12
13

บรรณานุกรม

15
เครือข่ ายคอมพิวเตอร์ (computer network )
เครือข่ ายคอมพิวเตอร์ หรื อ คอมพิวเตอร์ เน็ตเวิร์ก computer network คือเครื อข่ายการสื่ อสาร
โทรคมนาคมระหว่างคอมพิวเตอร์ จานวน ตั้งแต่สองเครื่ องขึ้นไปสามารถแลกเปลี่ยนข้อมูลกันได้ การ
เชื่อมต่อระหว่างอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ ต่างๆในเครื อข่าย (โหนดเครื อข่าย) จะใช้สื่อที่เป็ นสายเคเบิลหรื อสื่ อไร้
สาย เครื อข่ายคอมพิวเตอร์ ที่รู้จกกันดีคือ อินเทอร์ เน็ต
ั
การที่ระบบเครื อข่ายมีบทบาทสาคัญมากขึ้นในปั จจุบน เพราะมีการใช้งานคอมพิวเตอร์ อย่าง
ั
แพร่ หลาย จึงเกิดความต้องการที่จะเชื่ อมต่อคอมพิวเตอร์ เหล่านั้นถึงกัน เพื่อเพิ่มความสามารถของระบบให้
สู งขึ้น และลดต้นทุนของระบบโดยรวมลง
การโอนย้ายข้อมูลระหว่างกันในเครื อข่าย ทาให้ระบบมีขีดความสามารถเพิมมากขึ้น การแบ่งการ
่
ใช้ทรัพยากร เช่น หน่วยประมวลผล, หน่วยความจา, หน่วยจัดเก็บข้อมูล, โปรแกรมคอมพิวเตอร์ และ
อุปกรณ์ต่าง ๆ ที่มีราคาแพงและไม่สามารถจัดหามาให้ทุกคนได้ เช่น เครื่ องพิมพ์ เครื่ องกราดภาพ (scanner)
ทาให้ลดต้นทุนของระบบลงได้
อุปกรณ์เครื อข่ายที่สร้างข้อมูล, ส่ งมาตามเส้นทางและบรรจบข้อมูลจะเรี ยกว่าโหนดเครื อข่าย.
โหนดประกอบด้วยโฮสต์เช่นเซิ ร์ฟเวอร์ , คอมพิวเตอร์ ส่วนบุคคลและฮาร์ ดแวร์ ของระบบเครื อข่าย อุปกรณ์
สองตัวจะกล่าวว่าเป็ นเครื อข่ายได้ก็ต่อเมื่อกระบวนการในเครื่ องหนึ่ง สามารถที่จะแลกเปลี่ยนข้อมูลกับ
กระบวนการในอีกอุปกรณ์หนึ่งได้
เครื อข่ายจะสนับสนุนแอปพลิเคชันเช่นการเข้าถึงเวิลด์ไวด์เว็บ, การใช้งานร่ วมกันของแอปพลิเค
ชัน, การใช้เซิ ร์ฟเวอร์ สาหรับเก็บข้อมูลร่ วมกัน, การใช้เครื่ องพิมพ์และเครื่ องแฟ็ กซ์ร่วมกันและการใช้อีเมล
และโปรแกรมส่ งข้อ ความโต้ตอบแบบทันทีร่วมกัน

1
ความสาคัญของเครือข่ ายคอมพิวเตอร์

ธรรมชาติมนุษย์ตองอยูรวมกันเป็ นกลุ่ม มีการติดต่อสื่ อสารระหว่างกัน ร่ วมกันทางานสร้างสรร
้ ่
่
สังคมเพื่อให้ ความเป็ นอยูโดยรวมดีข้ ึน จากการดาเนินชีวิตร่ วมกันทั้งในด้านครอบครัว การทางาน
ตลอดจนสังคมและการเมือง ทาให้ตองมีการพบปะแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างกัน เมื่อมนุษย์มีความจาเป็ นที่
้
จะติดต่อสื่ อสารระหว่างกัน พัฒนาการ ทางด้านคอมพิวเตอร์จึงต้องตอบสนองเพื่อให้ใช้งานได้ตามความ
ต้องการ แรกเริ่ มมีการพัฒนาคอมพิวเตอร์ แบบ รวมศูนย์ เช่น มินิคอมพิวเตอร์ หรื อ เมนเฟรม โดยให้
ผูใช้งานใช้พร้อมกันได้หลายคน แต่ละคนเปรี ยบเสมือน เป็ นสถานีปลายทาง ที่เรี ยกใช้ทรัพยากร การ
้
คานวณจากศูนย์คอมพิวเตอร์ และให้คอมพิวเตอร์ ตอบสนองต่อ การทางานนั้น ต่อมามีการพัฒนา
ไมโครคอมพิวเตอร์ ที่ทาให้สะดวกต่อการใช้งานส่ วนบุคคล จนมีการเรี ยกไมโครคอมพิวเตอร์ ว่า พีซี
(Personal Competer:PC) การใช้งานคอมพิวเตอร์ จึงแพร่ หลายอย่างรวดเร็ ว เพราะการใช้งานง่ายราคา
ไม่สูงมาก สามารถจัดหามาใช้ได้ไม่ยาก เมื่อ มีการใช้งานกันมาก บริ ษทผูผลิตคอมพิวเตอร์ ต่างๆ ก็
ั ้
ปรับปรุ ง และพัฒนาเทคโนโลยีให้ตอบสนองความต้องการที่จะทางานร่ วมกันเป็ นกลุ่มในรู ปแบบเครื อข่าย
คอมพิวเตอร์ จึงเป็ นวิธีการหนึ่ง และกาลังได้รับความนิยมสู งมาก เพราะทาให้ตอบสนองตรงความ
ต้องการที่จะติดต่อสื่ อสาร ข้อมูลระหว่างกัน
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ได้รับการพัฒนาเรื่ อยมาจาก
เครื่ องคอมพิวเตอร์ ขนาดใหญ่ได้แก่ เมนเฟรม มินิคอมพิวเตอร์ มาเป็ นไมโครคอมพิวเตอร์ ที่มีขนาดเล็กลง
แต่มีประสิ ทธิ ภาพสู งขึ้นไมโครคอมพิวเตอร์ ก็ได้รับ การพัฒนาให้มีขีดความสามารถและทางานได้มาก
ขึ้น จนกระทังคอมพิวเตอร์ สามารถทางานร่ วมกันเป็ นกลุ่มได้ ดังนั้นจึงมีการพัฒนาให้คอมพิวเตอร์ ทางาน
่
ในรู ปแบบ เครือข่ ายคอมพิวเตอร์ คือนาเอาเครื่ องคอมพิวเตอร์ ขนาดใหญ่มาเป็ นสถานี บริ การ หรื อที่
เรี ยกว่า เครื่องให้ บริการ (Server ) และให้ไมโครคอมพิวเตอร์ตาม หน่วยงานต่างๆ เป็ นเครื่องใช้ บริการ
(Client) โดยมีเครื อข่าย(Network) เป็ นเส้นทางเชื่อมโยงคอมพิวเตอร์จาก จุดต่างๆ

2
ในที่สุดระบบเครื อข่ายก็จะเข้ามาแทนระบบคอมพิวเตอร์ เดิมที่เป็ นแบบรวมศูนย์ได้ เครื อข่าย
คอมพิวเตอร์ ทวีความสาคัญและได้รับความนิยมมากขึ้น เพราะสามารถสร้างระบบคอมพิวเตอร์ให้
พอเหมาะกับงาน ในธุ รกิจขนาดเล็กที่ไม่มีกาลังในการลงทุนซื้ อเครื่ องคอมพิวเตอร์ ที่มีราคาสู งเช่น
มินิคอมพิวเตอร์ ก็สามารถใช้ไมโครคอมพิวเตอร์ หลายเครื่ องต่อเชื่อมโยงกันเป็ นเครื อข่าย โดยให้
ไมโครคอมพิวเตอร์เครื่ องหนึ่ง เป็ นสถานีบริ การที่ทาให้ใช้งานข้อมูลร่ วมกันได้ เมื่อกิจการเจริ ญก้าวหน้า
ขึ้นก็สามารถขยายเครื อข่ายการใช้ คอมพิวเตอร์ โดยเพิ่มจานวนเครื่ องหรื อขยายความจุขอมูลให้พอเหมาะกับ
้
องค์กร ในปั จจุบนองค์การขนาดใหญ่ก็สามารถลดการลงทุนลงได้ โดยใช้เครื อข่ายคอมพิวเตอร์ เชื่ อมโยง
ั
จากกลุ่มเล็ก ๆ หลาย ๆ กลุ่มรวมกันเป็ นเครื อข่ายขององค์การ โดยสภาพการใช้ขอมูลสามารถทาได้ดี
้
เหมือน เช่นในอดีตที่ตองลงทุนจานวนมาก เครื อข่ายคอมพิวเตอร์ มีบทบาทที่สาคัญต่อหน่วยงานต่างๆ ดังนี้
้
1. ทาให้เกิดการทางานร่ วมกันเป็ นกลุ่ม และสามารถทางานพร้อมกัน
2. ให้สามารถใช้ขอมูลต่างๆ ร่ วมกัน ซึ่ งทาให้องค์การได้รับประโยชน์มากขึ้น
้
3. ทาให้สามารถใช้ทรัพยากรได้คุมค่า เช่น ใช้เครื่ องประมวลผลร่ วมกัน แบ่งกันใช้แฟ้ มข้อมูล ใช้
้
เครื่ องพิมพ์ และอุปกรณ์ที่มีราคาแพงร่ วมกัน
4. ทาให้ลดต้นทุน เพราะการลงทุนสามารถลงทุนให้เหมาะสมกับหน่วยงานได้

3
ประเภทของเครือข่ ายคอมพิวเตอร์
เครื อข่ายสามารถจาแนกออกได้หลายประเภท แล้วแต่เกณฑ์ที่ใช้ เช่น ขนาด ลักษณะการ
แลกเปลี่ยนข้อมูลของคอมพิวเตอร์ เป็ นต้น โดยทัวไปการจาแนกประเภทของเครื อข่ายมีอยู่ 3 วิธีคือ
่
1. ใช้ ขนาดทางกายภาพของเครือข่ ายเป็ นเกณฑ์ แบ่ งออกได้ เป็ น 3 ประเภทดังนี้
1.1 LAN (Local Area Network) : ระบบเครื อข่ายระดับท้องถิ่น
่
่
่ ั
เป็ นระบบเครื อข่ายที่ใช้งานอยูในบริ เวณที่ไม่กว้างนัก อาจใช้อยูภายในอาคารเดียวกันหรื ออาคารที่อยูใกล้กน
เช่น ภายในมหาวิทยาลัย อาคารสานักงาน คลังสิ นค้า หรื อโรงงาน เป็ นต้น การส่งข้อมูลสามารถทาได้ดวยความเร็ วสูง
้
และมีขอผิดพลาดน้อย ระบบเครื อข่ายระดับท้องถิ่นจึงถูกออกแบบมาให้ช่วยลดต้นทุนและเพื่อเพิม ประสิ ทธิภาพในการ
้
่
ทางาน และใช้งานอุปกรณ์ต่าง ๆ ร่ วมกัน

1.2 MAN (Metropolitan Area Network) : ระบบเครื อข่ายระดับเมือง
่
เป็ นระบบเครื อข่ายที่มีขนาดอยูระหว่าง Lan และ Wan เป็ นระบบเครื อข่ายที่ใช้ภายในเมืองหรื อจังหวัด
ั
เท่านั้น การเชื่อมโยงจะต้องอาศัยระบบบริ การเครื อข่ายสาธารณะ จึงเป็ นเครื อข่ายที่ใช้กบองค์การที่มีสาขาห่างไกลและ
ต้องการเชื่อมสาขา เหล่านั้นเข้าด้วยกัน เช่น ธนาคาร เครื อข่ายแวนเชื่อมโยงระยะไกลมาก จึงมีความเร็ วในการสื่ อสารไม่
ั
สูง เนื่องจากมีสญญาณรบกวนในสาย เทคโนโลยีที่ใช้กบเครื อข่ายแวนมีความหลากหลาย มีการเชื่อมโยงระหว่างประเทศ
ั
ด้วยช่องสัญญาณดาวเทียม เส้นใยนาแสง คลื่นไมโครเวฟ คลื่นวิทยุ สายเคเบิล

1.3 WAN (Wide Area Network) : ระบบเครื อข่ายระดับประเทศ หรื อเครื อข่ายบริ เวณกว้าง
่
เป็ น ระบบเครื อข่ายที่ติดตั้งใช้งานอยูในบริ เวณกว้าง เช่น ระบบเครื อข่ายที่ติดตั้งใช้งานทัวโลก เป็ นเครื อข่ายที่
่
่
เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์หรื ออุปกรณ์ที่อยูห่างไกลกันเข้าด้วย กัน อาจจะต้องเป็ นการติดต่อสื่ อสารกันในระดับประเทศ ข้าม
ทวีปหรื อทัวโลกก็ได้ ในการเชื่อมการติดต่อนั้น จะต้องมีการต่อเข้ากับระบบสื่ อสารขององค์การโทรศัพท์หรื อการสื่ อสาร
่
แห่ง ประเทศไทยเสี ยก่อน เพราะจะเป็ นการส่งข้อมูลผ่านสายโทรศัพท์ในการติดต่อสื่ อสารกันโดยปกติมี อัตราการส่ง
ข้อมูลที่ต่าและมีโอกาสเกิดข้อผิดพลาด การส่งข้อมูลอาจใช้อุปกรณ์ในการสื่ อสาร เช่น โมเด็ม (Modem) มาช่วย

2. ใช้ ลกษณะหน้ าทีการทางานของคอมพิวเตอร์ ในเครือข่ ายเป็ นเกณฑ์ สามารถแบ่ งได้ เป็ น 2 ประเภทดังนี้
ั
่
2.1 Peer-to-Peer Network หรื อเครื อข่ายแบบเท่าเทียม
เป็ นการเชื่อมต่อเครื่ องคอมพิวเตอร์ เข้าด้วยกัน โดยเครื่ องคอมพิวเตอร์ แต่ละเครื่ อง จะสามารถแบ่ง
่
ทรัพยากรต่างๆ ไม่วาจะเป็ นไฟล์หรื อเครื่ องพิมพ์ซ่ ึ งกันและกันภายในเครื อข่ายได้ เครื่ องแต่ละเครื่ องจะ
ทางานในลักษณะที่ทดเทียมกัน ไม่มีเครื่ องใดเครื่ องเครื่ องหนึ่งเป็ นเครื่ องหลักเหมือนแบบ Client / Server
ั
แต่ก็ยงคงคุณสมบัติพ้ืนฐานของระบบเครื อข่ายไว้เหมือนเดิม การเชื่ อมต่อแบบนี้มกทาในระบบที่มีขนาด
ั
ั
เล็กๆ เช่น หน่วยงานขนาดเล็กที่มีเครื่ องใช้ไม่เกิน 10 เครื่ อง การเชื่อมต่อแบบนี้มีจุดอ่อนในเรื่ องของระบบ
รักษาความปลอดภัย แต่ถาเป็ นเครื อข่ายขนาดเล็ก และเป็ นงานที่ไม่มีขอมูลที่เป็ นความลับมากนัก เครื อข่าย
้
้
แบบนี้ ก็เป็ นรู ปแบบที่น่าเลือกนามาใช้ได้เป็ นอย่างดี
4
2.2 Client-Server Network หรื อเครื อข่ายแบบผูใช้บริ การและผูให้บริ การ
้
้
เป็ น ระบบที่มีเครื่ องคอมพิวเตอร์ ทุกเครื่ องมีฐานะการทางานที่เหมือน ๆ กัน เท่าเทียมกันภายใน
ระบบ เครื อข่าย แต่จะมีเครื่ องคอมพิวเตอร์ เครื่ องหนึ่ง ที่ทาหน้าที่เป็ นเครื่ อง Server ที่ทาหน้าที่ให้บริ การ
ั
ทรัพยากรต่าง ๆ ให้กบ เครื่ อง Client หรื อเครื่ องที่ขอใช้บริ การ ซึ่งอาจจะต้องเป็ นเครื่ องที่มีประสิ ทธิภาพที่
ค่อนข้างสู ง ถึงจะทาให้การให้บริ การมีประสิ ทธิ ภาพตามไปด้วย ข้อดีของระบบเครื อข่าย Client - Server
เป็ นระบบที่มีการรักษาความปลอดภัยสู งกว่า ระบบแบบ Peer To Peer เพราะว่าการจัดการในด้านรักษา
ความปลอดภัยนั้น จะทากันบนเครื่ อง Server เพียงเครื่ องเดียว ทาให้ดูแลรักษาง่าย และสะดวก มีการกาหนด
ั
สิ ทธิ การเข้าใช้ทรัพยากรต่าง ๆให้กบเครื่ องผูขอใช้บริ การ หรื อเครื่ องClient
้
3. ใช้ ระดับความปลอดภัยของข้ อมูลเป็ นเกณฑ์
การแบ่งประเภทเครื อข่ายตามระดับความปลอดภัยของข้อมูล ซึ่ งจะแบ่งออกได้เป็ น 3 ประเภทคือ
อินเทอร์ เน็ต (Internet) อินทราเน็ต (Intranet) และ เอ็กส์ทราเน็ต (Extranet) อินเทอร์ เน็ตเป็ นเครื อข่าย
สาธารณะที่ทุกคนสามารถเชื่อมต่อเข้าได้ เครื อข่ายนี้จะไม่มีความปลอดภัยของข้อมูลเลย ถ้าทุกคนสามารถ
เข้าถึงข้อมูลที่แชร์ไว้บนอินเทอร์ เน็ตได้ ในทางตรงกันข้าม อินทราเน็ตเป็ นเครื อข่ายส่ วนบุคคล ข้อมูลจะถูก
่ ้
่
แชร์เฉพาะผูที่ใช้อยูขางในเท่านั้น หรื อผูใช้อินเทอร์ เน็ตไม่สามารถเข้ามาดูขอมูลในอินทราเน็ตได้ ถึงแม้วา
้
้
้
่
ทั้งสองเครื อข่ายจะมีการเชื่ อมต่อกันอยูก็ตาม ส่ วนเอ็กทราเน็ตนั้นเป็ นเครื อข่ายแบบกึ่งอินเทอร์ เน็ตและ
อินทราเน็ตกล่าวคือ การเข้าใช้เอ็กส์ทราเน็ตนั้นมีการควบคุม เอ็กส์ทราเน็ตส่ วนใหญ่จะเป็ นเครื อข่ายที่
เชื่อมต่อระหว่างองค์กรเพื่อแลก เปลี่ยนข้อมูลบางอย่างซึ่ งกันและกัน ในการแลกเปลี่ยนข้อมูลนี้ตองมีการ
้
ควบคุม เพราะเฉพาะข้อมูลบางอย่างเท่านั้นที่ตองการแลกเปลี่ยน
้
3.1 อินเทอร์ เน็ต (Internet) เครื อข่ายสาธารณะ
อินเทอร์ เน็ตเป็ นเครื อข่ายที่ครอบคลุมทัวโลก ซึ่ งมีคอมพิวเตอร์ เป็ นล้านๆเครื่ องเชื่อมต่อเข้ากับ
่
ระบบและยังขยายตัวขึ้น เรื่ อย ๆ ทุกปี อินเทอร์ เน็ตมีผใช้ทวโลกหลายร้อยล้านคน และผูใช้เหล่านี้สามารถ
ู ้ ั่
้
แลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารกันได้อย่างอิสระ โดยที่ระยะทางและเวลาไม่เป็ นอุปสรรค นอกจากนี้ผใช้ยง
ู้ ั
สามารถเข้าดูขอมูลต่าง ๆ ที่ถูกตีพิมพ์ในอินเทอร์ เน็ตได้ อินเทอร์ เน็ตเชื่ อมแหล่งข้อมูลต่าง ๆ เข้าด้วยกัน
้
่
ไม่วาจะเป็ นองค์กรธุ รกิจ มหาวิทยาลัย หน่วยงานของรัฐบาล หรื อแม้กระทังแหล่งข้อมูลบุคคล องค์กรธุ รกิจ
่
หลายองค์กรได้ใช้อินเทอร์ เน็ตช่วยในการทาการค้า เช่น การติดต่อซื้ อขายผ่านอินเทอร์ เน็ตหรื ออีคอมเมิร์ช
(E-Commerce) ซึ่ งเป็ นอีกช่องทางหนึ่งสาหรับการทาธุ รกิจที่กาลังเป็ นที่นิยม เนื่องจากมีตนทุนที่ถูกกว่า
้
และมีฐานลูกค้าที่ใหญ่มาก ส่ วนข้อเสี ยของอินเทอร์ เน็ตคือ ความปลอดภัยของข้อมูล เนื่องจากทุกคน
สามารถเข้าถึงข้อมูลทุกอย่างที่แลกเปลี่ยนผ่านอินเทอร์ เน็ต ได้
5
อินเทอร์ เน็ตใช้โปรโตคอลที่เรี ยกว่า “TCP/IP (Transport Connection Protocol/Internet Protocol)”
ในการสื่ อสารข้อมูลผ่านเครื อข่าย ซึ่ งโปรโตคอลนี้เป็ นผลจากโครงการหนึ่งของกระทรวงกลาโหมสหรัฐฯ
โครงการนี้มีชื่อว่า ARPANET (Advanced Research Projects Agency Network) ในปี ค.ศ.1975 จุดประสงค์
่
ของโครงการนี้เพื่อเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์ ที่อยูห่างไกลกัน และภายหลังจึงได้กาหนดให้เป็ นโปรโตคอล
มาตรฐานในเครื อข่ายอินเทอร์ เน็ต
ในปั จจุบนอินเทอร์ เน็ตได้กลายเป็ นเครื อข่ายสาธารณะ ซึ่ งไม่มีผใดหรื อองค์กรใดองค์กรหนึ่งเป็ น
ั
ู้
เจ้าของอย่างแท้จริ ง การเชื่อมต่อเข้ากับอินเทอร์ เน็ตต้องเชื่ อมต่อผ่านองค์กรที่เรี ยกว่า “ISP (Internet Service
Provider)” ซึ่งจะทาหน้าที่ให้บริ การในการเชื่อมต่อเข้ากับอินเทอร์ เน็ต นันคือ ข้อมูลทุกอย่างที่ส่งผ่าน
่
เครื อข่าย ทุกคนสามารถดูได้ นอกเสี ยจากจะมีการเข้ารหัสลับซึ่งผูใช้ตองทาเอง
้ ้
3.2 อินทราเน็ต (Intranet) หรื อเครื อข่ายส่ วนบุคคล
ตรงกันข้ามกับอินเทอร์ เน็ต อินทราเน็ตเป็ นเครื อข่ายส่ วนบุคคลที่ใช้เทคโนโลยีอินเทอร์ เน็ต เช่น
เว็บ, อีเมล, FTP เป็ นต้น อินทราเน็ตใช้โปรโตคอล TCP/IP สาหรับการรับส่ งข้อมูลเช่นเดียวกับอินเทอร์ เน็ต
ั
ซึ่ งโปรโตคอลนี้สามารถใช้ได้กบฮาร์ ดแวร์ หลายประเภท และสายสัญญาณหลายประเภท ฮาร์ ดแวร์ที่ใช้
สร้างเครื อข่ายไม่ใช่ปัจจัยหลักของอินทราเน็ต แต่เป็ นซอฟต์แวร์ ที่ทาให้อินทราเน็ตทางานได้ อินทราเน็ต
เป็ นเครื อข่ายที่องค์กรสร้างขึ้นสาหรับให้พนักงานขององค์กรใช้ เท่านั้น การแชร์ ขอมูลจะอยูเ่ ฉพาะใน
้
อินทราเน็ตเท่านั้น หรื อถ้ามีการแลกเปลี่ยนข้อมูลกับโลกภายนอกหรื ออินเทอร์ เน็ต องค์กรนั้นสามารถที่จะ
กาหนดนโยบายได้ ในขณะที่การแชร์ ขอมูลอินเทอร์ เน็ตนั้นยังไม่มีองค์กรใดที่สามารถควบคุมการ
้
แลกเปลี่ยนข้อมูลได้ เมื่อเชื่อมต่อเข้ากับอินเทอร์ เน็ต พนักงานบริ ษทของบริ ษทสามารถติดต่อสื่ อสารกับ
ั
ั
โลกภายนอกเพื่อการค้นหาข้อมูล หรื อทาธุ รกิจต่าง ๆ การใช้โปรโตคอล TCP/IP ทาให้ผใช้สามารถเข้าใช้
ู้
เครื อข่ายจากที่ห่างไกลได้ (Remote Access) เช่น จากที่บาน หรื อในเวลาที่ตองเดินทางเพื่อติดต่อธุ รกิจ การ
้
้
เชื่อมต่อเข้ากับอินทราเน็ต โดยการใช้โมเด็มและสายโทรศัพท์ ก็เหมือนกับการเชื่อมต่อเข้ากับอินเทอร์ เน็ต
แต่แตกต่างกันที่เป็ นการเชื่ อมต่อเข้ากับเครื อข่ายส่ วนบุคคลแทนที่จะเป็ น เครื อข่ายสาธารณะอย่างเช่น
อินเทอร์ เน็ต การเชื่อมต่อกันได้ระหว่างอินทราเน็ตกับอินเทอร์ เน็ตถือเป็ นประโยชน์ที่ สาคัญอย่างหนึ่ง
ระบบการรักษาความปลอดภัยเป็ นสิ่ งที่แยกอินทราเน็ตออกจากอินเทอร์ เน็ต เครื อข่ายอินทราเน็ตขององค์กร
จะถูกปกป้ องโดยไฟร์วอลล์ (Firewall) ซึ่ งอาจจะเป็ นได้ท้ งฮาร์ ดแวร์ และซอฟต์แวร์ ที่ทาหน้าที่กรองข้อมูลที่
ั
แลก เปลี่ยนกันระหว่างอินทราเน็ตและอินเทอร์ เน็ตเมื่อทั้งสองระบบมีการเชื่ อมต่อ กัน ดังนั้นองค์กร
สามารถกาหนดนโยบายเพื่อควบคุมการเข้าใช้งานอินทราเน็ตได้
อินทราเน็ตสามารถสนองความต้องการของผูใช้ในองค์กรได้หลายอย่าง ความง่ายในการตีพิมพ์บน
้
เว็บทาให้เป็ นที่นิยมในการประกาศข่าวสารขององค์กร เช่น ข่าวภายในองค์กร กฎ ระเบียบ และมาตรฐาน
การปฏิบติงานต่าง ๆ เป็ นต้น หรื อแม้กระทังการเข้าถึงฐานข้อมูลขององค์กรก็ง่ายเช่นกัน ผูใช้สามารถ
ั
้
่
ทางานร่ วมกันได้ง่าย และมีประสิ ทธิ ภาพมากขึ้น
6
3.3 เอ็กส์ ทราเน็ต (Extranet) หรื อเครื อข่ายร่ วม
เอ็กส์ทราเน็ต (Extranet) เป็ นเครื อข่ายกึ่งอินเทอร์ เน็ตกึ่งอินทราเน็ต กล่าวคือ เอ็กส์ทราเน็ตคือ
เครื อข่ายที่เชื่อมต่อระหว่างอินทราเน็ตของสององค์กร ดังนั้นจะมีบางส่ วนของเครื อข่ายที่เป็ นเจ้าของ
ร่ วมกันระหว่างสององค์กรหรื อ บริ ษท การสร้างอินทราเน็ตจะไม่จากัดด้วยเทคโนโลยี แต่จะยากตรง
ั
นโยบายที่เกี่ยวกับการรักษาความปลอดภัยของข้อมูลที่ท้ งสอง องค์กรจะต้องตกลงกัน เช่น องค์กรหนึ่ง
ั
อาจจะอนุญาตให้ผใช้ของอีกองค์กรหนึ่งล็อกอินเข้าระบบอินทรา เน็ตของตัวเองหรื อไม่ เป็ นต้น การสร้าง
ู้
เอ็กส์ทราเน็ตจะเน้นที่ระบบการรักษาความปลอดภัยข้อมูล รวมถึงการติดตั้งไฟร์ วอลล์หรื อระหว่าง
อินทราเน็ตและการเข้ารหัสข้อมูลและ สิ่ งที่สาคัญที่สุดก็คือ นโยบายการรักษาความปลอดภัยข้อมูลและการ
บังคับใช้

องค์ ประกอบของระบบเครือข่ าย
ระบบเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ มีองค์ประกอบที่สาคัญ เพื่อการเชื่อมต่อเป็ นเครื อข่ายคอมพิวเตอร์
ได้แก่ คอมพิวเตอร์ แม่ข่าย (File Server) ช่องทางการสื่ อสาร (Communication Chanel) สถานีงาน
(Workstation or Terminal) และ อุปกรณ์ในเครื อข่าย (Network Operation System)
1. คอมพิวเตอร์ แม่ ข่าย
คอมพิวเตอร์ แม่ข่าย หมายถึงคอมพิวเตอร์ ที่ทาหน้าที่เป็ นผูให้บริ การทรัพยากร (Resources) ต่าง
้
ๆ ซึ่ งได้แก่ หน่วยประมวลผล หน่วยความจา หน่วยความจาสารอง ฐานข้อมูล และ โปรแกรมต่าง ๆ เป็ นต้น
ในระบบเครื อข่ายท้องถิ่น (LAN) มักเรี ยกว่าคอมพิวเตอร์ แม่ข่าย ในระบบเครื อข่ายระยะไกล ที่ใช้
เมนเฟรมคอมพิวเตอร์ หรื อ มินิคอมพิวเตอร์ เป็ นศูนย์กลางของเครื อข่าย เรานิยมเรี ยกว่า
Host Computer และเรี ยกเครื่ องที่รอรับบริ การว่าลูกข่ายหรื อสถานีงาน
2. ช่ องทางการสื่ อสาร
ช่อง ทางการสื่ อสาร หมายถึง สื่ อกลางหรื อเส้นทางที่ใช้เป็ นทางผ่าน ในการรับส่ งข้อมูล ระหว่าง
ผูรับ (Receiver) และผูส่งข้อมูล (Transmitter) ปั จจุบนมีช่องทางการสื่ อสาร สาหรับการเชื่ อมต่อเครื อข่าย
้
้
ั
คอมพิวเตอร์ มีหลายประเภทคือ สายโทรศัพท์แบบสายคู่ตีเกลียวไม่มีฉนวนหุ ม (UTP) สายคู่ตีเกลียว แบบมี
้
ฉนวนหุม (STP) สายโคแอคเชียล สายใยแก้วนาแสง คลื่นไมโครเวป และดาวเทียม เป็ นต้น
้

7
3. สถานีงาน
สถานีงาน (Workstation or Terminal) หมายถึง อุปกรณ์หรื อเครื่ องไมโครคอมพิวเตอร์ ที่เชื่อมต่อ
กับเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ ทาหน้าที่เป็ นสถานีปลายทางหรื อสถานีงาน ที่ได้รับการบริ การจากเครื่ อง
คอมพิวเตอร์ แม่ข่าย เรี ยกว่าเป็ นคอมพิวเตอร์ ลูกข่าย (Workstation) ในระบบเครื อข่ายระยะใกล้ มักมีหน่วย
ประมวลผล หรื อซีพียของตนเอง ในระบบที่ใช้เครื่ องคอมพิวเตอร์เมนเฟรม เป็ นศูนย์กลาง เรี ยกสถานี
ู
ปลายทางว่าเทอร์ มินอล (Terminal) ประกอบด้วยจอภาพและแป้ นพิมพ์เท่านั้น ไม่มีหน่วยประมวลกลางของ
ตัวเอง ต้องใช้หน่วยประมวลผลของคอมพิวเตอร์ ศูนย์กลางหรื อ Host
4. อุปกรณ์ ในเครือข่ าย
1.โมเด็ม (Modem)
โมเด็มเป็ นฮาร์ดแวร์ที่ทาหน้าที่แปลงสัญญาณแอนะล็อกให้เป็ นสัญญาณดิจิ ตัล เมื่อข้อมูลถูกส่ ง
มายังผูรับละแปลงสัญญาณดิจิตลให้เป็ นแอนะล็อก เมื่อต้องการส่ งข้อมูลไปบนช่องสื่ อสาร กระบวนการที่
้
ั
โมเด็มแปลงสัญญาณดิจิตลให้เป็ นสัญญาณแอนะล็อก เรี ยกว่า มอดูเลชัน (Modulation) โมเด็มทาหน้าที่ มอ
ั
ดูเลเตอร์ (Modulator) กระบวนการที่โมเด็มแปลงสัญญาณแอนะล็อก ให้เป็ นสัญญาณแอนะล็อก ให้เป็ น
สัญญาณดิจิตล เรี ยกว่า ดีมอดูเลชัน (Demodulation) โมเด็มหน้าที่ ดีมอดูเลเตอร์ (Demodulator)โมเด็มที่ใช้
ั
กันอย่างแพร่ หลายในปั จจุบนมี 2 ประเภทโมเด็กในปั จจุบนทางานเป็ นทั้งโมเด็มและ เครื่ องโทรสาร เรา
ั
ั
เรี ยกว่า Faxmodem
2. การ์ ดเครือข่ าย (Network Adapter) หรือ การ์ ด LAN
เป็ นอุปกรณ์ทาหน้าที่สื่อสารระหว่างเครื่ องต่างกันได้ไม่จาเป็ นต้องเป็ นรุ่ น หรื อยีหอเดียวกันแต่หาก
่ ้
ซื้ อพร้อมๆกันก็แนะนาให้ซ้ื อรุ่ นและยีหอเดียวกัน จะดีกว่าและควรเป็ น การ์ ดแบบ PCI เพราะสามารถส่ ง
้
ข้อมูลได้เร็ วกว่าแบบ ISAและเมนบอร์ ดรุ่ นใหม่ๆมักจะไม่มี Slot ISA ควรเป็ นการ์ดที่มีความเร็ วเป็ น 100
Mbpsซึ่ งจะมีราคามากกว่าการ์ ดแบบ 10 Mbps ไม่มากนัก แต่ส่งขอมูลได้เร็ วกว่า นอกจากนี้คุณควรคาหนึ
งถึงขั้วต่อหรื อคอนเน็กเตอร์ ของการ์ ดด้วยโดยทัวไปคอน เน็กเตอร์ ของการ์ด LAN จะมีหลายแบบ เช่น
่
BNC , RJ-45 เป็ นต้น ซึ่งคอนเน็กเตอร์ แต่ละแบบก็จะใช้สายที่แตกต่างกัน

8
3. เกตเวย์ (Gateway)

เกตเวย์ เป็ นอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์อีกอย่างหนึ่งที่ช่วยในการสื่ อสารข้อมูล คอมพิวเตอร์หน้าที่หลัก
คือช่วยให้เครื อข่ายคอมพิวเตอร์ 2 เครื อข่ายหรื อมากกว่า ซึ่ งมีลกษณะไม่เหมือนกันสามารถติดต่อสื่ อสาร
ั
กันได้เหมือนเป็ นเครื อข่าย เดียวกัน
4. เราเตอร์ (Router)

เราเตอร์ เป็ นอุปกรณ์ในระบบเครื อข่ายที่ทาหน้าที่เป็ นตัวเชื่ อมโยงให้เครื อ ข่ายที่มีขนาดหรื อ
่ ั
มาตรฐานในการส่ งข้อมูลต่างกัน สามารถติดต่อแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างกันได้ เราเตอร์ จะทางานอยูช้ น
Network หน้าที่ของเราเตอร์ ก็คือ ปรับโปรโตคอล (Protocol) (โปรโตคอลเป็ นมาตรฐานในการสื่ อสาร
ข้อมูล บนเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ ) ที่ต่างกันให้สามารถสื่ อสารกันได้
5. บริดจ์ (Bridge)

่
บริ ดจ์มีลกษณะคล้ายเครื่ องขยายสัญญาณ บริ ดจ์จะทางานอยูในชั้น Data Link บริ ดจ์ทางานคล้าย
ั
ั
เครื่ องตรวจตาแหน่งของข้อมูล โดยบริ ดจ์จะรับข้อมูล จากต้นทางและส่ งให้กบปลายทาง โดยที่บริ ดจ์จะไม่
มีการแก้ไขหรื อเปลี่ยนแปลงใดๆแก่ขอมูล บริ ดจ์ทาให้การเชื่ อมต่อระหว่างเครื อข่ายมีประสิ ทธิ ภาพลดการ
้
ชนกัน ของข้อมูลลง บริ ดจ์จึงเป็ นสะพานสาหรับข้อมูลสองเครื อข่าย
9
6. รีพตเตอร์ (Repeater)
ี

รี พีตเตอร์ เป็ นเครื่ องทบทวนสัญญาณข้อมูลในการส่ งสัญญาณข้อมูลในระยะทางไกลๆสาหรับ
สัญญาณแอนะล็อกจะต้องมีการขยายสัญญาณข้อมูลที่เริ่ มเบาบางลงเนื่องจากระยะทาง และสาหรับ
สัญญาณดิจิตลก็จะต้องมีการทบทวนสัญญาณเพื่อป้ องกันการขาดหายของ สัญญาณเนื่ องจากการส่ งระยะ
ั
่
ทางไกลๆเช่นกัน รี พีตเตอร์ จะทางานอยูในชั้น Physical
7. สายสั ญญาณ
เป็ นสายสาหรับเชื่ อมต่อเครื่ องคอมพิวเตอร์ ต่างๆในระบบเข้าด้วยกัน หากเป็ นระบบที่มีจานวน
เครื่ องมากกว่า 2 เครื่ องก็จะต้องต่อผ่านฮับอีกทีหนึ่ง โดยสายสัญญาณสาหรับเชื่อมต่อเครื่ องในระบบ
เครื อข่าย จะมีอยู่ 2 ประเภท คือ

- สาย Coax มีลกษณะเป็ นสายกลม คล้ายสายโทรทัศน์ ส่ วนมากจะเป็ นสี ดาสายชนิดนี้จะใช้
ั
กับการ์ ด LAN ที่ใช้คอนเน็กเตอร์แบบ BNC สามารถส่ งสัญญาณได้ไกลประมาณ 200 เมตร สายประเภทนี้
จะต้องใช้ตว T Connector สาหรับเชื่ อมต่อสายสัญญาณกับการ์ ด LAN ต่างๆในระบบ และต้องใช้ตว
ั
ั
Terminator ขนาด 50 โอห์ม สาหรับปิ ดหัวและท้ายของสาย

10
- สาย UTP (Unshied Twisted Pair) เป็ นสายสาหรับการ์ด LAN ที่ใช้คอนเน็กเตอร์แบบ RJ45 สามารถส่ งสัญญาณได้ไกล ประมาณ 100 เมตร หากคุณใข้สายแบบนี้จะต้องเลือกประเภทของสายอีก
ั
โดยทัวไปนิยมใช้กน 2 รุ่ น คือ CAT 3 กับ CAT5 ซึ่งแบบ CAT3 จะมีความเร็ วในการส่ งสัญญาณ10 Mbps
่
และแบบ CAT 5 จะมีความเร็ วในการส่ งข้อมูลที่ 100 Mbps แนะนาว่าควรเลือกแบบ CAT 5 เพื่อการ
อัพเกรดในภายหลังจะได้ไม่ตองเดินสายใหม่ ในการใช้งานสายนี้ สาย 1 เส้นจะต้องใช้ตว RJ - 45
้
ั
Connector จานวน 2 ตัว เพื่อเป็ นตัวเชื่อมต่อระหว่างสายสัญญาณจากการ์ ด LAN ไปยังฮับหรื อเครื่ องอื่น
เช่นเดียวกับสายโทรศัพท์ ในกรณี เป็ นการเชื่ อมต่อเครื่ อง 2 เครื่ องสามารถใช้ต่อผ่านสายเพียงเส้นเดียได้แต่
ถ้ามากกว่า 2 เครื่ อง ก็จาเป็ นต้องต่อผ่านฮับ
8. ฮับ (HUB)

่
เป็ นอุปกรณ์ช่วยกระจ่ายสัญญาณไปยังเครื่ องต่างๆที่อยูในระบบ หากเป็ นระบบเครื อข่ายที่มี 2
เครื่ องก็ไม่จาเป็ นต้องใช้ฮบสามารถใช้สายสัญญาณเชื่อมต่อ ถึงกันได้โดยตรง แต่หากเป็ นระบบที่มีมากกว่า
ั
2 เครื่ องจาเป็ นต้องมีฮบเพื่อทาหน้าที่เป็ นตัวกลาง ในการเลือกซื้ อฮับควรเลือกฮับที่มีความเร็ วเท่ากับ
ั
ความเร็ ว ของการ์ ด เช่น การ์ดมีความเร็ ว 100 Mbps ก็ควรเลือกใช้ฮบที่มีความเร็ วเป็ น 100 Mbps ด้วย ควร
ั
เป็ นฮับที่มีจานวนพอร์ ตสาหรับต่อสายที่เพียงพอกับ เครื่ องใช้ในระบบ หากจานวนพอร์ ตต่อสายไม่เพียงพอ
ก็สามารถต่อพ่วงได้ แนะนาว่าควรเลือกซื้ อฮับที่สามารถต่อพ่วงได้ เพื่อรองรับการขยายตัวในอนาคต
5. ซอฟต์ แวร์ ระบบปฏิบัติการเครือข่ าย
ซอฟต์แวร์ ระบบปฏิบติการเครื อข่าย หมายถึง ซอฟต์แวร์ ที่ทาหน้าที่ จัดการระบบเครื อข่ายของ
ั
่ ั
คอมพิวเตอร์ เพื่อให้คอมพิวเตอร์ ที่เชื่อมต่ออยูกบเครื อข่าย สามารถติดต่อสื่ อสาร แลกเปลี่ยนข้อมูลกันได้
อย่างถูกต้อง และมีประสิ ทธิ ภาพ ทาหน้าที่จดการด้านการรักษาความปลอดภัย ของระบบเครื อข่าย และยังมี
ั
หน้าที่ควบคุม การนาโปรแกรมประยุกต์ ด้านการติดต่อสื่ อสาร มาทางานในระบบเครื อข่ายอีกด้วย นับว่า
ซอฟต์แวร์ ระบบปฏิบติการเครื อข่าย มีความสาคัญต่อเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ อย่างยิง ตัวอย่าง ซอฟต์แวร์
ั
่
ประเภทนี้ได้แก่ ระบบปฏิบติการ Windows NT , Linux , Novell Netware , Windows XP ,Windows 2000 ,
ั
Solaris , Unix เป็ นต้น

11
โครงสร้ างเครือข่ ายคอมพิวเตอร์ (Topology of LAN)
เครือข่ ายแบบบัส (Bus Topology) จะทางานเหมือนกับรถบัสโดยสารประจาทางคอย วิงรับส่ ง
่
ผูโดยสารจากจุดหนึ่งๆ ไปยังจุดหมายปลายทาง ในเครื อข่ายแบบบัส จะไม่มีเครื่ องเซิ ร์ฟเวอร์ ศูนย์กลายคอย
้
ควบคุมจัดการ ทุกเครื่ องในเครื อข่ายจะเชื่ อมต่อเข้ากับช่องสื่ อสารเส้นเดียวกัน อุปกรณ์สื่อสารทั้งหมดใน
เครื อข่ายสามารถสื่ อสารส่ งข่าวสารอิเล็กทรอนิกส์ถึง กันได้โดยไม่จาเป็ น ต้องมีเครื่ องเซิร์ฟเวอร์ศูนย์กลาง
ถ้ามีบางข่าวสารชนกัน อุปกรณ์ตวนั้นจะหยุดชัวขณะแล้วพยายามส่ งใหม่
ั
่
ข้ อดี คือ สามารถจัดการได้ท้ งเครื อข่ายแบบ client/server และแบบ peer-to-peer
ั
ข้ อจากัด คือ จาเป็ นต้องใช้วงจรสื่ อสารและซอฟต์แวร์ เข้ามาช่วยเพื่อหลีกเลี่ยงการชนกันของ
สัญญาณข้อมูล และถ้ามีอุปกรณ์ตวใด ตัวหนึ่งเสี ยหาย อาจส่ งผลให้ท้ งระบบหยุดทางานได้
ั
ั
เครือข่ ายแบบวงแหวน (Ring Topology) คือ ไมโครโปรเซสเซอร์ ทุกเครื่ องจะสื่ อสารกันถายใน
เครื อข่ายผ่านสายสัญญาณที่มี ลักษณะเป็ นวงแหวน สัญญาณอิเล็กทรอนิกส์จะถูกส่ งวิงไป รอบวงแหวน
่
จนกระทังไปถึงยังเครื่ องปลายทางโดยไม่จาเป็ นต้องมีเครื่ อง เซิร์ฟเวอร์เป็ นศูนย์กลาง โดยมีโทเคนซึ่งเป็ น
่
บิต แบบมีแบบแผนจะวิงไปรอบๆ วงแหวนทาหน้าที่พิจารณาว่าเครื่ องใดในเครื อข่ายจะ เป็ นผูส่ง
้
่
สารสนเทศ
ข้ อดี ข่าวสารจะเคลื่อนที่เป็ นลาดับไปในทิศทางเดียว ขจัดปั ญหาการชนกันของสัญญาณ
ข้ อจากัด ถ้าเครื่ องใดเครื่ องหนึ่งในเครื อข่ายเสี ยหาย อาจทาให้ท้ งระบบหยุดทางานได้
ั
เครือข่ ายแบบดาว (Star Topology) คือ จะมีไมโครคอมพิวเตอร์ เครื่ องหนึ่งทาหน้าที่เป็ นเครื่ อง
ศูนย์กลางแม่ข่าย ไมโครคอมพิวเตอร์ ที่เหลือและอุปกรณ์สื่อสารอื่นๆ ทั้งหมดจะเชื่ อมต่อไปยังเครื่ องแม่ข่าย
โดยมีฮบ (HUB) เป็ นอุปกรณ์คอยจัดการรับส่ งข่าวสารจากเครื่ องหนึ่งๆไปสู่ เครื่ องอื่นๆ สายสื่ อสารจะ
ั
เชื่อมต่อจากไมโครคอมพิวเตอร์ เข้าสู่ ฮบแยกไปแต่ละเครื่ อง สัญญาณอิเล็กทรอนิกส์จะถูกส่ งผ่านจากเครื่ อง
ั
หนึ่งผ่านฮับไปยังเครื่ องปลายทาง ฮับจะคอยตรวจสอบลาดับการจราจรที่วงไปมาในเครื อข่าย
ิ่
ข้ อดี ฮับจะทาหน้าที่คอยปกป้ องการชนกันของข่าวสาร เมื่อเครื่ องใดเครื่ องหนึ่งเสี ยหาย ก็จะไม่มี
ผลกระทบต่อเครื่ องอื่นๆทั้งระบบ
ข้ อจากัด ถ้าฮับเสี ยหายจะทาให้ท้ งระบบต้องหยุดซะงัก และมีความสิ้ นเปลืองสายสัญญาณมากกว่า
ั
แบบอื่นๆ

12
เครือข่ ายแบบผสม (Hybrid Topology) คือ เป็ นเครื อข่ายที่ผสมผสานกันทั้งแบบดาว,วงแหวน และ
บัส เช่น วิทยาเขตขนาดเล็กที่มีหลายอาคาร เครื อข่ายของแต่ละอาคารอาจใช้แบบบัสเชื่ อมต่อกับอาคารอื่นๆ
ที่ใช้แบบดาว และแบบวงแหวน
เครือข่ ายแบบFDDI (FDDI Topology) คือ เครื อข่ายความเร็ วสู งรุ่ นใหม่ Fiber Distributed Data
Interface การเชื่อมต่อจะมีความเร็ วประมาณ 100-200 เมกะบิตต่อวินาที เครื อข่าย FDDI จะใช้สายใยแก้วนา
แสงโดยแปลงจาก โทโปโลยีแบบวงแหวน เพียงแต่มีวงแหวน 2 วง นิยมใช้สาหรับงานด้านที่ตองการ
้
เทคโนโลยีสูง เช่น วีดิทศน์แบบดิจิทล , กราฟิ กความละเอียดสู ง
ั
ั
ข้ อดี ความเร็ วสู ง มีเสถียรภาพ และความน่าเชื่อถือสู ง เนื่องจากมีวงแหวน 2 วง ถ้าวงใดวงหนึ่ง
เสี ยหาย การสื่ อสารยังสามารถดาเนินต่อไปได้ในวงแหวนที่เหลือ
ข้ อจากัด ค่าใช้จ่ายสู ง เนื่องจากใช้ใยแก้วนาแสง, อุปกรณ์และการจัดการเครื อข่ายจะมีตนทุนสู งกว่า
้
โทโปโลยีอื่นๆ

ประโยชน์ ของระบบเครือข่ ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ หนึ่งเครื อข่ายจะมีการทางานรวมกันเป็ นกลุ่ม ที่เรี ยกว่า กลุ่มงาน
(workgroup) แต่เมื่อเชื่อมโยงหลายๆ กลุ่มงานเข้าด้วยกัน ก็จะเป็ นเครื อข่ายขององค์กร และถ้าเชื่อมโยง
ระหว่างองค์กรผ่านเครื อข่ายแวน ก็จะได้เครื อข่ายขนาดใหญ่ข้ ึน
การประยุกต์ใช้งานเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ เป็ นไปอย่างกว้างขวางและสามารถใช้ ประโยชน์ได้
มากมาย ทั้งนี้เพราะระบบเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ ทาให้เกิดการเชื่อมโยงอุปกรณ์ต่างๆ เข้าด้วยกัน และสื่ อสาร
ข้อมูลระหว่างกันได้
ประโยชน์ ของระบบเครือข่ ายคอมพิวเตอร์ มีดังนี้
การใช้ อุปกรณ์ ร่วมกัน (Sharing of peripheral devices) เครื อข่ายคอมพิวเตอร์ ทาให้ผใช้ สามารถ
ู้
ใช้อุปกรณ์ รอบข้างที่ต่อพ่วงกับระบบคอมพิวเตอร์ ร่ วมกันได้อย่างมีประสิ ทธิ ภาพ เช่นเครื่ องพิมพ์ ดิสก์
ไดร์ฟ ซีดีรอม สแกนเนอร์ โมเด็ม เป็ นต้น ทาให้ประหยัดค่าใช้จ่าย ไม่ตองซื้ ออุปกรณ์ที่มีราคาแพง เชื่อมต่อ
้
ั
พ่วงให้กบคอมพิวเตอร์ ทุกเครื่ อง

13
การใช้ โปรแกรมและข้ อมูลร่ วมกัน (Sharing of program and data) เครื อข่ายคอมพิวเตอร์ ทาให้
ผูใช้สามารถใช้โปรแกรม และข้อมูลร่ วมกันได้ โดยจัดเก็บโปรแกรมไว้แหล่งเก็บข้อมูล ที่เป็ นศูนย์กลาง
้
เช่น ที่ฮาร์ ดดิสก์ของเครื่ อง File Server ผูใช้สามารถใช้โปรแกรมร่ วมกัน ได้จากแหล่งเดียวกัน ไม่ตองเก็บ
้
้
โปรแกรมไว้ในแต่ละเครื่ อง ให้ซ้ าซ้อนกัน นอกจากนั้นยังสามารถรวบรวม ข้อมูลต่าง ๆ จัดเก็บเป็ น
ฐานข้อมูล ผูใช้สามารถใช้สารสนเทศ จากฐานข้อมูลกลาง ผ่านระบบเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ ที่ใช้งานได้อย่าง
้
สะดวกสบาย โดยไม่ตองเดินทางไปสาเนาข้อมูลด้วยตนเอง เพราะใช้การเรี ยกใช้ขอมูล ผ่านระบบเครื อข่าย
้
้
คอมพิวเตอร์ นนเอง เครื่ องลูก (Client) สามารถเข้ามาใช้ โปรแกรม ข้อมูล ร่ วมกันได้จากเครื่ องแม่ (Server)
ั่
หรื อระหว่างเครื่ องลูกกับเครื่ องลูกก็ได้ เป็ นการประหยัดเนื้อที่ในการจัดเก็บโปรแกรม ไม่จาเป็ นว่าทุกเครื่ อง
ต้องมีโปรแกรมเดียวกันนี้ในเครื่ องของตนเอง
สามารถติดต่ อสื่ อสารระยะไกลได้ (Telecommunication) การเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์ เป็ นเครื อข่าย
ทั้งประเภทเครื อข่าย LAN , MAN และ WAN ทาให้คอมพิวเตอร์ สามารถสื่ อสารแลกเปลี่ยนข้อมูล
ระยะไกลได้ โดยใช้ซอฟต์แวร์ ประยุกต์ ทางด้านการติดต่อสื่ อสาร โดยเฉพาะอย่างยิง ในระบบเครื อข่าย
่
อินเทอร์ เน็ต มีการให้บริ การต่าง ๆ มากมาย เช่น การโอนย้ายไฟล์ขอมูล การใช้จดหมายอิเล็กทรอนิกส์
้
(Electronic Mail) การสื บค้นข้อมูล (Serach Engine) เป็ นต้น
สามารถประยุกต์ ใช้ ในงานด้ านธุรกิจได้ (Business Applicability) องค์กรธุ รกิจ มีการเชื่อมโยง
เครื อข่ายคอมพิวเตอร์ เพื่อประโยชน์ทางธุ รกิจ เช่น เครื อข่ายของธุ รกิจธนาคาร ธุ รกิจการบิน ธุ รกิจ
ประกันภัย ธุ รกิจการท่องเที่ยว ธุ รกิจหลักทรัพย์ สามารถดาเนินธุ รกิจ ได้อย่างรวดเร็ ว ตอบสนองความพึง
พอใจ ให้แก่ลูกค้าในปั จจุบน เริ่ มมีการใช้ประโยชน์จากเครื อข่าย Internet เพื่อทาธุ รกิจกันแล้ว เช่นการ
ั
สั่งซื้ อสิ นค้า การจ่ายเงินผ่านระบบธนาคาร เป็ นต้น
ความประหยัดและความเชื่อถือได้ ของระบบงาน นับเป็ นการลงทุนที่คุมค่า อย่างเช่นในสานักงาน
้
หนึ่งมีเครื่ องอยู่ 30 เครื่ อง หรื อมากกว่านี้ ถ้าไม่มีการนาระบบเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ มาใช้ จะเห็นว่าต้องใช้
เครื่ องพิมพ์อย่างน้อย 5 - 10 เครื่ อง มาใช้งาน แต่ถามีระบบเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ มาใช้แล้วละก้อ ก็สามารถ
้
ใช้อุปกรณ์ หรื อเครื่ องพิมพ์ประมาณ 2-3 เครื่ องก็พอต่อการใช้งานแล้ว เพราะว่าทุกเครื่ องสามารถเข้าใช้
เครื่ องพิมพ์เครื่ องใดก็ได้ ผ่านเครื่ องอื่น ๆ ที่ในระบบเครื อข่ายเดียวกัน และ ถ้าทางานได้เร็ วแต่ขาดความ
น่าเชื่อถือก็ถือว่าใช้ไม่ได้ ไม่มีประสิ ทธิ ภาพ ดังนั้นเมื่อนาระบบเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ มาใช้งาน ทา
ระบบงานมีประสิ ทธิภาพ มีความน่าเชื่อถือของข้อมูล เพราะจะมีการทาสารองข้อมูลไว้ เมื่อเครื่ องที่ใช้งาน
เกิดมีปัญหา ก็สามารถนาข้อมูลที่มีการสารองมาใช้ได้ อย่างทันที

14
บรรณานุกรม
เครือข่ ายคอมพิวเตอร์
http://www.rayongwit.ac.th/comcen09/network/lesson7.html
อุปกรณ์ ทใช้ ในระบบเครือข่ าย
ี่
http://www.thaigoodview.com/library/contest2552/type2/tech04/24/n2.html
อุปกรณ์ ทสาคัญในระบบเครื อข่ าย
ี่
http://thn21632-06.blogspot.com/
โครงสร้ างเครือข่ ายคอมพิวเตอร์ (Topology of LAN)
http://reg.ksu.ac.th/teacher/songgrod/4123702/content/lesson1/103.html
ประเภทของเครือข่ ายคอมพิวเตอร์
http://learn.wattano.ac.th/learning/userchap13
ชนิดของเครือข่ ายคอมพิวเตอร์
http://www.krunee.com/content123.html
ประโยชน์ ของระบบเครือข่ ายคอมพิวเตอร์
http://www.krunee.com/content123.html

15
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 28

More Related Content

What's hot

เครือข่ายคอมพิวเตอร์ พิมพ์นิภา1 (1)
เครือข่ายคอมพิวเตอร์  พิมพ์นิภา1 (1)เครือข่ายคอมพิวเตอร์  พิมพ์นิภา1 (1)
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ พิมพ์นิภา1 (1)
pimmeesri
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 27
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 27เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 27
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 27
sawalee kongyuen
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
Buzzer'Clup Her-Alone
 
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
Benjamas58
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
Onanong Phetsawat
 
ใบงานที่ 2.1
ใบงานที่  2.1ใบงานที่  2.1
ใบงานที่ 2.1
Meaw Sukee
 
การสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูลการสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูล
pookpikdel
 
บทที่2เรื่องการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
บทที่2เรื่องการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์บทที่2เรื่องการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
บทที่2เรื่องการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
Piyanoot Ch
 
หน้าปก
หน้าปกหน้าปก
หน้าปก
manit2617
 

What's hot (18)

ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ พิมพ์นิภา1 (1)
เครือข่ายคอมพิวเตอร์  พิมพ์นิภา1 (1)เครือข่ายคอมพิวเตอร์  พิมพ์นิภา1 (1)
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ พิมพ์นิภา1 (1)
 
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศเรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 27
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 27เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 27
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 27
 
ข้อมูลและการจัดการข้อมูล
ข้อมูลและการจัดการข้อมูลข้อมูลและการจัดการข้อมูล
ข้อมูลและการจัดการข้อมูล
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
นางสาว จุฬาลักษณ์ สมรักษ์
นางสาว จุฬาลักษณ์ สมรักษ์นางสาว จุฬาลักษณ์ สมรักษ์
นางสาว จุฬาลักษณ์ สมรักษ์
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 หลักการและวิธีการแก้ปัญหาด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 หลักการและวิธีการแก้ปัญหาด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศหน่วยการเรียนรู้ที่ 4 หลักการและวิธีการแก้ปัญหาด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 หลักการและวิธีการแก้ปัญหาด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ ชั้น ม.6
วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ ชั้น ม.6วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ ชั้น ม.6
วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ ชั้น ม.6
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
ใบงานที่ 2.1
ใบงานที่  2.1ใบงานที่  2.1
ใบงานที่ 2.1
 
การสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูลการสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูล
 
บทที่2เรื่องการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
บทที่2เรื่องการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์บทที่2เรื่องการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
บทที่2เรื่องการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
Datacom
DatacomDatacom
Datacom
 
หน้าปก
หน้าปกหน้าปก
หน้าปก
 
รายงาน1233
รายงาน1233รายงาน1233
รายงาน1233
 
รายงานคอมพิวเตอร์
รายงานคอมพิวเตอร์รายงานคอมพิวเตอร์
รายงานคอมพิวเตอร์
 

Viewers also liked (6)

18 bestest online reputation management tips for global container & packaging...
18 bestest online reputation management tips for global container & packaging...18 bestest online reputation management tips for global container & packaging...
18 bestest online reputation management tips for global container & packaging...
 
Управление временем для повышения эффективности сотрудников отдела продаж.
Управление временем для повышения эффективности сотрудников отдела продаж.Управление временем для повышения эффективности сотрудников отдела продаж.
Управление временем для повышения эффективности сотрудников отдела продаж.
 
R. Villano - Die fotos - (DE part 4)
R. Villano - Die fotos - (DE  part 4)R. Villano - Die fotos - (DE  part 4)
R. Villano - Die fotos - (DE part 4)
 
comP
comPcomP
comP
 
Partybooth events
Partybooth eventsPartybooth events
Partybooth events
 
15 ultimate online public relation pr tips for global container & packaging i...
15 ultimate online public relation pr tips for global container & packaging i...15 ultimate online public relation pr tips for global container & packaging i...
15 ultimate online public relation pr tips for global container & packaging i...
 

Similar to เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 28

เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
Buzzer'Clup Her-Alone
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 1
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 1เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 1
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 1
Siriporn Roddam
 
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
เบญจมาศ คงดี
 
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
เบญจมาศ คงดี
 
2.2 เครือข่ายคอมพิวเตอร์
2.2 เครือข่ายคอมพิวเตอร์2.2 เครือข่ายคอมพิวเตอร์
2.2 เครือข่ายคอมพิวเตอร์
Meaw Sukee
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ B
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ Bเครือข่ายคอมพิวเตอร์ B
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ B
Montita Kongmuang
 
ระบบเครือข่าย (network computer)
ระบบเครือข่าย  (network computer)ระบบเครือข่าย  (network computer)
ระบบเครือข่าย (network computer)
Theruangsit
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
delloov
 
คอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์คอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์
Wannapaainto8522
 
Internet1
Internet1Internet1
Internet1
mod2may
 
ใบความรู้เรื่อง การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ (1)
ใบความรู้เรื่อง การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ (1)ใบความรู้เรื่อง การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ (1)
ใบความรู้เรื่อง การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ (1)
Puangkaew Kingkaew
 
รายงาน เรื่องเครือข่ายคอมพิวเตอร์
รายงาน เรื่องเครือข่ายคอมพิวเตอร์รายงาน เรื่องเครือข่ายคอมพิวเตอร์
รายงาน เรื่องเครือข่ายคอมพิวเตอร์
Rungnapa Tamang
 
หลักสูตรที่ 2 หน่วยที่ 3: การวางแผนด้านวัสดุอุปกรณ์และระบบ
หลักสูตรที่ 2 หน่วยที่ 3: การวางแผนด้านวัสดุอุปกรณ์และระบบหลักสูตรที่ 2 หน่วยที่ 3: การวางแผนด้านวัสดุอุปกรณ์และระบบ
หลักสูตรที่ 2 หน่วยที่ 3: การวางแผนด้านวัสดุอุปกรณ์และระบบ
thanathip
 
คอมพิวเตอร์2
คอมพิวเตอร์2คอมพิวเตอร์2
คอมพิวเตอร์2
Budsaya Chairat
 

Similar to เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 28 (20)

รายงาน
รายงานรายงาน
รายงาน
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 28
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 28เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 28
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 28
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 1
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 1เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 1
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 1
 
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
2.2 เครือข่ายคอมพิวเตอร์
2.2 เครือข่ายคอมพิวเตอร์2.2 เครือข่ายคอมพิวเตอร์
2.2 เครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ B
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ Bเครือข่ายคอมพิวเตอร์ B
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ B
 
ระบบเครือข่าย (network computer)
ระบบเครือข่าย  (network computer)ระบบเครือข่าย  (network computer)
ระบบเครือข่าย (network computer)
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
คอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์คอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์
 
Internet1
Internet1Internet1
Internet1
 
สื่อการเรียน เรื่อง ชนิดของเครือข่ายคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยี
สื่อการเรียน  เรื่อง ชนิดของเครือข่ายคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสื่อการเรียน  เรื่อง ชนิดของเครือข่ายคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยี
สื่อการเรียน เรื่อง ชนิดของเครือข่ายคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยี
 
ใบความรู้เรื่อง การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ (1)
ใบความรู้เรื่อง การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ (1)ใบความรู้เรื่อง การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ (1)
ใบความรู้เรื่อง การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ (1)
 
รายงาน เรื่องเครือข่ายคอมพิวเตอร์
รายงาน เรื่องเครือข่ายคอมพิวเตอร์รายงาน เรื่องเครือข่ายคอมพิวเตอร์
รายงาน เรื่องเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
หลักสูตรที่ 2 หน่วยที่ 3: การวางแผนด้านวัสดุอุปกรณ์และระบบ
หลักสูตรที่ 2 หน่วยที่ 3: การวางแผนด้านวัสดุอุปกรณ์และระบบหลักสูตรที่ 2 หน่วยที่ 3: การวางแผนด้านวัสดุอุปกรณ์และระบบ
หลักสูตรที่ 2 หน่วยที่ 3: การวางแผนด้านวัสดุอุปกรณ์และระบบ
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์  เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
คอมพิวเตอร์2
คอมพิวเตอร์2คอมพิวเตอร์2
คอมพิวเตอร์2
 
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
Network
NetworkNetwork
Network
 

เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 28

  • 1. รายงาน เรือง ่ เครือข่ายคอมพิวเตอร์ จัดทาโดย นางสาวสวลี คงยืน เลขที่ 28 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/1 เสนอ ครูจุฑารัตน์ ใจบุญ โรงเรียนรัษฎานุประดิษฐ์อนุสรณ์
  • 2. คานา รายงานเล่มนี้เป็ นส่ วนหนึ่งของวิชา การงานอาชีพและเทคโนโลยี จัดทาขึ้นเพื่อเป็ นการเรี ยน การ สอน ในวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ และยังเป็ นประโยชน์ต่อผูเ้ รี ยน ผูสอน หรื อผูที่จะศึกษาในเรื่ องของ ้ ้ เครื อข่ายคอมพิวเตอร์ ที่มีท้ ง ความสาคัญของระบบเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ ประเภทของเครื อข่าย ั คอมพิวเตอร์ องค์ประกอบของเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ โครงสร้างของเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ และประโยชน์ ่ ของระบบเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ ที่รวมอยูในเล่มนี้ ทาให้ง่ายในการค้นคว้า และค้นหาข้อมูล อีกทั้งยังทาให้ เรามีความรู ้ และความเข้าใจในเรื่ องนี้ เพิ่มขึ้นอีกด้วย หากรายงานเล่มนี้ผิดพลาด หรื อเนื้อหาไม่ตรงตามเป้ าหมายประการใด ก็ขออภัยไว้ ณ ที่น้ ีดวย ้ ผู้จัดทา
  • 3. สารบัญ เรื่อง หน้ า เครือข่ ายคอมพิวเตอร์ - ความสาคัญของระบบเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ - ประเภทของเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ - องค์ประกอบของเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ - โครงสร้างของเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ - ประโยชน์ของระบบเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ 1 2 4 7 12 13 บรรณานุกรม 15
  • 4. เครือข่ ายคอมพิวเตอร์ (computer network ) เครือข่ ายคอมพิวเตอร์ หรื อ คอมพิวเตอร์ เน็ตเวิร์ก computer network คือเครื อข่ายการสื่ อสาร โทรคมนาคมระหว่างคอมพิวเตอร์ จานวน ตั้งแต่สองเครื่ องขึ้นไปสามารถแลกเปลี่ยนข้อมูลกันได้ การ เชื่อมต่อระหว่างอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ ต่างๆในเครื อข่าย (โหนดเครื อข่าย) จะใช้สื่อที่เป็ นสายเคเบิลหรื อสื่ อไร้ สาย เครื อข่ายคอมพิวเตอร์ ที่รู้จกกันดีคือ อินเทอร์ เน็ต ั การที่ระบบเครื อข่ายมีบทบาทสาคัญมากขึ้นในปั จจุบน เพราะมีการใช้งานคอมพิวเตอร์ อย่าง ั แพร่ หลาย จึงเกิดความต้องการที่จะเชื่ อมต่อคอมพิวเตอร์ เหล่านั้นถึงกัน เพื่อเพิ่มความสามารถของระบบให้ สู งขึ้น และลดต้นทุนของระบบโดยรวมลง การโอนย้ายข้อมูลระหว่างกันในเครื อข่าย ทาให้ระบบมีขีดความสามารถเพิมมากขึ้น การแบ่งการ ่ ใช้ทรัพยากร เช่น หน่วยประมวลผล, หน่วยความจา, หน่วยจัดเก็บข้อมูล, โปรแกรมคอมพิวเตอร์ และ อุปกรณ์ต่าง ๆ ที่มีราคาแพงและไม่สามารถจัดหามาให้ทุกคนได้ เช่น เครื่ องพิมพ์ เครื่ องกราดภาพ (scanner) ทาให้ลดต้นทุนของระบบลงได้ อุปกรณ์เครื อข่ายที่สร้างข้อมูล, ส่ งมาตามเส้นทางและบรรจบข้อมูลจะเรี ยกว่าโหนดเครื อข่าย. โหนดประกอบด้วยโฮสต์เช่นเซิ ร์ฟเวอร์ , คอมพิวเตอร์ ส่วนบุคคลและฮาร์ ดแวร์ ของระบบเครื อข่าย อุปกรณ์ สองตัวจะกล่าวว่าเป็ นเครื อข่ายได้ก็ต่อเมื่อกระบวนการในเครื่ องหนึ่ง สามารถที่จะแลกเปลี่ยนข้อมูลกับ กระบวนการในอีกอุปกรณ์หนึ่งได้ เครื อข่ายจะสนับสนุนแอปพลิเคชันเช่นการเข้าถึงเวิลด์ไวด์เว็บ, การใช้งานร่ วมกันของแอปพลิเค ชัน, การใช้เซิ ร์ฟเวอร์ สาหรับเก็บข้อมูลร่ วมกัน, การใช้เครื่ องพิมพ์และเครื่ องแฟ็ กซ์ร่วมกันและการใช้อีเมล และโปรแกรมส่ งข้อ ความโต้ตอบแบบทันทีร่วมกัน 1
  • 5. ความสาคัญของเครือข่ ายคอมพิวเตอร์ ธรรมชาติมนุษย์ตองอยูรวมกันเป็ นกลุ่ม มีการติดต่อสื่ อสารระหว่างกัน ร่ วมกันทางานสร้างสรร ้ ่ ่ สังคมเพื่อให้ ความเป็ นอยูโดยรวมดีข้ ึน จากการดาเนินชีวิตร่ วมกันทั้งในด้านครอบครัว การทางาน ตลอดจนสังคมและการเมือง ทาให้ตองมีการพบปะแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างกัน เมื่อมนุษย์มีความจาเป็ นที่ ้ จะติดต่อสื่ อสารระหว่างกัน พัฒนาการ ทางด้านคอมพิวเตอร์จึงต้องตอบสนองเพื่อให้ใช้งานได้ตามความ ต้องการ แรกเริ่ มมีการพัฒนาคอมพิวเตอร์ แบบ รวมศูนย์ เช่น มินิคอมพิวเตอร์ หรื อ เมนเฟรม โดยให้ ผูใช้งานใช้พร้อมกันได้หลายคน แต่ละคนเปรี ยบเสมือน เป็ นสถานีปลายทาง ที่เรี ยกใช้ทรัพยากร การ ้ คานวณจากศูนย์คอมพิวเตอร์ และให้คอมพิวเตอร์ ตอบสนองต่อ การทางานนั้น ต่อมามีการพัฒนา ไมโครคอมพิวเตอร์ ที่ทาให้สะดวกต่อการใช้งานส่ วนบุคคล จนมีการเรี ยกไมโครคอมพิวเตอร์ ว่า พีซี (Personal Competer:PC) การใช้งานคอมพิวเตอร์ จึงแพร่ หลายอย่างรวดเร็ ว เพราะการใช้งานง่ายราคา ไม่สูงมาก สามารถจัดหามาใช้ได้ไม่ยาก เมื่อ มีการใช้งานกันมาก บริ ษทผูผลิตคอมพิวเตอร์ ต่างๆ ก็ ั ้ ปรับปรุ ง และพัฒนาเทคโนโลยีให้ตอบสนองความต้องการที่จะทางานร่ วมกันเป็ นกลุ่มในรู ปแบบเครื อข่าย คอมพิวเตอร์ จึงเป็ นวิธีการหนึ่ง และกาลังได้รับความนิยมสู งมาก เพราะทาให้ตอบสนองตรงความ ต้องการที่จะติดต่อสื่ อสาร ข้อมูลระหว่างกัน เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ได้รับการพัฒนาเรื่ อยมาจาก เครื่ องคอมพิวเตอร์ ขนาดใหญ่ได้แก่ เมนเฟรม มินิคอมพิวเตอร์ มาเป็ นไมโครคอมพิวเตอร์ ที่มีขนาดเล็กลง แต่มีประสิ ทธิ ภาพสู งขึ้นไมโครคอมพิวเตอร์ ก็ได้รับ การพัฒนาให้มีขีดความสามารถและทางานได้มาก ขึ้น จนกระทังคอมพิวเตอร์ สามารถทางานร่ วมกันเป็ นกลุ่มได้ ดังนั้นจึงมีการพัฒนาให้คอมพิวเตอร์ ทางาน ่ ในรู ปแบบ เครือข่ ายคอมพิวเตอร์ คือนาเอาเครื่ องคอมพิวเตอร์ ขนาดใหญ่มาเป็ นสถานี บริ การ หรื อที่ เรี ยกว่า เครื่องให้ บริการ (Server ) และให้ไมโครคอมพิวเตอร์ตาม หน่วยงานต่างๆ เป็ นเครื่องใช้ บริการ (Client) โดยมีเครื อข่าย(Network) เป็ นเส้นทางเชื่อมโยงคอมพิวเตอร์จาก จุดต่างๆ 2
  • 6. ในที่สุดระบบเครื อข่ายก็จะเข้ามาแทนระบบคอมพิวเตอร์ เดิมที่เป็ นแบบรวมศูนย์ได้ เครื อข่าย คอมพิวเตอร์ ทวีความสาคัญและได้รับความนิยมมากขึ้น เพราะสามารถสร้างระบบคอมพิวเตอร์ให้ พอเหมาะกับงาน ในธุ รกิจขนาดเล็กที่ไม่มีกาลังในการลงทุนซื้ อเครื่ องคอมพิวเตอร์ ที่มีราคาสู งเช่น มินิคอมพิวเตอร์ ก็สามารถใช้ไมโครคอมพิวเตอร์ หลายเครื่ องต่อเชื่อมโยงกันเป็ นเครื อข่าย โดยให้ ไมโครคอมพิวเตอร์เครื่ องหนึ่ง เป็ นสถานีบริ การที่ทาให้ใช้งานข้อมูลร่ วมกันได้ เมื่อกิจการเจริ ญก้าวหน้า ขึ้นก็สามารถขยายเครื อข่ายการใช้ คอมพิวเตอร์ โดยเพิ่มจานวนเครื่ องหรื อขยายความจุขอมูลให้พอเหมาะกับ ้ องค์กร ในปั จจุบนองค์การขนาดใหญ่ก็สามารถลดการลงทุนลงได้ โดยใช้เครื อข่ายคอมพิวเตอร์ เชื่ อมโยง ั จากกลุ่มเล็ก ๆ หลาย ๆ กลุ่มรวมกันเป็ นเครื อข่ายขององค์การ โดยสภาพการใช้ขอมูลสามารถทาได้ดี ้ เหมือน เช่นในอดีตที่ตองลงทุนจานวนมาก เครื อข่ายคอมพิวเตอร์ มีบทบาทที่สาคัญต่อหน่วยงานต่างๆ ดังนี้ ้ 1. ทาให้เกิดการทางานร่ วมกันเป็ นกลุ่ม และสามารถทางานพร้อมกัน 2. ให้สามารถใช้ขอมูลต่างๆ ร่ วมกัน ซึ่ งทาให้องค์การได้รับประโยชน์มากขึ้น ้ 3. ทาให้สามารถใช้ทรัพยากรได้คุมค่า เช่น ใช้เครื่ องประมวลผลร่ วมกัน แบ่งกันใช้แฟ้ มข้อมูล ใช้ ้ เครื่ องพิมพ์ และอุปกรณ์ที่มีราคาแพงร่ วมกัน 4. ทาให้ลดต้นทุน เพราะการลงทุนสามารถลงทุนให้เหมาะสมกับหน่วยงานได้ 3
  • 7. ประเภทของเครือข่ ายคอมพิวเตอร์ เครื อข่ายสามารถจาแนกออกได้หลายประเภท แล้วแต่เกณฑ์ที่ใช้ เช่น ขนาด ลักษณะการ แลกเปลี่ยนข้อมูลของคอมพิวเตอร์ เป็ นต้น โดยทัวไปการจาแนกประเภทของเครื อข่ายมีอยู่ 3 วิธีคือ ่ 1. ใช้ ขนาดทางกายภาพของเครือข่ ายเป็ นเกณฑ์ แบ่ งออกได้ เป็ น 3 ประเภทดังนี้ 1.1 LAN (Local Area Network) : ระบบเครื อข่ายระดับท้องถิ่น ่ ่ ่ ั เป็ นระบบเครื อข่ายที่ใช้งานอยูในบริ เวณที่ไม่กว้างนัก อาจใช้อยูภายในอาคารเดียวกันหรื ออาคารที่อยูใกล้กน เช่น ภายในมหาวิทยาลัย อาคารสานักงาน คลังสิ นค้า หรื อโรงงาน เป็ นต้น การส่งข้อมูลสามารถทาได้ดวยความเร็ วสูง ้ และมีขอผิดพลาดน้อย ระบบเครื อข่ายระดับท้องถิ่นจึงถูกออกแบบมาให้ช่วยลดต้นทุนและเพื่อเพิม ประสิ ทธิภาพในการ ้ ่ ทางาน และใช้งานอุปกรณ์ต่าง ๆ ร่ วมกัน 1.2 MAN (Metropolitan Area Network) : ระบบเครื อข่ายระดับเมือง ่ เป็ นระบบเครื อข่ายที่มีขนาดอยูระหว่าง Lan และ Wan เป็ นระบบเครื อข่ายที่ใช้ภายในเมืองหรื อจังหวัด ั เท่านั้น การเชื่อมโยงจะต้องอาศัยระบบบริ การเครื อข่ายสาธารณะ จึงเป็ นเครื อข่ายที่ใช้กบองค์การที่มีสาขาห่างไกลและ ต้องการเชื่อมสาขา เหล่านั้นเข้าด้วยกัน เช่น ธนาคาร เครื อข่ายแวนเชื่อมโยงระยะไกลมาก จึงมีความเร็ วในการสื่ อสารไม่ ั สูง เนื่องจากมีสญญาณรบกวนในสาย เทคโนโลยีที่ใช้กบเครื อข่ายแวนมีความหลากหลาย มีการเชื่อมโยงระหว่างประเทศ ั ด้วยช่องสัญญาณดาวเทียม เส้นใยนาแสง คลื่นไมโครเวฟ คลื่นวิทยุ สายเคเบิล 1.3 WAN (Wide Area Network) : ระบบเครื อข่ายระดับประเทศ หรื อเครื อข่ายบริ เวณกว้าง ่ เป็ น ระบบเครื อข่ายที่ติดตั้งใช้งานอยูในบริ เวณกว้าง เช่น ระบบเครื อข่ายที่ติดตั้งใช้งานทัวโลก เป็ นเครื อข่ายที่ ่ ่ เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์หรื ออุปกรณ์ที่อยูห่างไกลกันเข้าด้วย กัน อาจจะต้องเป็ นการติดต่อสื่ อสารกันในระดับประเทศ ข้าม ทวีปหรื อทัวโลกก็ได้ ในการเชื่อมการติดต่อนั้น จะต้องมีการต่อเข้ากับระบบสื่ อสารขององค์การโทรศัพท์หรื อการสื่ อสาร ่ แห่ง ประเทศไทยเสี ยก่อน เพราะจะเป็ นการส่งข้อมูลผ่านสายโทรศัพท์ในการติดต่อสื่ อสารกันโดยปกติมี อัตราการส่ง ข้อมูลที่ต่าและมีโอกาสเกิดข้อผิดพลาด การส่งข้อมูลอาจใช้อุปกรณ์ในการสื่ อสาร เช่น โมเด็ม (Modem) มาช่วย 2. ใช้ ลกษณะหน้ าทีการทางานของคอมพิวเตอร์ ในเครือข่ ายเป็ นเกณฑ์ สามารถแบ่ งได้ เป็ น 2 ประเภทดังนี้ ั ่ 2.1 Peer-to-Peer Network หรื อเครื อข่ายแบบเท่าเทียม เป็ นการเชื่อมต่อเครื่ องคอมพิวเตอร์ เข้าด้วยกัน โดยเครื่ องคอมพิวเตอร์ แต่ละเครื่ อง จะสามารถแบ่ง ่ ทรัพยากรต่างๆ ไม่วาจะเป็ นไฟล์หรื อเครื่ องพิมพ์ซ่ ึ งกันและกันภายในเครื อข่ายได้ เครื่ องแต่ละเครื่ องจะ ทางานในลักษณะที่ทดเทียมกัน ไม่มีเครื่ องใดเครื่ องเครื่ องหนึ่งเป็ นเครื่ องหลักเหมือนแบบ Client / Server ั แต่ก็ยงคงคุณสมบัติพ้ืนฐานของระบบเครื อข่ายไว้เหมือนเดิม การเชื่ อมต่อแบบนี้มกทาในระบบที่มีขนาด ั ั เล็กๆ เช่น หน่วยงานขนาดเล็กที่มีเครื่ องใช้ไม่เกิน 10 เครื่ อง การเชื่อมต่อแบบนี้มีจุดอ่อนในเรื่ องของระบบ รักษาความปลอดภัย แต่ถาเป็ นเครื อข่ายขนาดเล็ก และเป็ นงานที่ไม่มีขอมูลที่เป็ นความลับมากนัก เครื อข่าย ้ ้ แบบนี้ ก็เป็ นรู ปแบบที่น่าเลือกนามาใช้ได้เป็ นอย่างดี 4
  • 8. 2.2 Client-Server Network หรื อเครื อข่ายแบบผูใช้บริ การและผูให้บริ การ ้ ้ เป็ น ระบบที่มีเครื่ องคอมพิวเตอร์ ทุกเครื่ องมีฐานะการทางานที่เหมือน ๆ กัน เท่าเทียมกันภายใน ระบบ เครื อข่าย แต่จะมีเครื่ องคอมพิวเตอร์ เครื่ องหนึ่ง ที่ทาหน้าที่เป็ นเครื่ อง Server ที่ทาหน้าที่ให้บริ การ ั ทรัพยากรต่าง ๆ ให้กบ เครื่ อง Client หรื อเครื่ องที่ขอใช้บริ การ ซึ่งอาจจะต้องเป็ นเครื่ องที่มีประสิ ทธิภาพที่ ค่อนข้างสู ง ถึงจะทาให้การให้บริ การมีประสิ ทธิ ภาพตามไปด้วย ข้อดีของระบบเครื อข่าย Client - Server เป็ นระบบที่มีการรักษาความปลอดภัยสู งกว่า ระบบแบบ Peer To Peer เพราะว่าการจัดการในด้านรักษา ความปลอดภัยนั้น จะทากันบนเครื่ อง Server เพียงเครื่ องเดียว ทาให้ดูแลรักษาง่าย และสะดวก มีการกาหนด ั สิ ทธิ การเข้าใช้ทรัพยากรต่าง ๆให้กบเครื่ องผูขอใช้บริ การ หรื อเครื่ องClient ้ 3. ใช้ ระดับความปลอดภัยของข้ อมูลเป็ นเกณฑ์ การแบ่งประเภทเครื อข่ายตามระดับความปลอดภัยของข้อมูล ซึ่ งจะแบ่งออกได้เป็ น 3 ประเภทคือ อินเทอร์ เน็ต (Internet) อินทราเน็ต (Intranet) และ เอ็กส์ทราเน็ต (Extranet) อินเทอร์ เน็ตเป็ นเครื อข่าย สาธารณะที่ทุกคนสามารถเชื่อมต่อเข้าได้ เครื อข่ายนี้จะไม่มีความปลอดภัยของข้อมูลเลย ถ้าทุกคนสามารถ เข้าถึงข้อมูลที่แชร์ไว้บนอินเทอร์ เน็ตได้ ในทางตรงกันข้าม อินทราเน็ตเป็ นเครื อข่ายส่ วนบุคคล ข้อมูลจะถูก ่ ้ ่ แชร์เฉพาะผูที่ใช้อยูขางในเท่านั้น หรื อผูใช้อินเทอร์ เน็ตไม่สามารถเข้ามาดูขอมูลในอินทราเน็ตได้ ถึงแม้วา ้ ้ ้ ่ ทั้งสองเครื อข่ายจะมีการเชื่ อมต่อกันอยูก็ตาม ส่ วนเอ็กทราเน็ตนั้นเป็ นเครื อข่ายแบบกึ่งอินเทอร์ เน็ตและ อินทราเน็ตกล่าวคือ การเข้าใช้เอ็กส์ทราเน็ตนั้นมีการควบคุม เอ็กส์ทราเน็ตส่ วนใหญ่จะเป็ นเครื อข่ายที่ เชื่อมต่อระหว่างองค์กรเพื่อแลก เปลี่ยนข้อมูลบางอย่างซึ่ งกันและกัน ในการแลกเปลี่ยนข้อมูลนี้ตองมีการ ้ ควบคุม เพราะเฉพาะข้อมูลบางอย่างเท่านั้นที่ตองการแลกเปลี่ยน ้ 3.1 อินเทอร์ เน็ต (Internet) เครื อข่ายสาธารณะ อินเทอร์ เน็ตเป็ นเครื อข่ายที่ครอบคลุมทัวโลก ซึ่ งมีคอมพิวเตอร์ เป็ นล้านๆเครื่ องเชื่อมต่อเข้ากับ ่ ระบบและยังขยายตัวขึ้น เรื่ อย ๆ ทุกปี อินเทอร์ เน็ตมีผใช้ทวโลกหลายร้อยล้านคน และผูใช้เหล่านี้สามารถ ู ้ ั่ ้ แลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารกันได้อย่างอิสระ โดยที่ระยะทางและเวลาไม่เป็ นอุปสรรค นอกจากนี้ผใช้ยง ู้ ั สามารถเข้าดูขอมูลต่าง ๆ ที่ถูกตีพิมพ์ในอินเทอร์ เน็ตได้ อินเทอร์ เน็ตเชื่ อมแหล่งข้อมูลต่าง ๆ เข้าด้วยกัน ้ ่ ไม่วาจะเป็ นองค์กรธุ รกิจ มหาวิทยาลัย หน่วยงานของรัฐบาล หรื อแม้กระทังแหล่งข้อมูลบุคคล องค์กรธุ รกิจ ่ หลายองค์กรได้ใช้อินเทอร์ เน็ตช่วยในการทาการค้า เช่น การติดต่อซื้ อขายผ่านอินเทอร์ เน็ตหรื ออีคอมเมิร์ช (E-Commerce) ซึ่ งเป็ นอีกช่องทางหนึ่งสาหรับการทาธุ รกิจที่กาลังเป็ นที่นิยม เนื่องจากมีตนทุนที่ถูกกว่า ้ และมีฐานลูกค้าที่ใหญ่มาก ส่ วนข้อเสี ยของอินเทอร์ เน็ตคือ ความปลอดภัยของข้อมูล เนื่องจากทุกคน สามารถเข้าถึงข้อมูลทุกอย่างที่แลกเปลี่ยนผ่านอินเทอร์ เน็ต ได้ 5
  • 9. อินเทอร์ เน็ตใช้โปรโตคอลที่เรี ยกว่า “TCP/IP (Transport Connection Protocol/Internet Protocol)” ในการสื่ อสารข้อมูลผ่านเครื อข่าย ซึ่ งโปรโตคอลนี้เป็ นผลจากโครงการหนึ่งของกระทรวงกลาโหมสหรัฐฯ โครงการนี้มีชื่อว่า ARPANET (Advanced Research Projects Agency Network) ในปี ค.ศ.1975 จุดประสงค์ ่ ของโครงการนี้เพื่อเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์ ที่อยูห่างไกลกัน และภายหลังจึงได้กาหนดให้เป็ นโปรโตคอล มาตรฐานในเครื อข่ายอินเทอร์ เน็ต ในปั จจุบนอินเทอร์ เน็ตได้กลายเป็ นเครื อข่ายสาธารณะ ซึ่ งไม่มีผใดหรื อองค์กรใดองค์กรหนึ่งเป็ น ั ู้ เจ้าของอย่างแท้จริ ง การเชื่อมต่อเข้ากับอินเทอร์ เน็ตต้องเชื่ อมต่อผ่านองค์กรที่เรี ยกว่า “ISP (Internet Service Provider)” ซึ่งจะทาหน้าที่ให้บริ การในการเชื่อมต่อเข้ากับอินเทอร์ เน็ต นันคือ ข้อมูลทุกอย่างที่ส่งผ่าน ่ เครื อข่าย ทุกคนสามารถดูได้ นอกเสี ยจากจะมีการเข้ารหัสลับซึ่งผูใช้ตองทาเอง ้ ้ 3.2 อินทราเน็ต (Intranet) หรื อเครื อข่ายส่ วนบุคคล ตรงกันข้ามกับอินเทอร์ เน็ต อินทราเน็ตเป็ นเครื อข่ายส่ วนบุคคลที่ใช้เทคโนโลยีอินเทอร์ เน็ต เช่น เว็บ, อีเมล, FTP เป็ นต้น อินทราเน็ตใช้โปรโตคอล TCP/IP สาหรับการรับส่ งข้อมูลเช่นเดียวกับอินเทอร์ เน็ต ั ซึ่ งโปรโตคอลนี้สามารถใช้ได้กบฮาร์ ดแวร์ หลายประเภท และสายสัญญาณหลายประเภท ฮาร์ ดแวร์ที่ใช้ สร้างเครื อข่ายไม่ใช่ปัจจัยหลักของอินทราเน็ต แต่เป็ นซอฟต์แวร์ ที่ทาให้อินทราเน็ตทางานได้ อินทราเน็ต เป็ นเครื อข่ายที่องค์กรสร้างขึ้นสาหรับให้พนักงานขององค์กรใช้ เท่านั้น การแชร์ ขอมูลจะอยูเ่ ฉพาะใน ้ อินทราเน็ตเท่านั้น หรื อถ้ามีการแลกเปลี่ยนข้อมูลกับโลกภายนอกหรื ออินเทอร์ เน็ต องค์กรนั้นสามารถที่จะ กาหนดนโยบายได้ ในขณะที่การแชร์ ขอมูลอินเทอร์ เน็ตนั้นยังไม่มีองค์กรใดที่สามารถควบคุมการ ้ แลกเปลี่ยนข้อมูลได้ เมื่อเชื่อมต่อเข้ากับอินเทอร์ เน็ต พนักงานบริ ษทของบริ ษทสามารถติดต่อสื่ อสารกับ ั ั โลกภายนอกเพื่อการค้นหาข้อมูล หรื อทาธุ รกิจต่าง ๆ การใช้โปรโตคอล TCP/IP ทาให้ผใช้สามารถเข้าใช้ ู้ เครื อข่ายจากที่ห่างไกลได้ (Remote Access) เช่น จากที่บาน หรื อในเวลาที่ตองเดินทางเพื่อติดต่อธุ รกิจ การ ้ ้ เชื่อมต่อเข้ากับอินทราเน็ต โดยการใช้โมเด็มและสายโทรศัพท์ ก็เหมือนกับการเชื่อมต่อเข้ากับอินเทอร์ เน็ต แต่แตกต่างกันที่เป็ นการเชื่ อมต่อเข้ากับเครื อข่ายส่ วนบุคคลแทนที่จะเป็ น เครื อข่ายสาธารณะอย่างเช่น อินเทอร์ เน็ต การเชื่อมต่อกันได้ระหว่างอินทราเน็ตกับอินเทอร์ เน็ตถือเป็ นประโยชน์ที่ สาคัญอย่างหนึ่ง ระบบการรักษาความปลอดภัยเป็ นสิ่ งที่แยกอินทราเน็ตออกจากอินเทอร์ เน็ต เครื อข่ายอินทราเน็ตขององค์กร จะถูกปกป้ องโดยไฟร์วอลล์ (Firewall) ซึ่ งอาจจะเป็ นได้ท้ งฮาร์ ดแวร์ และซอฟต์แวร์ ที่ทาหน้าที่กรองข้อมูลที่ ั แลก เปลี่ยนกันระหว่างอินทราเน็ตและอินเทอร์ เน็ตเมื่อทั้งสองระบบมีการเชื่ อมต่อ กัน ดังนั้นองค์กร สามารถกาหนดนโยบายเพื่อควบคุมการเข้าใช้งานอินทราเน็ตได้ อินทราเน็ตสามารถสนองความต้องการของผูใช้ในองค์กรได้หลายอย่าง ความง่ายในการตีพิมพ์บน ้ เว็บทาให้เป็ นที่นิยมในการประกาศข่าวสารขององค์กร เช่น ข่าวภายในองค์กร กฎ ระเบียบ และมาตรฐาน การปฏิบติงานต่าง ๆ เป็ นต้น หรื อแม้กระทังการเข้าถึงฐานข้อมูลขององค์กรก็ง่ายเช่นกัน ผูใช้สามารถ ั ้ ่ ทางานร่ วมกันได้ง่าย และมีประสิ ทธิ ภาพมากขึ้น 6
  • 10. 3.3 เอ็กส์ ทราเน็ต (Extranet) หรื อเครื อข่ายร่ วม เอ็กส์ทราเน็ต (Extranet) เป็ นเครื อข่ายกึ่งอินเทอร์ เน็ตกึ่งอินทราเน็ต กล่าวคือ เอ็กส์ทราเน็ตคือ เครื อข่ายที่เชื่อมต่อระหว่างอินทราเน็ตของสององค์กร ดังนั้นจะมีบางส่ วนของเครื อข่ายที่เป็ นเจ้าของ ร่ วมกันระหว่างสององค์กรหรื อ บริ ษท การสร้างอินทราเน็ตจะไม่จากัดด้วยเทคโนโลยี แต่จะยากตรง ั นโยบายที่เกี่ยวกับการรักษาความปลอดภัยของข้อมูลที่ท้ งสอง องค์กรจะต้องตกลงกัน เช่น องค์กรหนึ่ง ั อาจจะอนุญาตให้ผใช้ของอีกองค์กรหนึ่งล็อกอินเข้าระบบอินทรา เน็ตของตัวเองหรื อไม่ เป็ นต้น การสร้าง ู้ เอ็กส์ทราเน็ตจะเน้นที่ระบบการรักษาความปลอดภัยข้อมูล รวมถึงการติดตั้งไฟร์ วอลล์หรื อระหว่าง อินทราเน็ตและการเข้ารหัสข้อมูลและ สิ่ งที่สาคัญที่สุดก็คือ นโยบายการรักษาความปลอดภัยข้อมูลและการ บังคับใช้ องค์ ประกอบของระบบเครือข่ าย ระบบเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ มีองค์ประกอบที่สาคัญ เพื่อการเชื่อมต่อเป็ นเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ ได้แก่ คอมพิวเตอร์ แม่ข่าย (File Server) ช่องทางการสื่ อสาร (Communication Chanel) สถานีงาน (Workstation or Terminal) และ อุปกรณ์ในเครื อข่าย (Network Operation System) 1. คอมพิวเตอร์ แม่ ข่าย คอมพิวเตอร์ แม่ข่าย หมายถึงคอมพิวเตอร์ ที่ทาหน้าที่เป็ นผูให้บริ การทรัพยากร (Resources) ต่าง ้ ๆ ซึ่ งได้แก่ หน่วยประมวลผล หน่วยความจา หน่วยความจาสารอง ฐานข้อมูล และ โปรแกรมต่าง ๆ เป็ นต้น ในระบบเครื อข่ายท้องถิ่น (LAN) มักเรี ยกว่าคอมพิวเตอร์ แม่ข่าย ในระบบเครื อข่ายระยะไกล ที่ใช้ เมนเฟรมคอมพิวเตอร์ หรื อ มินิคอมพิวเตอร์ เป็ นศูนย์กลางของเครื อข่าย เรานิยมเรี ยกว่า Host Computer และเรี ยกเครื่ องที่รอรับบริ การว่าลูกข่ายหรื อสถานีงาน 2. ช่ องทางการสื่ อสาร ช่อง ทางการสื่ อสาร หมายถึง สื่ อกลางหรื อเส้นทางที่ใช้เป็ นทางผ่าน ในการรับส่ งข้อมูล ระหว่าง ผูรับ (Receiver) และผูส่งข้อมูล (Transmitter) ปั จจุบนมีช่องทางการสื่ อสาร สาหรับการเชื่ อมต่อเครื อข่าย ้ ้ ั คอมพิวเตอร์ มีหลายประเภทคือ สายโทรศัพท์แบบสายคู่ตีเกลียวไม่มีฉนวนหุ ม (UTP) สายคู่ตีเกลียว แบบมี ้ ฉนวนหุม (STP) สายโคแอคเชียล สายใยแก้วนาแสง คลื่นไมโครเวป และดาวเทียม เป็ นต้น ้ 7
  • 11. 3. สถานีงาน สถานีงาน (Workstation or Terminal) หมายถึง อุปกรณ์หรื อเครื่ องไมโครคอมพิวเตอร์ ที่เชื่อมต่อ กับเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ ทาหน้าที่เป็ นสถานีปลายทางหรื อสถานีงาน ที่ได้รับการบริ การจากเครื่ อง คอมพิวเตอร์ แม่ข่าย เรี ยกว่าเป็ นคอมพิวเตอร์ ลูกข่าย (Workstation) ในระบบเครื อข่ายระยะใกล้ มักมีหน่วย ประมวลผล หรื อซีพียของตนเอง ในระบบที่ใช้เครื่ องคอมพิวเตอร์เมนเฟรม เป็ นศูนย์กลาง เรี ยกสถานี ู ปลายทางว่าเทอร์ มินอล (Terminal) ประกอบด้วยจอภาพและแป้ นพิมพ์เท่านั้น ไม่มีหน่วยประมวลกลางของ ตัวเอง ต้องใช้หน่วยประมวลผลของคอมพิวเตอร์ ศูนย์กลางหรื อ Host 4. อุปกรณ์ ในเครือข่ าย 1.โมเด็ม (Modem) โมเด็มเป็ นฮาร์ดแวร์ที่ทาหน้าที่แปลงสัญญาณแอนะล็อกให้เป็ นสัญญาณดิจิ ตัล เมื่อข้อมูลถูกส่ ง มายังผูรับละแปลงสัญญาณดิจิตลให้เป็ นแอนะล็อก เมื่อต้องการส่ งข้อมูลไปบนช่องสื่ อสาร กระบวนการที่ ้ ั โมเด็มแปลงสัญญาณดิจิตลให้เป็ นสัญญาณแอนะล็อก เรี ยกว่า มอดูเลชัน (Modulation) โมเด็มทาหน้าที่ มอ ั ดูเลเตอร์ (Modulator) กระบวนการที่โมเด็มแปลงสัญญาณแอนะล็อก ให้เป็ นสัญญาณแอนะล็อก ให้เป็ น สัญญาณดิจิตล เรี ยกว่า ดีมอดูเลชัน (Demodulation) โมเด็มหน้าที่ ดีมอดูเลเตอร์ (Demodulator)โมเด็มที่ใช้ ั กันอย่างแพร่ หลายในปั จจุบนมี 2 ประเภทโมเด็กในปั จจุบนทางานเป็ นทั้งโมเด็มและ เครื่ องโทรสาร เรา ั ั เรี ยกว่า Faxmodem 2. การ์ ดเครือข่ าย (Network Adapter) หรือ การ์ ด LAN เป็ นอุปกรณ์ทาหน้าที่สื่อสารระหว่างเครื่ องต่างกันได้ไม่จาเป็ นต้องเป็ นรุ่ น หรื อยีหอเดียวกันแต่หาก ่ ้ ซื้ อพร้อมๆกันก็แนะนาให้ซ้ื อรุ่ นและยีหอเดียวกัน จะดีกว่าและควรเป็ น การ์ ดแบบ PCI เพราะสามารถส่ ง ้ ข้อมูลได้เร็ วกว่าแบบ ISAและเมนบอร์ ดรุ่ นใหม่ๆมักจะไม่มี Slot ISA ควรเป็ นการ์ดที่มีความเร็ วเป็ น 100 Mbpsซึ่ งจะมีราคามากกว่าการ์ ดแบบ 10 Mbps ไม่มากนัก แต่ส่งขอมูลได้เร็ วกว่า นอกจากนี้คุณควรคาหนึ งถึงขั้วต่อหรื อคอนเน็กเตอร์ ของการ์ ดด้วยโดยทัวไปคอน เน็กเตอร์ ของการ์ด LAN จะมีหลายแบบ เช่น ่ BNC , RJ-45 เป็ นต้น ซึ่งคอนเน็กเตอร์ แต่ละแบบก็จะใช้สายที่แตกต่างกัน 8
  • 12. 3. เกตเวย์ (Gateway) เกตเวย์ เป็ นอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์อีกอย่างหนึ่งที่ช่วยในการสื่ อสารข้อมูล คอมพิวเตอร์หน้าที่หลัก คือช่วยให้เครื อข่ายคอมพิวเตอร์ 2 เครื อข่ายหรื อมากกว่า ซึ่ งมีลกษณะไม่เหมือนกันสามารถติดต่อสื่ อสาร ั กันได้เหมือนเป็ นเครื อข่าย เดียวกัน 4. เราเตอร์ (Router) เราเตอร์ เป็ นอุปกรณ์ในระบบเครื อข่ายที่ทาหน้าที่เป็ นตัวเชื่ อมโยงให้เครื อ ข่ายที่มีขนาดหรื อ ่ ั มาตรฐานในการส่ งข้อมูลต่างกัน สามารถติดต่อแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างกันได้ เราเตอร์ จะทางานอยูช้ น Network หน้าที่ของเราเตอร์ ก็คือ ปรับโปรโตคอล (Protocol) (โปรโตคอลเป็ นมาตรฐานในการสื่ อสาร ข้อมูล บนเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ ) ที่ต่างกันให้สามารถสื่ อสารกันได้ 5. บริดจ์ (Bridge) ่ บริ ดจ์มีลกษณะคล้ายเครื่ องขยายสัญญาณ บริ ดจ์จะทางานอยูในชั้น Data Link บริ ดจ์ทางานคล้าย ั ั เครื่ องตรวจตาแหน่งของข้อมูล โดยบริ ดจ์จะรับข้อมูล จากต้นทางและส่ งให้กบปลายทาง โดยที่บริ ดจ์จะไม่ มีการแก้ไขหรื อเปลี่ยนแปลงใดๆแก่ขอมูล บริ ดจ์ทาให้การเชื่ อมต่อระหว่างเครื อข่ายมีประสิ ทธิ ภาพลดการ ้ ชนกัน ของข้อมูลลง บริ ดจ์จึงเป็ นสะพานสาหรับข้อมูลสองเครื อข่าย 9
  • 13. 6. รีพตเตอร์ (Repeater) ี รี พีตเตอร์ เป็ นเครื่ องทบทวนสัญญาณข้อมูลในการส่ งสัญญาณข้อมูลในระยะทางไกลๆสาหรับ สัญญาณแอนะล็อกจะต้องมีการขยายสัญญาณข้อมูลที่เริ่ มเบาบางลงเนื่องจากระยะทาง และสาหรับ สัญญาณดิจิตลก็จะต้องมีการทบทวนสัญญาณเพื่อป้ องกันการขาดหายของ สัญญาณเนื่ องจากการส่ งระยะ ั ่ ทางไกลๆเช่นกัน รี พีตเตอร์ จะทางานอยูในชั้น Physical 7. สายสั ญญาณ เป็ นสายสาหรับเชื่ อมต่อเครื่ องคอมพิวเตอร์ ต่างๆในระบบเข้าด้วยกัน หากเป็ นระบบที่มีจานวน เครื่ องมากกว่า 2 เครื่ องก็จะต้องต่อผ่านฮับอีกทีหนึ่ง โดยสายสัญญาณสาหรับเชื่อมต่อเครื่ องในระบบ เครื อข่าย จะมีอยู่ 2 ประเภท คือ - สาย Coax มีลกษณะเป็ นสายกลม คล้ายสายโทรทัศน์ ส่ วนมากจะเป็ นสี ดาสายชนิดนี้จะใช้ ั กับการ์ ด LAN ที่ใช้คอนเน็กเตอร์แบบ BNC สามารถส่ งสัญญาณได้ไกลประมาณ 200 เมตร สายประเภทนี้ จะต้องใช้ตว T Connector สาหรับเชื่ อมต่อสายสัญญาณกับการ์ ด LAN ต่างๆในระบบ และต้องใช้ตว ั ั Terminator ขนาด 50 โอห์ม สาหรับปิ ดหัวและท้ายของสาย 10
  • 14. - สาย UTP (Unshied Twisted Pair) เป็ นสายสาหรับการ์ด LAN ที่ใช้คอนเน็กเตอร์แบบ RJ45 สามารถส่ งสัญญาณได้ไกล ประมาณ 100 เมตร หากคุณใข้สายแบบนี้จะต้องเลือกประเภทของสายอีก ั โดยทัวไปนิยมใช้กน 2 รุ่ น คือ CAT 3 กับ CAT5 ซึ่งแบบ CAT3 จะมีความเร็ วในการส่ งสัญญาณ10 Mbps ่ และแบบ CAT 5 จะมีความเร็ วในการส่ งข้อมูลที่ 100 Mbps แนะนาว่าควรเลือกแบบ CAT 5 เพื่อการ อัพเกรดในภายหลังจะได้ไม่ตองเดินสายใหม่ ในการใช้งานสายนี้ สาย 1 เส้นจะต้องใช้ตว RJ - 45 ้ ั Connector จานวน 2 ตัว เพื่อเป็ นตัวเชื่อมต่อระหว่างสายสัญญาณจากการ์ ด LAN ไปยังฮับหรื อเครื่ องอื่น เช่นเดียวกับสายโทรศัพท์ ในกรณี เป็ นการเชื่ อมต่อเครื่ อง 2 เครื่ องสามารถใช้ต่อผ่านสายเพียงเส้นเดียได้แต่ ถ้ามากกว่า 2 เครื่ อง ก็จาเป็ นต้องต่อผ่านฮับ 8. ฮับ (HUB) ่ เป็ นอุปกรณ์ช่วยกระจ่ายสัญญาณไปยังเครื่ องต่างๆที่อยูในระบบ หากเป็ นระบบเครื อข่ายที่มี 2 เครื่ องก็ไม่จาเป็ นต้องใช้ฮบสามารถใช้สายสัญญาณเชื่อมต่อ ถึงกันได้โดยตรง แต่หากเป็ นระบบที่มีมากกว่า ั 2 เครื่ องจาเป็ นต้องมีฮบเพื่อทาหน้าที่เป็ นตัวกลาง ในการเลือกซื้ อฮับควรเลือกฮับที่มีความเร็ วเท่ากับ ั ความเร็ ว ของการ์ ด เช่น การ์ดมีความเร็ ว 100 Mbps ก็ควรเลือกใช้ฮบที่มีความเร็ วเป็ น 100 Mbps ด้วย ควร ั เป็ นฮับที่มีจานวนพอร์ ตสาหรับต่อสายที่เพียงพอกับ เครื่ องใช้ในระบบ หากจานวนพอร์ ตต่อสายไม่เพียงพอ ก็สามารถต่อพ่วงได้ แนะนาว่าควรเลือกซื้ อฮับที่สามารถต่อพ่วงได้ เพื่อรองรับการขยายตัวในอนาคต 5. ซอฟต์ แวร์ ระบบปฏิบัติการเครือข่ าย ซอฟต์แวร์ ระบบปฏิบติการเครื อข่าย หมายถึง ซอฟต์แวร์ ที่ทาหน้าที่ จัดการระบบเครื อข่ายของ ั ่ ั คอมพิวเตอร์ เพื่อให้คอมพิวเตอร์ ที่เชื่อมต่ออยูกบเครื อข่าย สามารถติดต่อสื่ อสาร แลกเปลี่ยนข้อมูลกันได้ อย่างถูกต้อง และมีประสิ ทธิ ภาพ ทาหน้าที่จดการด้านการรักษาความปลอดภัย ของระบบเครื อข่าย และยังมี ั หน้าที่ควบคุม การนาโปรแกรมประยุกต์ ด้านการติดต่อสื่ อสาร มาทางานในระบบเครื อข่ายอีกด้วย นับว่า ซอฟต์แวร์ ระบบปฏิบติการเครื อข่าย มีความสาคัญต่อเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ อย่างยิง ตัวอย่าง ซอฟต์แวร์ ั ่ ประเภทนี้ได้แก่ ระบบปฏิบติการ Windows NT , Linux , Novell Netware , Windows XP ,Windows 2000 , ั Solaris , Unix เป็ นต้น 11
  • 15. โครงสร้ างเครือข่ ายคอมพิวเตอร์ (Topology of LAN) เครือข่ ายแบบบัส (Bus Topology) จะทางานเหมือนกับรถบัสโดยสารประจาทางคอย วิงรับส่ ง ่ ผูโดยสารจากจุดหนึ่งๆ ไปยังจุดหมายปลายทาง ในเครื อข่ายแบบบัส จะไม่มีเครื่ องเซิ ร์ฟเวอร์ ศูนย์กลายคอย ้ ควบคุมจัดการ ทุกเครื่ องในเครื อข่ายจะเชื่ อมต่อเข้ากับช่องสื่ อสารเส้นเดียวกัน อุปกรณ์สื่อสารทั้งหมดใน เครื อข่ายสามารถสื่ อสารส่ งข่าวสารอิเล็กทรอนิกส์ถึง กันได้โดยไม่จาเป็ น ต้องมีเครื่ องเซิร์ฟเวอร์ศูนย์กลาง ถ้ามีบางข่าวสารชนกัน อุปกรณ์ตวนั้นจะหยุดชัวขณะแล้วพยายามส่ งใหม่ ั ่ ข้ อดี คือ สามารถจัดการได้ท้ งเครื อข่ายแบบ client/server และแบบ peer-to-peer ั ข้ อจากัด คือ จาเป็ นต้องใช้วงจรสื่ อสารและซอฟต์แวร์ เข้ามาช่วยเพื่อหลีกเลี่ยงการชนกันของ สัญญาณข้อมูล และถ้ามีอุปกรณ์ตวใด ตัวหนึ่งเสี ยหาย อาจส่ งผลให้ท้ งระบบหยุดทางานได้ ั ั เครือข่ ายแบบวงแหวน (Ring Topology) คือ ไมโครโปรเซสเซอร์ ทุกเครื่ องจะสื่ อสารกันถายใน เครื อข่ายผ่านสายสัญญาณที่มี ลักษณะเป็ นวงแหวน สัญญาณอิเล็กทรอนิกส์จะถูกส่ งวิงไป รอบวงแหวน ่ จนกระทังไปถึงยังเครื่ องปลายทางโดยไม่จาเป็ นต้องมีเครื่ อง เซิร์ฟเวอร์เป็ นศูนย์กลาง โดยมีโทเคนซึ่งเป็ น ่ บิต แบบมีแบบแผนจะวิงไปรอบๆ วงแหวนทาหน้าที่พิจารณาว่าเครื่ องใดในเครื อข่ายจะ เป็ นผูส่ง ้ ่ สารสนเทศ ข้ อดี ข่าวสารจะเคลื่อนที่เป็ นลาดับไปในทิศทางเดียว ขจัดปั ญหาการชนกันของสัญญาณ ข้ อจากัด ถ้าเครื่ องใดเครื่ องหนึ่งในเครื อข่ายเสี ยหาย อาจทาให้ท้ งระบบหยุดทางานได้ ั เครือข่ ายแบบดาว (Star Topology) คือ จะมีไมโครคอมพิวเตอร์ เครื่ องหนึ่งทาหน้าที่เป็ นเครื่ อง ศูนย์กลางแม่ข่าย ไมโครคอมพิวเตอร์ ที่เหลือและอุปกรณ์สื่อสารอื่นๆ ทั้งหมดจะเชื่ อมต่อไปยังเครื่ องแม่ข่าย โดยมีฮบ (HUB) เป็ นอุปกรณ์คอยจัดการรับส่ งข่าวสารจากเครื่ องหนึ่งๆไปสู่ เครื่ องอื่นๆ สายสื่ อสารจะ ั เชื่อมต่อจากไมโครคอมพิวเตอร์ เข้าสู่ ฮบแยกไปแต่ละเครื่ อง สัญญาณอิเล็กทรอนิกส์จะถูกส่ งผ่านจากเครื่ อง ั หนึ่งผ่านฮับไปยังเครื่ องปลายทาง ฮับจะคอยตรวจสอบลาดับการจราจรที่วงไปมาในเครื อข่าย ิ่ ข้ อดี ฮับจะทาหน้าที่คอยปกป้ องการชนกันของข่าวสาร เมื่อเครื่ องใดเครื่ องหนึ่งเสี ยหาย ก็จะไม่มี ผลกระทบต่อเครื่ องอื่นๆทั้งระบบ ข้ อจากัด ถ้าฮับเสี ยหายจะทาให้ท้ งระบบต้องหยุดซะงัก และมีความสิ้ นเปลืองสายสัญญาณมากกว่า ั แบบอื่นๆ 12
  • 16. เครือข่ ายแบบผสม (Hybrid Topology) คือ เป็ นเครื อข่ายที่ผสมผสานกันทั้งแบบดาว,วงแหวน และ บัส เช่น วิทยาเขตขนาดเล็กที่มีหลายอาคาร เครื อข่ายของแต่ละอาคารอาจใช้แบบบัสเชื่ อมต่อกับอาคารอื่นๆ ที่ใช้แบบดาว และแบบวงแหวน เครือข่ ายแบบFDDI (FDDI Topology) คือ เครื อข่ายความเร็ วสู งรุ่ นใหม่ Fiber Distributed Data Interface การเชื่อมต่อจะมีความเร็ วประมาณ 100-200 เมกะบิตต่อวินาที เครื อข่าย FDDI จะใช้สายใยแก้วนา แสงโดยแปลงจาก โทโปโลยีแบบวงแหวน เพียงแต่มีวงแหวน 2 วง นิยมใช้สาหรับงานด้านที่ตองการ ้ เทคโนโลยีสูง เช่น วีดิทศน์แบบดิจิทล , กราฟิ กความละเอียดสู ง ั ั ข้ อดี ความเร็ วสู ง มีเสถียรภาพ และความน่าเชื่อถือสู ง เนื่องจากมีวงแหวน 2 วง ถ้าวงใดวงหนึ่ง เสี ยหาย การสื่ อสารยังสามารถดาเนินต่อไปได้ในวงแหวนที่เหลือ ข้ อจากัด ค่าใช้จ่ายสู ง เนื่องจากใช้ใยแก้วนาแสง, อุปกรณ์และการจัดการเครื อข่ายจะมีตนทุนสู งกว่า ้ โทโปโลยีอื่นๆ ประโยชน์ ของระบบเครือข่ ายคอมพิวเตอร์ ระบบเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ หนึ่งเครื อข่ายจะมีการทางานรวมกันเป็ นกลุ่ม ที่เรี ยกว่า กลุ่มงาน (workgroup) แต่เมื่อเชื่อมโยงหลายๆ กลุ่มงานเข้าด้วยกัน ก็จะเป็ นเครื อข่ายขององค์กร และถ้าเชื่อมโยง ระหว่างองค์กรผ่านเครื อข่ายแวน ก็จะได้เครื อข่ายขนาดใหญ่ข้ ึน การประยุกต์ใช้งานเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ เป็ นไปอย่างกว้างขวางและสามารถใช้ ประโยชน์ได้ มากมาย ทั้งนี้เพราะระบบเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ ทาให้เกิดการเชื่อมโยงอุปกรณ์ต่างๆ เข้าด้วยกัน และสื่ อสาร ข้อมูลระหว่างกันได้ ประโยชน์ ของระบบเครือข่ ายคอมพิวเตอร์ มีดังนี้ การใช้ อุปกรณ์ ร่วมกัน (Sharing of peripheral devices) เครื อข่ายคอมพิวเตอร์ ทาให้ผใช้ สามารถ ู้ ใช้อุปกรณ์ รอบข้างที่ต่อพ่วงกับระบบคอมพิวเตอร์ ร่ วมกันได้อย่างมีประสิ ทธิ ภาพ เช่นเครื่ องพิมพ์ ดิสก์ ไดร์ฟ ซีดีรอม สแกนเนอร์ โมเด็ม เป็ นต้น ทาให้ประหยัดค่าใช้จ่าย ไม่ตองซื้ ออุปกรณ์ที่มีราคาแพง เชื่อมต่อ ้ ั พ่วงให้กบคอมพิวเตอร์ ทุกเครื่ อง 13
  • 17. การใช้ โปรแกรมและข้ อมูลร่ วมกัน (Sharing of program and data) เครื อข่ายคอมพิวเตอร์ ทาให้ ผูใช้สามารถใช้โปรแกรม และข้อมูลร่ วมกันได้ โดยจัดเก็บโปรแกรมไว้แหล่งเก็บข้อมูล ที่เป็ นศูนย์กลาง ้ เช่น ที่ฮาร์ ดดิสก์ของเครื่ อง File Server ผูใช้สามารถใช้โปรแกรมร่ วมกัน ได้จากแหล่งเดียวกัน ไม่ตองเก็บ ้ ้ โปรแกรมไว้ในแต่ละเครื่ อง ให้ซ้ าซ้อนกัน นอกจากนั้นยังสามารถรวบรวม ข้อมูลต่าง ๆ จัดเก็บเป็ น ฐานข้อมูล ผูใช้สามารถใช้สารสนเทศ จากฐานข้อมูลกลาง ผ่านระบบเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ ที่ใช้งานได้อย่าง ้ สะดวกสบาย โดยไม่ตองเดินทางไปสาเนาข้อมูลด้วยตนเอง เพราะใช้การเรี ยกใช้ขอมูล ผ่านระบบเครื อข่าย ้ ้ คอมพิวเตอร์ นนเอง เครื่ องลูก (Client) สามารถเข้ามาใช้ โปรแกรม ข้อมูล ร่ วมกันได้จากเครื่ องแม่ (Server) ั่ หรื อระหว่างเครื่ องลูกกับเครื่ องลูกก็ได้ เป็ นการประหยัดเนื้อที่ในการจัดเก็บโปรแกรม ไม่จาเป็ นว่าทุกเครื่ อง ต้องมีโปรแกรมเดียวกันนี้ในเครื่ องของตนเอง สามารถติดต่ อสื่ อสารระยะไกลได้ (Telecommunication) การเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์ เป็ นเครื อข่าย ทั้งประเภทเครื อข่าย LAN , MAN และ WAN ทาให้คอมพิวเตอร์ สามารถสื่ อสารแลกเปลี่ยนข้อมูล ระยะไกลได้ โดยใช้ซอฟต์แวร์ ประยุกต์ ทางด้านการติดต่อสื่ อสาร โดยเฉพาะอย่างยิง ในระบบเครื อข่าย ่ อินเทอร์ เน็ต มีการให้บริ การต่าง ๆ มากมาย เช่น การโอนย้ายไฟล์ขอมูล การใช้จดหมายอิเล็กทรอนิกส์ ้ (Electronic Mail) การสื บค้นข้อมูล (Serach Engine) เป็ นต้น สามารถประยุกต์ ใช้ ในงานด้ านธุรกิจได้ (Business Applicability) องค์กรธุ รกิจ มีการเชื่อมโยง เครื อข่ายคอมพิวเตอร์ เพื่อประโยชน์ทางธุ รกิจ เช่น เครื อข่ายของธุ รกิจธนาคาร ธุ รกิจการบิน ธุ รกิจ ประกันภัย ธุ รกิจการท่องเที่ยว ธุ รกิจหลักทรัพย์ สามารถดาเนินธุ รกิจ ได้อย่างรวดเร็ ว ตอบสนองความพึง พอใจ ให้แก่ลูกค้าในปั จจุบน เริ่ มมีการใช้ประโยชน์จากเครื อข่าย Internet เพื่อทาธุ รกิจกันแล้ว เช่นการ ั สั่งซื้ อสิ นค้า การจ่ายเงินผ่านระบบธนาคาร เป็ นต้น ความประหยัดและความเชื่อถือได้ ของระบบงาน นับเป็ นการลงทุนที่คุมค่า อย่างเช่นในสานักงาน ้ หนึ่งมีเครื่ องอยู่ 30 เครื่ อง หรื อมากกว่านี้ ถ้าไม่มีการนาระบบเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ มาใช้ จะเห็นว่าต้องใช้ เครื่ องพิมพ์อย่างน้อย 5 - 10 เครื่ อง มาใช้งาน แต่ถามีระบบเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ มาใช้แล้วละก้อ ก็สามารถ ้ ใช้อุปกรณ์ หรื อเครื่ องพิมพ์ประมาณ 2-3 เครื่ องก็พอต่อการใช้งานแล้ว เพราะว่าทุกเครื่ องสามารถเข้าใช้ เครื่ องพิมพ์เครื่ องใดก็ได้ ผ่านเครื่ องอื่น ๆ ที่ในระบบเครื อข่ายเดียวกัน และ ถ้าทางานได้เร็ วแต่ขาดความ น่าเชื่อถือก็ถือว่าใช้ไม่ได้ ไม่มีประสิ ทธิ ภาพ ดังนั้นเมื่อนาระบบเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ มาใช้งาน ทา ระบบงานมีประสิ ทธิภาพ มีความน่าเชื่อถือของข้อมูล เพราะจะมีการทาสารองข้อมูลไว้ เมื่อเครื่ องที่ใช้งาน เกิดมีปัญหา ก็สามารถนาข้อมูลที่มีการสารองมาใช้ได้ อย่างทันที 14
  • 18. บรรณานุกรม เครือข่ ายคอมพิวเตอร์ http://www.rayongwit.ac.th/comcen09/network/lesson7.html อุปกรณ์ ทใช้ ในระบบเครือข่ าย ี่ http://www.thaigoodview.com/library/contest2552/type2/tech04/24/n2.html อุปกรณ์ ทสาคัญในระบบเครื อข่ าย ี่ http://thn21632-06.blogspot.com/ โครงสร้ างเครือข่ ายคอมพิวเตอร์ (Topology of LAN) http://reg.ksu.ac.th/teacher/songgrod/4123702/content/lesson1/103.html ประเภทของเครือข่ ายคอมพิวเตอร์ http://learn.wattano.ac.th/learning/userchap13 ชนิดของเครือข่ ายคอมพิวเตอร์ http://www.krunee.com/content123.html ประโยชน์ ของระบบเครือข่ ายคอมพิวเตอร์ http://www.krunee.com/content123.html 15