SlideShare a Scribd company logo
1 of 69
08-888-206
เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อสื่อสารมวลชน
Information Technology for Mass Communication
ผู้สอน
อ.กฤษณพงศ์ เลิศบำรุงชัย
อ.ธนะภูมิ สงค์ธนำพิทักษ์
สำขำเทคโนโลยีมัลติมีเดีย คณะเทคโนโลยีสื่อสำรมวลชน
มหำวิทยำลัยเทคโนโลยีรำชมงคลธัญบุรี
บทที่ 3
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
ผู้สอน
อ.กฤษณพงศ์ เลิศบำรุงชัย
อ.ธนะภูมิ สงค์ธนำพิทักษ์
สำขำเทคโนโลยีมัลติมีเดีย คณะเทคโนโลยีสื่อสำรมวลชน
มหำวิทยำลัยเทคโนโลยีรำชมงคลธัญบุรี
วัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม
1. บอกควำมหมำยขององค์ประกอบแต่ละชนิดได้
2. จำแนกองค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์แต่ละชนิดได้
3. อธิบำยเกี่ยวกับบุคลำกรที่เกี่ยวข้องกับคอมพิวเตอร์ได้
4. บอกควำมแตกต่ำงระหว่ำงข้อมูลและสำรสนเทศได้
5. ยกตัวอย่ำงกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับควำมสัมพันธ์ขององค์ประกอบแต่ละชนิดได้
6. อธิบำยพื้นฐำนกำรทำงำนของคอมพิวเตอร์ได้
7. อธิบำยวงรอบกำรทำงำนของซีพียูโดยทั่วไปได้
องค์ประกอบหลักในการทางานของคอมพิวเตอร์
ฮาร์ดแวร์
Hardware
ซอฟต์แวร์
Software
บุคลากร
Software
ข้อมูล/สารสนเทศ
Data/Information
ฮาร์ดแวร์
เป็นอุปกรณ์ที่จับต้อง สัมผัส และสำมำรถมองเห็นได้อย่ำงเป็นรูปธรรม มีทั้งที่ติดตั้งอยู่ภำยในตัวเครื่องคอมพิวเตอร์ เช่น ซีพียู
เมนบอร์ด แรม และติดตั้งอยู่ภำยนอกเครื่องคอมพิวเตอร์ เช่น คีย์บอร์ด เมำส์ จอภำพ เครื่องพิมพ์ ประกอบด้วย
อุปกรณ์นาเข้า
Input Device
อุปกรณ์ประมวลผล
Process Device
อุปกรณ์แสดงผล
Output Device
อุปกรณ์บันทึกข้อมูล
Storage Device
ฮาร์ดแวร์
อุปกรณ์นาเข้าInput Device
ใช้สำหรับป้อนข้อมูลเข้ำสู่ระบบคอมพิวเตอร์ เช่น คีย์บอร์ด เมำส์ ไมโครโฟน และเครื่องสแกน
ฮาร์ดแวร์
อุปกรณ์ประมวลผลProcess Device
ใช้สำหรับประมวลผลคำสั่ง เช่น หน่วยประมวลผลกลำง แผงวงจรหลัก และหน่วยควำมจำหลัก
ฮาร์ดแวร์
อุปกรณ์แสดงผลOutput Device
ใช้สำหรับแสดงผลลัพธ์กำรทำงำนของคอมพิวเตอร์ เช่น จอภำพ เครื่องพิมพ์ และลำโพง
ฮาร์ดแวร์
อุปกรณ์บันทึกข้อมูลStorage Device
ใช้สำหรับบันทึกข้อมูล เช่น ฮำร์ดดิสก์ แฟลชไดรว์ เมมโมรี่กำร์ด และแผ่น CD/DVD
ซอฟต์แวร์
เป็นส่วนของโปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่บรรจุคำสั่ง เพื่อให้คอมพิวเตอร์สำมำรถทำงำนได้ตำมที่ต้องกำร โดยปกติจะถูกสร้ำงจำก
นักเขียนโปรแกรม (Programmer) หรือนักพัฒนำซอฟต์แวร์ (Software Developer) ซอฟต์แวร์เป็นส่วนประกอบทำงนำมธรรมที่
ไม่สำมำรถจับต้องได้เหมือนฮำร์ดแวร์ ระบบจะไม่สำมำรถทำงำนได้หำกปรำศจำกชุดคำสั่งที่เขียนไว้เหล่ำนี้ ซึ่งซอฟต์แวร์แบ่ง
ออกเป็น 2 ประเภทใหญ่ๆ ด้วยกัน คือ
ซอฟต์แวร์ระบบ
System Software
ซอฟต์แวร์ประยุกต์
Application Software
ซอฟต์แวร์
ซอฟต์แวร์ระบบSystem Software
เป็นซอฟต์แวร์ที่ทำหน้ำที่ควบคุมระบบกำรทำงำนของเครื่องคอมพิวเตอร์ ที่รู้จักกันดีคือระบบปฏิบัติกำร (Operating System:
OS) เช่น Windows, MAC OSX, Linux, Android, iOS เป็นต้นมีหน้ำที่ควบคุมกำรทำงำนของระบบคอมพิวเตอร์โดยรวมทั้งหมด
เมื่อมีกำรเปลี่ยนแปลงอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ ระบบปฏิบัติกำรจะตรวจสอบและช่วยให้เรำสำมำรถทำงำนกับอุปกรณ์นั้นได้อย่ำง
รำบรื่น รวมถึงกำรรำยงำนควำมผิดพลำดของระบบ กำรกำหนดสิทธิ์ในกำรใช้งำน และกำรจัดกำรไฟล์ เป็นต้น
ซอฟต์แวร์
ซอฟต์แวร์ประยุกต์Application Software
เป็นกลุ่มของซอฟต์แวร์ที่สำมำรถติดตั้งได้ในภำยหลัง ขึ้นอยู่กับควำมเหมำะสมและกำรประยุกต์ใช้งำนของผู้ใช้งำนเป็นหลัก เช่น
งำนด้ำนบัญชี งำนด้ำนเอกสำร งำนด้ำนกรำฟิก มีทั้งเสียเงินและฟรี สำมำรถจ้ำงเขียนโปรแกรมหรือเขียนขึ้นเองก็ได้ โดยมำกจะ
เป็นผู้ผลิตจำกต่ำงประเทศ
ซอฟต์แวร์
ซอฟต์แวร์ประยุกต์Application Software
สำหรับประเทศไทยได้มีกำรจัดตั้งหน่วยงำนชื่อว่ำ “เขตอุตสำหกรรมซอฟต์แวร์”
หรือ Software Park เพื่อเป็นแหล่งสนับสนุนพัฒนำซอฟต์แวร์สำหรับ
ผู้ประกอบกำรขนำดกลำงและขนำดเล็ก อีกทั้งยังตั้งสำนักงำนส่งเสริม
อุตสำหกรรมซอฟต์แวร์แห่งชำติ (Software Industry Promotion Agency:
SIPA) ในรูปแบบองค์กรมหำชน เพื่อทำหน้ำที่ส่งเสริมให้คนไทยพัฒนำซอฟต์แวร์
ใช้เอง ลดกำรนำเข้ำจำกต่ำงประเทศ
ซอฟต์แวร์
ซอฟต์แวร์ประยุกต์Application Software
ปัจจุบันในสมำร์ทโฟนและแท็บเล็ตจะมีซอฟต์แวร์ประยุกต์ที่มีขนำดเล็ก
สำมำรถทำงำนเฉพำะอย่ำง เรียกว่ำ แอพพลิเคชั่น (Application) เช่น
สแกนนำมบัตร ถ่ำยภำพ แต่งภำพ แต่ปัจจุบันเริ่มซับซ้อนขึ้น อำจจะแต่ง
ภำพขึ้นสูงได้ หรือทำงำนเอกสำรได้ เป็นต้น
บุคลากร
บุคลำกรเป็นส่วนสำคัญ หำกบุคลำกรไม่มีควำมรู้ควำมเข้ำใจในระบบคอมพิวเตอร์ดีพอ อำจจะทำให้กำรใช้งำนไม่มีประสิทธิภำพ
หรือไม่ได้ผลลัพธ์ตำมเป้ำหมำย แบ่งออกเป็น 3 กลุ่มด้วยกัน คือ ผู้ใช้งำนทั่วไป ผู้เชี่ยวชำญ และผู้บริหำร
ผู้ใช้งานทั่วไป
User / End User
ผู้เชี่ยวชาญ
Expert
ผู้บริหาร
Administrator
บุคลากร
กลุ่มผู้ใช้งานทั่วไป
ผู้ใช้งานคอมพิวเตอร์ (User / End User)
เป็นผู้ใช้งำนทั่วไป ไม่จำเป็นต้องมีควำมชำนำญมำกนักก็สำมำรถใช้งำนได้ โดยศึกษำจำกคู่มือปฏิบัติงำน หรือคู่มือกำรใช้งำน
โปรแกรม หรือศึกษำจำก YouTube เป็นต้น มีจำนวนมำกในสำนักงำน เช่น งำนธุรกำรสำนักงำน งำนป้อนข้อมูล งำนบริกำร
ลูกค้ำสัมพันธ์ (Call Center) เป็นต้น
บุคลากร
กลุ่มผู้เชี่ยวชาญ
ช่างเทคนิคคอมพิวเตอร์ (Computer Operator / Computer Technician)
เป็นบุคลำกรที่มีควำมชำนำญทำงเทคนิคเฉพำะด้ำน มีหน้ำที่หลักในกำรแก้ปัญหำที่เกิดขึ้นกับระบบในหน่วยงำนให้สำมำรถใช้งำนได้
ตำมปกติ ช่ำงเทคนิคคอมพิวเตอร์ (Computer Technician) จะต้องมีทักษะและประสบกำรณ์ในกำรแก้ไขปัญหำเฉพำะหน้ำได้ดี
เพรำะผู้ใช้งำนทั่วไปอำจเกิดปัญหำขึ้นได้ตลอดเวลำ
บุคลากร
กลุ่มผู้เชี่ยวชาญ
นักวิเคราะห์ระบบ (System Analyst)
บุคลำกรด้ำนวิเครำะห์และออกแบบงำน มีหน้ำที่วิเครำะห์ควำมต้องกำรของผู้ใช้รวมไปถึงผู้บริหำรของหน่วยงำนนั้นๆ ว่ำต้องกำร
ระบบ โปรแกรม หรือลักษณะงำนแบบไหน อย่ำงไร เพื่อพัฒนำระบบงำนให้ตรงตำมควำมต้องกำรมำกที่สุด อำจรวมถึงกำร
ออกแบบกระบวนกำรทำงำนของระบบโปรแกรมต่ำงๆ ทั้งหมดด้วย ซึ่งมักจะใกล้ชิดกับผู้ใช้งำนมำกที่สุด เนื่องจำกต้องคอย
สอบถำมควำมต้องกำรเพื่อวิเครำะห์งำนอยู่เสมอ
บุคลากร
กลุ่มผู้เชี่ยวชาญ
นักเขียนโปรแกรม (Programmer)
เมื่อนักวิเครำะห์ระบบได้ออกแบบระบบงำนเสร็จสิ้นแล้ว จะส่งให้นักเขียนโปรแกรมที่เป็นผู้เชี่ยวชำญในเรื่องของกำรเขียนโปรแกรม
โดยเฉพำะ เพื่อสร้ำงระบบงำนนั้นให้สำมำรถใช้งำนได้จริง
• โปรแกรมที่มีขนำดเล็ก เปรียบเสมือนกำรสร้ำงบ้ำนหลังเล็ก อำจจะใช้นักเขียนโปรแกรมไม่กี่คน และเสร็จได้ในเวลำไม่กี่วัน
• โปรแกรมที่มีขนำดใหญ่ เปรียบเสมือนกำรสร้ำงบ้ำนขนำดใหญ่ อำจจะใช้นักเขียนโปรแกรมหลำยคน อำจมีทีมงำนจำนวนมำก
และแบ่งเป็นส่วนย่อย เรียกว่ำ โมดูล (Module) แล้วค่อยนำมำรวมกันเป็นโปรแกรมขนำดใหญ่
บุคลากร
กลุ่มผู้เชี่ยวชาญ
นักเขียนโปรแกรม (Programmer)
โปรแกรมเมอร์จะใช้ภำษำคอมพิวเตอร์ตำมที่ตัวเองถนัดในกำรพัฒนำโปรแกรม ขึ้นอยู่กับควำมต้องกำรของระบบ และควำม
ซับซ้อนของลักษณะงำน โดยมีหน้ำที่และชื่อเรียกต่ำงกันไป เช่น
• Web Programmer หรือนักเขียนโปรแกรมสำหรับใช้งำนบนเว็บไซต์
• Application Programmer หรือนักเขียนโปรแกรมสำหรับใช้งำนเฉพำะอย่ำง
• System Programmer หรือนักเขียนโปรแกรมระบบ เป็นต้น
บุคลากร
กลุ่มผู้เชี่ยวชาญ
วิศวกรซอฟต์แวร์ (Software Engineer)
มีหน้ำที่ในกำรตรวจสอบซอฟต์แวร์ที่พัฒนำขึ้นอย่ำงมีแบบแผน โดยอำศัยหลักทำงวิศวกรรมศำสตร์ ควบคุมกำรออกแบบ
โปรแกรมว่ำพบปัญหำอะไรบ้ำงและแก้ไขปัญหำอย่ำงไร เป็นไปตำมหลักมำตรฐำนกำรออกแบบมำกน้อยเพียงใด ตรงตำมควำม
ต้องกำรของลูกค้ำหรือไม่ กำรเขียนโปรแกรมถูกต้องตำมหลักกำรเขียนโปรแกรมที่ดีหรือไม่ มีบคำสั่งหรือบรรทัดที่ไม่จำเป็นมำก
น้อยเพียงใด
บุคลากร
กลุ่มผู้เชี่ยวชาญ
วิศวกรซอฟต์แวร์ (Software Engineer)
ผู้ที่ทำงำนด้ำนนี้จะต้องเป็นคนที่มีทักษะและควำมเข้ำใจในกำรพัฒนำซอฟต์แวร์มำกพอสมควร อำจเคยพัฒนำซอฟต์แวร์มำก่อน
และมีควำมเชี่ยวชำญเป็นอย่ำงดี มีทักษะในกำรเขียนโปรแกรมได้หลำยภำษำ และสำมำรถแก้ไขปัญหำได้ทันท่วงทีตั้งแต่ขั้นตอนแรก
จนถึงสิ้นสุดกระบวนกำร นอกจำกนี้ยังต้องมีควำมสำมำรถด้ำนกำรเจรจำ และประสำนงำนเป็นอย่ำงดี เพรำะต้องทำงำนร่วมกับ
ผู้อื่นตลอดเวลำ
บุคลากร
กลุ่มผู้เชี่ยวชาญ
ผู้ดูแลเน็ตเวิร์ค (Network Administrator)
ผู้ที่ทำหน้ำที่นี้จะต้องมีควำมชำนำญเกี่ยวกับระบบเครือข่ำยคอมพิวเตอร์เป็นอย่ำงดี และต้องมีทักษะในกำรแก้ไขปัญหำที่เกิดขึ้นได้
ทันท่วงที เพรำะถ้ำไม่สำมำรถแก้ปัญหำได้ อำจจะเกิดผลเสียต่อองค์กร เช่น กำรบุกรุกทำงเครือข่ำยคอมพิวเตอร์ กำรลักลอบเข้ำ
มำยังระบบภำยในองค์กร ข้อมูลที่เป็นควำมลับขององค์กรอำจถูกนำไปใช้ในทำงเสียหำย หรือถูกทำลำยก็ได้
บุคลากร
กลุ่มผู้บริหาร
ผู้บริหารสูงสุดด้านสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ (CIO: Chief Information Officer)
สำหรับหน่วยงำนขนำดใหญ่ที่ต้องอำศัยเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์เพื่อขับเคลื่อนงำนธุรกิจในองค์กร อำจมีตำแหน่งสูงสุดด้ำน
บริหำรงำนคอมพิวเตอร์ในองค์กร เรียกว่ำ ผู้บริหำรสูงสุดด้ำนสำรสนเทศและคอมพิวเตอร์ (CIO: Chief Information Officer)
มีหน้ำที่กำหนดทิศทำง นโยบำย และแผนงำนทำงคอมพิวเตอร์ในองค์กทั้งหมด กำรขยำยงำนทำงด้ำนธุรกิจขององค์กร กำรเพิ่ม
หรือลดองค์ประกอบทำงด้ำนคอมพิวเตอร์
บุคลากร
กลุ่มผู้บริหาร
หัวหน้างานด้านคอมพิวเตอร์ (Information Technology Manager)
มีหน้ำที่ดูแลและกำกับงำนทำงด้ำนคอมพิวเตอร์ให้บรรลุเป้ำหมำยตำมแผนงำนและทิศทำงที่ CIO วำงไว้ เช่น CIO ต้องกำร
เปลี่ยนแปลงเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ที่ใช้อยู่ ผู้จัดกำรมีหน้ำที่ดำเนินกำร จัดหำ จัดซื้อ รวมถึงอำจต้องรื้อระบบเก่ำทิ้งไปและวำง
ระบบใหม่ เพื่อให้บรรลุเป้ำหมำยที่ CIO กำหนดมำ อำจมี Help Desk เพื่อให้บริกำรและช่วยเหลือตลอด 24 ชั่วโมง จัดเตรียมกำร
ฝึกอบรม ให้คำแนะนำ คำปรึกษำ แก่ผู้ใช้งำน รวมถึงสร้ำงกฎระเบียบหรือมำตรฐำนกำรใช้งำนคอมพิวเตอร์ภำยในองค์กร
เพื่อให้ใช้งำนร่วมกันได้อย่ำงมีประสิทธิภำพ
ข้อมูล / สารสนเทศ
ข้อมูล &Data
สารสนเทศInformation
ข้อมูล / สารสนเทศ
ข้อมูล &Data
สารสนเทศInformation
ข้อมูล (Data) เป็นองค์ประกอบที่สำคัญอย่ำงหนึ่ง อำจอยู่ในลักษณะของตัวอักษร รูปภำพ ตัวเลข และเสียง ก็ได้ กำรทำงำนของ
คอมพิวเตอร์จะเกี่ยวข้องกับข้อมูล ตั้งแต่กำรนำข้อมูลเข้ำ และประมวลผลจนกลำยเป็นข้อมูลที่สำมำรถใช้ประโยชน์ต่อได้ หรือที่
เรียกว่ำ สำรสนเทศ (Information)
ข้อมูล / สารสนเทศ
ข้อมูล &Data
สารสนเทศInformation
ข้อมูลที่ใช้กับคอมพิวเตอร์จะถูกแปลงรูปแบบหรือสถำนะให้คอมพิวเตอร์เข้ำใจก่อน จึงจะสำมำรถนำไปประมวลผลได้ สถำนะนี้
เรียกว่ำ สถำนะแบบดิจิทัล ซึ่งจะมีเพียง 2 สถำนะคือ เปิด (1) และปิด (0) เหมือนกับหลักกำรทำงำนของไฟฟ้ำ
ข้อมูล / สารสนเทศ
ข้อมูล &Data
สารสนเทศInformation
สถำนะกำรทำงำนแบบดิจิทัล จะอำศัยกำรประมวลผลโดยใช้ระบบเลขฐำนสอง (Binary System) ประกอบด้วยเลข 2 ตัว คือ 0
และ 1 เรียกว่ำตัวเลขฐำน 2 (Binary Digit) มักเรียกย่อๆ ว่ำบิต (Bit) เมื่อใดที่มีกำรป้อนข้อมูลเข้ำไปในระบบ ก็จะมีกำรแปลง
ข้อมูลหรือตัวเลขเหล่ำนั้น ให้อยู่ในรูปของตัวเลขฐำนสองก่อน
ข้อมูล / สารสนเทศ
ข้อมูล &Data
สารสนเทศInformation
เมื่อจำนวนของเลขฐำนสองหรือบิตรวมกันครบ 8 ตัว เรำจะเรียกหน่วยจัดเก็บข้อมูลนี้ใหม่ว่ำเป็น 1 ไบต์ (byte) ซึ่งจะสำมำรถใช้
แทนตัวอักษร ตัวเลข หรืออักขระพิเศษแต่ละตัวที่เรำต้องกำรป้อนเข้ำไปในในเครื่องได้ เรียกว่ำ รหัสแทนข้อมูล
ข้อมูล / สารสนเทศ
ข้อมูล &Data
สารสนเทศInformation
กลุ่มตัวเลขฐำนสองต่ำงๆ ที่นำมำใช้เป็นรหัสแทนข้อมูลนั้น จะถูกกำหนดรหัสไว้เป็นมำตรฐำน เพื่อให้คอมพิวเตอร์เข้ำใจตรงกันทุก
เครื่อง ซึ่งมีอยู่หลำยมำตรฐำน หลำยองค์กร เช่น ASCII และ Unicode
ข้อมูล / สารสนเทศ
รหัสแอสกีASCII: American Standard Code for Information Interchange
เป็นรหัสมำตรฐำนที่ใช้ในเครื่องคอมพิวเตอร์ทั่วไป พัฒนำโดยสถำบันมำตรฐำนแห่งสหรัฐอเมริกำ รหัสแอสกีมีขนำด 1 ไบต์ เก็บ
ตัวอักขระได้สูงสุด 256 รูปแบบ
ข้อมูล / สารสนเทศ
รหัสยูนิโค้ดUnicode
เป็นรหัสมำตรฐำนที่พัฒนำให้เก็บอักขระได้มำกขึ้นอีก เพื่อรองรับชุดอักขระได้หลำยๆ ภำษำทั่วโลก และยังพัฒนำเวอร์ชั่นอยู่
อย่ำงต่อเนื่อง ชุดอักขระที่เข้ำรหัสด้วยมำตรฐำนยูนิโค้ด (Unicode) Transformation Format) มีหลำยแบบ เช่น
• UTF-8 (มีขนำด 1 ไบต์หรือ 8 บิต)
• UTF-16 (มีขนำด 2 ไบต์หรือ 16 บิต)
• UTF-32 (มีขนำด 4 ไบต์หรือ 32 บิต) ซึ่งสำมำรถเก็บตัวอักขระได้มำกกว่ำ 100,000 รูปแบบ
ข้อมูล / สารสนเทศ
กระบวนการแปลงข้อมูล
ผู้ใช้งำนป้อนข้อมูลอักษร “D” ตัวใหญ่ เข้ำไปยังระบบ โดยกดคีย์
[Shift+D] พร้อมกันบนคีย์บอร์ด
ขั้นตอนที่ 1
ข้อมูล / สารสนเทศ
กระบวนการแปลงข้อมูล
สัญญำณอิเล็กทรอนิกส์ของ “D” จะถูกส่งต่อไปยังระบบกำรทำงำนของคอมพิวเตอร์
ขั้นตอนที่ 2
ข้อมูล / สารสนเทศ
กระบวนการแปลงข้อมูล
สัญญำณที่ส่งต่อเข้ำมำของตัวอักษร “D” จะถูกแปลงให้อยู่ในรูปแบบมำตรฐำนของรหัสแอสกี (ASCII) และเก็บไว้ใน
หน่วยควำมจำเพื่อประมวลผลต่อไป
ขั้นตอนที่ 3
อักขระ เลขฐาน 16 เลขฐาน 10 เลขฐาน 8 เลขฐาน 2
A 041 065 101 01000001
B 042 066 102 01000010
C 043 067 103 01000011
D 044 068 104 01000100 01000100
D
ข้อมูล / สารสนเทศ
กระบวนการแปลงข้อมูล
เมื่อประมสลผลเสร็จเรียบร้อยแล้ว กลุ่มรหัสดังกล่ำวจะถูกแปลง
กลับให้ออกมำอยู่ในรูปแบบชองภำพที่สำมำรถมองเห็นได้ผ่ำน
อุปกรณ์แสดงผล เช่น จอภำพ เป็นต้น
ขั้นตอนที่ 4
D
ข้อมูล / สารสนเทศ
หน่วยวัดความจุข้อมูลData Capacity Unit
คอมพิวเตอร์จะสำมำรถเข้ำใจข้อมูลได้เมื่อมีกำรแปลงให้อยู่ในระบบเลขฐำนสองเท่ำนั้น ดังนั้นเมื่อมีควำมจุข้อมูล จึงถูกอ้ำงอิงโดย
ใช้ระบบเลขฐำนสองเป็นหลักและมีหน่วยเป็นไบต์ (Byte) ซึ่งอำจเทียบเท่ำตัวอักษร 1 ตัว แต่ในกำรทำงำนจริงนั้นคอมพิวเตอร์จะ
คิดคำนวณหน่วยควำมจุออกมำเป็นจำนวนมำก ดังนั้นจึงมีกำรกำหนดหน่วยวัดควำมจุข้อมูลที่ใหญ่ขึ้นมำอีก เช่น
• กิโลไบต์ (Kilobyte)
• เมกะไบต์ (Megabyte)
• กิกะไบต์ (Gigabyte)
ข้อมูล / สารสนเทศ
หน่วยวัดความจุข้อมูลData Capacity Unit
หน่วยวัด อ่ำนว่ำ ตัวย่อ ขนำดควำมจำข้อมูล ค่ำโดยประมำณ
Kilobyte กิโลไบต์ KB (210)1 = 1,024 bytes 1,000 bytes
Megabyte เมกะไบต์ MB (210)2 = 1,048,576 bytes 1,000,000 bytes
Gigabyte กิกะไบต์ GB (210)3 = 1,073,741,824 bytes 1,000,000,000 bytes
Terabyte เทรำไบต์ TB (210)4 = 1,099,511,627,776 bytes 1,000,000,000,000 bytes
ข้อมูล / สารสนเทศ
หน่วยวัดความจุข้อมูลData Capacity Unit
ปัจจุบันมีหน่วยวัดข้อมูลที่ใหญ่กว่าเทราไบต์
เพตะไบต์ (Petabyte: PB) มีขนำดอ้ำงอิงคร่ำวๆ คือ
1 PB = 1,000,000,000,000,000 ไบต์ (หนึ่งพันล้ำนล้ำนไบต์)
1,024 TB = 1 PB
ข้อมูล / สารสนเทศ
หน่วยวัดความจุข้อมูลData Capacity Unit
ปัจจุบันมีหน่วยวัดข้อมูลที่ใหญ่กว่าเทราไบต์
เอกซะไบต์ (Exabyte: EB) มีขนำดอ้ำงอิงคร่ำวๆ คือ
1 EB = 1,000,000,000,000,000,000 ไบต์ (หนึ่งล้ำนล้ำนล้ำนไบต์)
1,024 PB = 1 EB
ข้อมูล / สารสนเทศ
หน่วยวัดความจุข้อมูลData Capacity Unit
ปัจจุบันมีหน่วยวัดข้อมูลที่ใหญ่กว่าเทราไบต์
เซตตะไบต์ (Zettabyte: ZB) มีขนำดอ้ำงอิงคร่ำวๆ คือ
1 ZB = 1,000,000,000,000,000,000,000 ไบต์ (หนึ่งพันล้ำนล้ำนล้ำนไบต์)
1,024 EB = 1 ZB
ข้อมูล / สารสนเทศ
หน่วยวัดความจุข้อมูลData Capacity Unit
ปัจจุบันมีหน่วยวัดข้อมูลที่ใหญ่กว่าเทราไบต์
ยอตตะไบต์ (Yottabyte: YB) มีขนำดอ้ำงอิงคร่ำวๆ คือ
1 YB = 1,000,000,000,000,000,000,000,000 ไบต์ (หนึ่งล้ำนล้ำนล้ำนล้ำนไบต์)
1,024 ZB = 1 YB
ข้อมูล / สารสนเทศ
การแปลงหน่วยวัดข้อมูลConverting Data Capacity Unit
• 8 Bit = 1 Byte
• 1024 Byte = 1 KB
• 1,024 KB = 1 MB
• 1,024 MB = 1 GB
• 1,024 GB = 1 TB
• 1,024 TB = 1 PB
• 1,024 PB = 1 EB
• 1,024 EB = 1 ZB
• 1,024 ZB = 1 YB
ข้อมูล / สารสนเทศ
การนาข้อมูลเข้าสู่คอมพิวเตอร์การนาเข้าโดยผ่านอุปกรณ์นาเข้า (Input Device)
เป็นวิธีที่ง่ำยและสะดวกที่สุดสำหรับนำข้อมูลเข้ำไปยังคอมพิวเตอร์โดยตรง ผ่ำนอุปกรณ์นำเข้ำหลำยชนิด ขึ้นอยู่กับรูปแบบของ
ข้อมูลด้วยว่ำ เป็นแบบใด และสำมำรถใช้ร่วมกับอุปกรณ์เหล่ำนั้นได้หรือไม่ เช่น
ข้อมูล / สารสนเทศ
การนาข้อมูลเข้าสู่คอมพิวเตอร์การนาเข้าโดยใช้สื่อเก็บบันทึกข้อมูลสารอง (Secondary Storage)
กำรนำเข้ำข้อมูลวิธีนี้ อำจดึงเอำข้อมูลที่เก็บไว้ก่อนแล้วจำกสื่อบัทึกข้อมูลอย่ำงใดอย่ำงหนึ่งออกมำ เช่น ฮำร์ดดิสก์ แฟลชไดรว์
แผ่น CD/DVD เป็นต้น โดยคอมพิวเตอร์จะอ่ำนผ่ำนเครื่องอ่ำนโดยเฉพำะ เช่น CD/DVD
ข้อมูล / สารสนเทศ
การนาข้อมูลเข้าสู่คอมพิวเตอร์การนาเข้าข้อมูลผ่านเครือข่ายเน็ตเวิร์ค (Network)
โดยรับข้อมูลที่แชร์มำจำกอุปกรณ์อื่นๆ ที่เชื่อมโยงถึงกัน ไม่ว่ำจะเป็นคอมพิวเตอร์เครื่องอื่น สมำร์ทโฟน หรือแท็บเล็ต รวมถึง
ข้อมูลจำกอินเทอร์เน็ต อย่ำงเช่น ไฟล์บนคลำวด์เซิร์ฟเวอร์ (Cloud Server) เป็นต้น
ข้อมูล / สารสนเทศ
กิจกรรมและความสัมพันธ์ของแต่ละองค์ประกอบ
ในกำรทำงำนด้วยระบคอมพิวเตอร์นั้น จะมีกิจกรรมที่สัมพันธ์กันระหว่ำงองค์ประกอบแต่ละส่วนอยู่เสมอ ไม่ว่ำจะเป็นข้อมูล
บุคลำกร ซอฟต์แวร์ และฮำร์ดแวร์ ก็ต้องทำงำนเกี่ยวข้องกันหมด กิจกรรมและควำมสัมพันธ์ต่ำงๆ จะเริ่มตั้งแต่กำรนำข้อมูลเข้ำ
(Input) จนถึงขั้นตอนของกำรแสดงผลลัพธ์ที่ได้ (Output)
กิจกรรมและความสัมพันธ์ของแต่ละองค์ประกอบ
โปรแกรมประยุกต์
โปรแกรมระบบปฏิบัติกำร
ฮำร์ดแวร์
ผู้ใช้
User
ป้อนข้อมูลเข้า
User Input
ร้องขอบริการ
Service Requests
สั่งการฮาร์ดแวร์
Hardware Instructions
แสดงผลลัพธ์
Program Output
สนองบริการ
Service Responses
ประมวลผลลัพธ์
Processing Results
พื้นฐานการทางานของคอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์โดยทั่วไปจะมีกำรติดตั้งชุดคำสั่งโปรแกรมเก็บไว้ในเครื่อง (Stored Program) ซึ่งกำรทำงำนพื้นฐำนนั้นประกอบด้วย
หน่วยที่เกี่ยวข้องหลักๆ ดังนี้
หน่วยประมวลผลกลาง
Central Processor Unit
หน่วยความจาหลัก
Primary Storage
หน่วยความจาสารอง
Secondary Storage
หน่วยรับและแสดงผลข้อมูล
Input / Output Unit
ทางเดินของระบบ
System Bus
พื้นฐานการทางานของคอมพิวเตอร์
หน่วยประมวลผลกลางCentral Processor Unit
เป็นส่วนหนึ่งของอุปกรณ์กำรประมวลผล (Processing Device) โดยมีหน้ำที่หลัก คือ ประมวลผลคำสั่งที่ได้รับมำว่ำจะให้ทำ
อะไรบ้ำง กระบวนกำรดังกล่ำวซีพียูจะจัดกำรเองทั้งหมด เนื่องจำกมีหน่วยสำหรับกำรทำงำนโดยเฉพำะ ส่วนประกอบที่สำคัญ
ของซีพียู แบ่งออกได้ดังนี้
พื้นฐานการทางานของคอมพิวเตอร์
หน่วยประมวลผลกลางCentral Processor Unit
หน่วยควบคุม (Control Unit)
ทำหน้ำที่ควบคุมกำรทำงำนของทุกหน่วยในซีพียูรวมถึงอุปกรณ์ต่อพ่วงด้วย เริ่มตั้งแต่กำรแปลคำสั่งที่ป้อนเข้ำไป โดยกำรไปดึง
คำสั่งและข้อมูลจำกหน่วยควำมจำมำแล้วแปลควำมหมำย เพื่อส่งไปให้คำนวณและตรรกะทำกำรคำนวณ และตัดสินใจด้วยว่ำจะให้
เก็บข้อมูลไว้ที่ใด
พื้นฐานการทางานของคอมพิวเตอร์
หน่วยประมวลผลกลางCentral Processor Unit
หน่วยคานวณและตรรกะ (Arithmetic and Logic Unit: ALU)
เป็นส่วนที่ทำหน้ำที่คำนวณทำงคณิตศำสตร์ เช่น
• กำรบวก ลบ คูณ หำร
• เปรียบเทียบข้อมูลทำงตรรกศำสตร์ (Logical) ว่ำเป็นจริงหรือเท็จ โดยอำศัยตัวปฏิบัติกำรเปรียบเทียบพื้นฐำน 3 ค่ำ คือ
มำกกว่ำ น้อยกว่ำ และเท่ำกับ
พื้นฐานการทางานของคอมพิวเตอร์
หน่วยประมวลผลกลางCentral Processor Unit
รีจิสเตอร์ (Register)
เป็นพื้นที่สำหรับเก็บพักข้อมูลชุดคำสั่ง ผลลัพธ์ และข้อมูลที่เกิดขึ้นขณะที่ซีพียูประมวลผลเพียงชั่วครำวเท่ำนั้น รีจิสเตอร์จะรับส่ง
ข้อมูลด้วยควำมเร็วสูง และทำงำนภำยใต้กำรควบคุมของหน่วยควบคุม รีจิสเตอร์ที่สำคัญโดยทั่วไป มีดังนี้
• Accumulate Register เก็บผลลัพธ์ที่ได้จำกกำรคำนวณ
• Storage Register เก็บข้อมูลและคำสั่งชั่วครำวที่ผ่ำนจำกหน่วยควำมจำหลัก หรือรอส่งกลับไปที่หน่วยควำมจำหลัก
• Instruction Register เก็บคำสั่งในกำรประมวลผล
• Address Register บอกตำแหน่งของข้อมูลและคำสั่งในหน่วยควำมจำ
พื้นฐานการทางานของคอมพิวเตอร์
หน่วยความจาหลักPrimary Storage
ทำหน้ำที่เก็บข้อมูลและคำสั่งตลอดจนผลลัพธ์ที่ได้จำกกำรประมวลผลของซีพียูเพียงชั่วครำว ปกติแล้วจะมีตำแหน่งของกำรเก็บ
ข้อมูลที่ไม่ซ้ำกันที่เรียกว่ำ แอดเดรส (Address) หน่วยควำมจำหลักแตกต่ำงจำกรีจิสเตอร์ตรงที่เป็นกำรเก็บข้อมูลและคำสั่ง เพื่อ
เรียกใช้ในอนำคตอันใกล้ แบ่งออกเป็น 2 ประเภท ได้แก่
รอม
Read only Memory: ROM
แรม
Radom Access Memory: RAM
พื้นฐานการทางานของคอมพิวเตอร์
หน่วยความจาหลักPrimary Storage
เป็นหน่วยควำมจำที่อ่ำนได้อย่ำงเดียว ไม่สำมำรถบันทึกหรือเขียนเพิ่มเติมได้ โดยปกติจะเป็นกำรเก็บคำสั่งที่ใช้บ่อยและเป็นคำสั่ง
เฉพำะ ข้อมูลใน ROM จะอยู่กับเครื่องอย่ำงถำวร ไฟดับหรือปิดเครื่องข้อมูลจะไม่หำย จึงนิยมเรียกอีกอย่ำงหนึ่งว่ำ Non-Volatile
Memory
รอม
Read only Memory: ROM
พื้นฐานการทางานของคอมพิวเตอร์
หน่วยความจาหลักPrimary Storage
เป็นหน่วยควำมจำอีกประเภทหนึ่งซึ่งต่ำงจำก ROM คือ จะจดจำข้อมูลในระหว่ำงที่ระบบกำลังทำงำนอยู่ ซึ่งสำมำรถเปลี่ยนแปลง
ได้ตลอดเวลำ แต่เมื่อใดที่ระบบขัดข้อง เช่น ไฟดับ หรือมีกำรปิดเครื่อง ข้อมูลในหน่วยควำมจำนี้จะถูกลบหำยหมด จึงเรียกว่ำ
Volatile Memory
แรม
Radom Access Memory: RAM
พื้นฐานการทางานของคอมพิวเตอร์
หน่วยความจาสารองSecondary Storage
เมื่อกำรทำงำนของหน่วยประมวลเสร็จสิ้นลง จะต้องมีพื้นที่และอุปกรณ์สำหรับเก็บและบันทึกข้อมูลไว้ในคอมพิวเตอร์ ซึ่งสำมำรถ
ที่จะเรียกข้อมูลนั้นมำใช้ภำยหลังได้ หรืออีกนัยหนึ่งก็คือเก็บไว้ใช้ในอนำคต สื่อเก็บข้อมูลในลักษณะนี้มีหลำยชนิด เช่น ฮำร์ดดิสก์
แฟลชไดรว์ CD/DVD และ Blue-ray Disc
พื้นฐานการทางานของคอมพิวเตอร์
หน่วยรับข้อมูลและคาสั่งInput Unit
คอมพิวเตอร์ทั่วไปจะมีหน่วยรับข้อมูลและคำสั่งเข้ำสู่ระบบ ข้อมูลต้ำงๆ จะเป็นดิจิทัลที่คอมพิวเตอร์เข้ำใจได้เท่ำนั้น โดยป้อนข้อมูล
ผ่ำนอุปกรณ์นำเข้ำข้อมูล (Input Device) เช่น คีย์บอร์ด เมำส์ และสแกนเนอร์ เป็นต้น จำกนั้นข้อมูลจะถูกส่งให้ CPU เพื่อทำ
หน้ำที่ตำมคำสั่งที่ได้รับมำ
พื้นฐานการทางานของคอมพิวเตอร์
หน่วยแสดงผลลัพธ์Output Unit
เมื่อ CPU จัดกำรกับข้อมูลเรียบร้อยแล้ว จะส่งข้อมูลต่อไปยังหน่วยแสดงผลลัพธ์ อำจจะแสดงผลในรูปแบบอิเล็กทรอนิกส์ทำง
จอภำพ หรือพิมพ์ออกมำผ่ำนเครื่องพิมพ์ หรือลำโพงที่ส่งออกเสียง
พื้นฐานการทางานของคอมพิวเตอร์
ทางเดินของระบบSystem Bus
เป็นเส้นทำงผ่ำนของสัญญำณ เพื่อให้อุปกรณ์ระหว่ำง CPU และหน่วยควำมจำในระบบสำมำรถ
เชื่อมต่อกันได้ เปรียบเหมือนกับช่องทำงกำรจรำจร ยิ่งกว้ำงกำรจรำจรยิ่งเร็วกว่ำ
พื้นฐานการทางานของคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์อื่นๆOthers
หน่วยกำรทำงำนแต่ละส่วน เป็นเพียงอุปกรณ์ที่สำมำรถทำให้คอมพิวเตอร์สำมำรถทำงำนได้ แต่ปัจจุบัน มีส่วนประกอบสำคัญ
สำหรับอุปกรณ์เครือข่ำย เช่น กำร์ดแลน กำร์ดแลนไร้สำย ที่ทำให้คอมพิวเตอร์สำมำรถสื่อสำรข้อมูลกับเครื่องอื่นได้
วงรอบการทางานของซีพียู
โดยปกติ CPU จะรับคำสั่งได้เพียง 1 คำสั่ง แต่สำมำรถทำงำนด้วยควำมเร็วที่สูงมำก ขึ้นอยู่กับควำมเร็ว
ของ CPU ด้วย เมื่อ CPU ทำงำนแต่ละคำสั่งจนหมดก็จะไปเรียกคำสั่งถัดไปมำประมวลผลต่อ ทำงำนวนไป
แบบนี้เรื่อยๆ เรียก วงรอบกำรทำงำนของซีพียู หรือ Machine Cycle
ควำมเร็วของ CPU เรียกว่ำ เมกะเฮริ์ต (Megahertz :MHz) ซึ่งเป็นควำมเร็วของสัญญำณนำฬิกำ ที่ป้อน
ไปให้จังหวะในกำรทำงำนของ CPU โดยค่ำ 1 MHz จะเท่ำกับควำมเร็ว 1 ล้ำนรอบต่อวินำที ควำมเร็วของ
สัญญำณนำฬิกำยิ่งสูงขึ้นมำกเท่ำใด จะทำให้ควำมเร็วในแต่ละรอบกำรทำงำนของ CPU สูงขึ้นไปด้วย
วงรอบการทางานของซีพียู
หน่วยควำมจำ (Memory)
หน่วยควบคุม (Control Unit)
รีจิสเตอร์ (Register)หน่วยคำนวณ (ALU)
ขั้นตอนที่ 1
กำรดึงข้อมูล (Fetch)
ขั้นตอนที่ 2
กำรแปลควำมหมำย (Decode)
ขั้นตอนที่ 3
กำรปฏิบัติกำร (Execute)
ขั้นตอนที่ 4
กำรเก็บผลลัพธ์ (Store)
วงรอบกำรทำงำนของซีพียูจะเกี่ยวข้องกับกำรประมวลผลหลักๆ โดยกำรอ่ำนและดึงข้อมูลมำจำกหน่วยควำมจำ
หลัก และส่งต่อกำรทำงำนนั้นให้กับส่วนต่ำงๆ ที่เกี่ยวข้องต่อไป ซึ่งสำมำรถแบ่งออกได้เป็น 4 ขั้นตอน ดังนี้
วงรอบการทางานของซีพียู
ขั้นตอนที่ 1 การดึงข้อมูล
Fetch
วงรอบกำรทำงำนของซีพียูจะเกี่ยวข้องกับกำรประมวลผลหลักๆ โดยกำรอ่ำนและดึงข้อมูลมำจำกหน่วยควำมจำ
หลัก และส่งต่อกำรทำงำนนั้นให้กับส่วนต่ำงๆ ที่เกี่ยวข้องต่อไป ซึ่งสำมำรถแบ่งออกได้เป็น 4 ขั้นตอน ดังนี้
ขั้นตอนนี้เป็นกระบวนกำรที่หน่วยควบคุมจะ
เข้ำไปดึงคำสั่งและข้อมูลต่ำงๆ มำจำก
หน่วยควำมจำหลัก (โดยปกติกำรป้อนข้อมูล
เข้ำไปในคอมพิวเตอร์ มักจะถูกโหลดไปเก็บไว้
ในหน่วยควำมจำหลักก่อนเสมอ) เพื่อเก็บเข้ำ
สู่รีจิสเตอร์
วงรอบการทางานของซีพียู
ขั้นตอนที่ 2 การแปลความหมาย
Decode
วงรอบกำรทำงำนของซีพียูจะเกี่ยวข้องกับกำรประมวลผลหลักๆ โดยกำรอ่ำนและดึงข้อมูลมำจำกหน่วยควำมจำ
หลัก และส่งต่อกำรทำงำนนั้นให้กับส่วนต่ำงๆ ที่เกี่ยวข้องต่อไป ซึ่งสำมำรถแบ่งออกได้เป็น 4 ขั้นตอน ดังนี้
หน่วยควบคุมของ CPU จะเข้ำไปค้นหำ
ตำแหน่งชุดคำสั่งในรีจิสเตอร์ และแปล
ควำมหมำยของชุดคำสั่งดังกล่ำวออกมำว่ำ
จะให้ทำอะไรบ้ำง เพื่อสร้ำงเป็นสัญญำณ
ควบคุมส่งไปให้หน่วยคำนวณและตรรกะ
(ALU) จัดกำรกับข้อมูลนั้นต่อไป
วงรอบการทางานของซีพียู
ขั้นตอนที่ 3 การปฏิบัติการ
Execute
วงรอบกำรทำงำนของซีพียูจะเกี่ยวข้องกับกำรประมวลผลหลักๆ โดยกำรอ่ำนและดึงข้อมูลมำจำกหน่วยควำมจำ
หลัก และส่งต่อกำรทำงำนนั้นให้กับส่วนต่ำงๆ ที่เกี่ยวข้องต่อไป ซึ่งสำมำรถแบ่งออกได้เป็น 4 ขั้นตอน ดังนี้
เมื่อหน่วยควำมจำและตรรกะ (ALU) ได้รับ
สัญญำณกำรประมวลผลมำจำกหน่วย
ควบคุม ก็จะหน้ำที่คำนวณและเปรียบเทียบ
ตำมคำสั่งที่ได้รับมำ แล้วจัดกำรส่งต่อ
ผลลัพธ์ที่ได้ออกไป
วงรอบการทางานของซีพียู
ขั้นตอนที่ 4 การเก็บผลลัพธ์
Store
วงรอบกำรทำงำนของซีพียูจะเกี่ยวข้องกับกำรประมวลผลหลักๆ โดยกำรอ่ำนและดึงข้อมูลมำจำกหน่วยควำมจำ
หลัก และส่งต่อกำรทำงำนนั้นให้กับส่วนต่ำงๆ ที่เกี่ยวข้องต่อไป ซึ่งสำมำรถแบ่งออกได้เป็น 4 ขั้นตอน ดังนี้
ผลลัพธ์ที่ได้จำกกำรคำนวณของหน่วย
คำนวณและตรรกะ (ALU) จะถูกเขียนและ
เก็บข้อมูลลงไปในแอดเดรสหรือตำแหน่ง
ของหน่วยควำมจำ เพื่อรอให้ส่วนอื่นๆ
เรียกใช้ต่อ
ทากิจกรรม...
เตรียม SmartPhone และเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตให้เรียบร้อย

More Related Content

What's hot

พื้นฐานการออกแบบปฏิสัมพันธ์ (Interaction Design Basic)
พื้นฐานการออกแบบปฏิสัมพันธ์ (Interaction Design Basic)พื้นฐานการออกแบบปฏิสัมพันธ์ (Interaction Design Basic)
พื้นฐานการออกแบบปฏิสัมพันธ์ (Interaction Design Basic)Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
การสร้างสื่อภาพกราฟิกเคลื่อนไหว (Motion Graphic)
การสร้างสื่อภาพกราฟิกเคลื่อนไหว  (Motion Graphic)การสร้างสื่อภาพกราฟิกเคลื่อนไหว  (Motion Graphic)
การสร้างสื่อภาพกราฟิกเคลื่อนไหว (Motion Graphic)Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
เทคนิคการสร้างสื่อเพื่อการปฏิบัติงานในยุคดิจิทัล (Creating Techniques Media f...
เทคนิคการสร้างสื่อเพื่อการปฏิบัติงานในยุคดิจิทัล (Creating Techniques Media f...เทคนิคการสร้างสื่อเพื่อการปฏิบัติงานในยุคดิจิทัล (Creating Techniques Media f...
เทคนิคการสร้างสื่อเพื่อการปฏิบัติงานในยุคดิจิทัล (Creating Techniques Media f...Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
AR VR Metaverse ทางการแพทย์และพยาบาล
AR VR Metaverse ทางการแพทย์และพยาบาลAR VR Metaverse ทางการแพทย์และพยาบาล
AR VR Metaverse ทางการแพทย์และพยาบาลDr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
การตลาดผ่านเครื่องมือค้นหา (Search Engine Marketing)
การตลาดผ่านเครื่องมือค้นหา (Search Engine Marketing)การตลาดผ่านเครื่องมือค้นหา (Search Engine Marketing)
การตลาดผ่านเครื่องมือค้นหา (Search Engine Marketing)Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
ระบบปฏิสัมพันธ์ในกระบวนการพัฒนาซอฟต์แวร์ (Interaction System in Software Deve...
ระบบปฏิสัมพันธ์ในกระบวนการพัฒนาซอฟต์แวร์ (Interaction System in Software Deve...ระบบปฏิสัมพันธ์ในกระบวนการพัฒนาซอฟต์แวร์ (Interaction System in Software Deve...
ระบบปฏิสัมพันธ์ในกระบวนการพัฒนาซอฟต์แวร์ (Interaction System in Software Deve...Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต (Internet Fundamental)
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต (Internet Fundamental)ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต (Internet Fundamental)
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต (Internet Fundamental)Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
อินโฟกราฟิกในยุคการศึกษา 4.0 (Infographic in Education 4.0)
อินโฟกราฟิกในยุคการศึกษา 4.0 (Infographic in Education 4.0)อินโฟกราฟิกในยุคการศึกษา 4.0 (Infographic in Education 4.0)
อินโฟกราฟิกในยุคการศึกษา 4.0 (Infographic in Education 4.0)Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
อุปกรณ์เสริมของคอมพิวเตอร์ (Computer Accessories)
อุปกรณ์เสริมของคอมพิวเตอร์ (Computer Accessories)อุปกรณ์เสริมของคอมพิวเตอร์ (Computer Accessories)
อุปกรณ์เสริมของคอมพิวเตอร์ (Computer Accessories)Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
การเขียนบทที่ 1 บทนำของปริญญานิพนธ์ วิทยานิพนธ์ และงานวิจัย (Introduction)
การเขียนบทที่ 1 บทนำของปริญญานิพนธ์ วิทยานิพนธ์ และงานวิจัย (Introduction)การเขียนบทที่ 1 บทนำของปริญญานิพนธ์ วิทยานิพนธ์ และงานวิจัย (Introduction)
การเขียนบทที่ 1 บทนำของปริญญานิพนธ์ วิทยานิพนธ์ และงานวิจัย (Introduction)Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
การผลิตสื่อวิดีโอ (Video Production)
การผลิตสื่อวิดีโอ (Video Production)การผลิตสื่อวิดีโอ (Video Production)
การผลิตสื่อวิดีโอ (Video Production)Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
การตั้งชื่อเรื่องปริญญานิพนธ์ วิทยานิพนธ์ และงานวิจัย
การตั้งชื่อเรื่องปริญญานิพนธ์ วิทยานิพนธ์ และงานวิจัยการตั้งชื่อเรื่องปริญญานิพนธ์ วิทยานิพนธ์ และงานวิจัย
การตั้งชื่อเรื่องปริญญานิพนธ์ วิทยานิพนธ์ และงานวิจัยDr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
อินเทอร์เน็ตและบริการออนไลน์
อินเทอร์เน็ตและบริการออนไลน์อินเทอร์เน็ตและบริการออนไลน์
อินเทอร์เน็ตและบริการออนไลน์Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
วิทยาการคำนวณ ม.5 - บทที่ 1 ข้อมูลมีคุณค่า
วิทยาการคำนวณ ม.5 - บทที่ 1 ข้อมูลมีคุณค่าวิทยาการคำนวณ ม.5 - บทที่ 1 ข้อมูลมีคุณค่า
วิทยาการคำนวณ ม.5 - บทที่ 1 ข้อมูลมีคุณค่าCoco Tan
 
การทำการตลาดบนมือถือสำหรับธุรกิจบริการ (Mobile Marketing for Service Business)
การทำการตลาดบนมือถือสำหรับธุรกิจบริการ (Mobile Marketing for Service Business)การทำการตลาดบนมือถือสำหรับธุรกิจบริการ (Mobile Marketing for Service Business)
การทำการตลาดบนมือถือสำหรับธุรกิจบริการ (Mobile Marketing for Service Business)Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
ข้อสอบปลายภาค50ข้อ โปรแกรมword
ข้อสอบปลายภาค50ข้อ โปรแกรมwordข้อสอบปลายภาค50ข้อ โปรแกรมword
ข้อสอบปลายภาค50ข้อ โปรแกรมwordpeter dontoom
 
พื้นฐานการออกแบบปฏิสัมพันธ์ (Interaction Design Basic)
พื้นฐานการออกแบบปฏิสัมพันธ์ (Interaction Design Basic)พื้นฐานการออกแบบปฏิสัมพันธ์ (Interaction Design Basic)
พื้นฐานการออกแบบปฏิสัมพันธ์ (Interaction Design Basic)Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 

What's hot (20)

บทที่6 digital marketing
บทที่6 digital marketingบทที่6 digital marketing
บทที่6 digital marketing
 
พื้นฐานการออกแบบปฏิสัมพันธ์ (Interaction Design Basic)
พื้นฐานการออกแบบปฏิสัมพันธ์ (Interaction Design Basic)พื้นฐานการออกแบบปฏิสัมพันธ์ (Interaction Design Basic)
พื้นฐานการออกแบบปฏิสัมพันธ์ (Interaction Design Basic)
 
การสร้างสื่อภาพกราฟิกเคลื่อนไหว (Motion Graphic)
การสร้างสื่อภาพกราฟิกเคลื่อนไหว  (Motion Graphic)การสร้างสื่อภาพกราฟิกเคลื่อนไหว  (Motion Graphic)
การสร้างสื่อภาพกราฟิกเคลื่อนไหว (Motion Graphic)
 
เทคนิคการสร้างสื่อเพื่อการปฏิบัติงานในยุคดิจิทัล (Creating Techniques Media f...
เทคนิคการสร้างสื่อเพื่อการปฏิบัติงานในยุคดิจิทัล (Creating Techniques Media f...เทคนิคการสร้างสื่อเพื่อการปฏิบัติงานในยุคดิจิทัล (Creating Techniques Media f...
เทคนิคการสร้างสื่อเพื่อการปฏิบัติงานในยุคดิจิทัล (Creating Techniques Media f...
 
AR VR Metaverse ทางการแพทย์และพยาบาล
AR VR Metaverse ทางการแพทย์และพยาบาลAR VR Metaverse ทางการแพทย์และพยาบาล
AR VR Metaverse ทางการแพทย์และพยาบาล
 
การตลาดผ่านเครื่องมือค้นหา (Search Engine Marketing)
การตลาดผ่านเครื่องมือค้นหา (Search Engine Marketing)การตลาดผ่านเครื่องมือค้นหา (Search Engine Marketing)
การตลาดผ่านเครื่องมือค้นหา (Search Engine Marketing)
 
ระบบปฏิสัมพันธ์ในกระบวนการพัฒนาซอฟต์แวร์ (Interaction System in Software Deve...
ระบบปฏิสัมพันธ์ในกระบวนการพัฒนาซอฟต์แวร์ (Interaction System in Software Deve...ระบบปฏิสัมพันธ์ในกระบวนการพัฒนาซอฟต์แวร์ (Interaction System in Software Deve...
ระบบปฏิสัมพันธ์ในกระบวนการพัฒนาซอฟต์แวร์ (Interaction System in Software Deve...
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต (Internet Fundamental)
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต (Internet Fundamental)ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต (Internet Fundamental)
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต (Internet Fundamental)
 
อินโฟกราฟิกในยุคการศึกษา 4.0 (Infographic in Education 4.0)
อินโฟกราฟิกในยุคการศึกษา 4.0 (Infographic in Education 4.0)อินโฟกราฟิกในยุคการศึกษา 4.0 (Infographic in Education 4.0)
อินโฟกราฟิกในยุคการศึกษา 4.0 (Infographic in Education 4.0)
 
อุปกรณ์เสริมของคอมพิวเตอร์ (Computer Accessories)
อุปกรณ์เสริมของคอมพิวเตอร์ (Computer Accessories)อุปกรณ์เสริมของคอมพิวเตอร์ (Computer Accessories)
อุปกรณ์เสริมของคอมพิวเตอร์ (Computer Accessories)
 
การเขียนบทที่ 1 บทนำของปริญญานิพนธ์ วิทยานิพนธ์ และงานวิจัย (Introduction)
การเขียนบทที่ 1 บทนำของปริญญานิพนธ์ วิทยานิพนธ์ และงานวิจัย (Introduction)การเขียนบทที่ 1 บทนำของปริญญานิพนธ์ วิทยานิพนธ์ และงานวิจัย (Introduction)
การเขียนบทที่ 1 บทนำของปริญญานิพนธ์ วิทยานิพนธ์ และงานวิจัย (Introduction)
 
การประมวลผลข้อมูล
การประมวลผลข้อมูลการประมวลผลข้อมูล
การประมวลผลข้อมูล
 
การผลิตสื่อวิดีโอ (Video Production)
การผลิตสื่อวิดีโอ (Video Production)การผลิตสื่อวิดีโอ (Video Production)
การผลิตสื่อวิดีโอ (Video Production)
 
การตั้งชื่อเรื่องปริญญานิพนธ์ วิทยานิพนธ์ และงานวิจัย
การตั้งชื่อเรื่องปริญญานิพนธ์ วิทยานิพนธ์ และงานวิจัยการตั้งชื่อเรื่องปริญญานิพนธ์ วิทยานิพนธ์ และงานวิจัย
การตั้งชื่อเรื่องปริญญานิพนธ์ วิทยานิพนธ์ และงานวิจัย
 
อินเทอร์เน็ตและบริการออนไลน์
อินเทอร์เน็ตและบริการออนไลน์อินเทอร์เน็ตและบริการออนไลน์
อินเทอร์เน็ตและบริการออนไลน์
 
วิทยาการคำนวณ ม.5 - บทที่ 1 ข้อมูลมีคุณค่า
วิทยาการคำนวณ ม.5 - บทที่ 1 ข้อมูลมีคุณค่าวิทยาการคำนวณ ม.5 - บทที่ 1 ข้อมูลมีคุณค่า
วิทยาการคำนวณ ม.5 - บทที่ 1 ข้อมูลมีคุณค่า
 
การทำการตลาดบนมือถือสำหรับธุรกิจบริการ (Mobile Marketing for Service Business)
การทำการตลาดบนมือถือสำหรับธุรกิจบริการ (Mobile Marketing for Service Business)การทำการตลาดบนมือถือสำหรับธุรกิจบริการ (Mobile Marketing for Service Business)
การทำการตลาดบนมือถือสำหรับธุรกิจบริการ (Mobile Marketing for Service Business)
 
ข้อสอบปลายภาค50ข้อ โปรแกรมword
ข้อสอบปลายภาค50ข้อ โปรแกรมwordข้อสอบปลายภาค50ข้อ โปรแกรมword
ข้อสอบปลายภาค50ข้อ โปรแกรมword
 
พื้นฐานการออกแบบปฏิสัมพันธ์ (Interaction Design Basic)
พื้นฐานการออกแบบปฏิสัมพันธ์ (Interaction Design Basic)พื้นฐานการออกแบบปฏิสัมพันธ์ (Interaction Design Basic)
พื้นฐานการออกแบบปฏิสัมพันธ์ (Interaction Design Basic)
 
ปก
ปกปก
ปก
 

Similar to Week 3 องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์

โปรเจกเวอกร์
โปรเจกเวอกร์โปรเจกเวอกร์
โปรเจกเวอกร์jamiezaa123
 
ใบความรู้ที่ 2 เรื่อง องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 2 เรื่อง องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ใบความรู้ที่ 2 เรื่อง องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 2 เรื่อง องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์เทวัญ ภูพานทอง
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่ิอง ระบบปฏิบัติการ
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่ิอง ระบบปฏิบัติการ โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่ิอง ระบบปฏิบัติการ
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่ิอง ระบบปฏิบัติการ jamiezaa123
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ .
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ .โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ .
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ .jamiezaa123
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ jamiezaa123
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ Peem Jirayut
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์Peem Jirayut
 
Ch02 handout
Ch02 handoutCh02 handout
Ch02 handoutNaret Su
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์Peem Jirayut
 
การพัฒนาเว็บบล็อก
การพัฒนาเว็บบล็อกการพัฒนาเว็บบล็อก
การพัฒนาเว็บบล็อกwadsana123
 
ใบความรู้ที่ 2 ประเภทและองค์ประกอบของระบบสารสนเทศ.pdf
ใบความรู้ที่ 2 ประเภทและองค์ประกอบของระบบสารสนเทศ.pdfใบความรู้ที่ 2 ประเภทและองค์ประกอบของระบบสารสนเทศ.pdf
ใบความรู้ที่ 2 ประเภทและองค์ประกอบของระบบสารสนเทศ.pdfNattapon
 
01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำChi Cha Pui Fai
 
ใบความรู้ที่ 2 ส่วนประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 2 ส่วนประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ใบความรู้ที่ 2 ส่วนประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 2 ส่วนประกอบของระบบคอมพิวเตอร์Nattapon
 
กำเนิดเทคโนโลยีสารสนเทศ
กำเนิดเทคโนโลยีสารสนเทศกำเนิดเทคโนโลยีสารสนเทศ
กำเนิดเทคโนโลยีสารสนเทศnottodesu
 

Similar to Week 3 องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์ (20)

โปรเจกเวอกร์
โปรเจกเวอกร์โปรเจกเวอกร์
โปรเจกเวอกร์
 
ใบความรู้ที่ 2 เรื่อง องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 2 เรื่อง องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ใบความรู้ที่ 2 เรื่อง องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 2 เรื่อง องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่ิอง ระบบปฏิบัติการ
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่ิอง ระบบปฏิบัติการ โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่ิอง ระบบปฏิบัติการ
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่ิอง ระบบปฏิบัติการ
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ .
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ .โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ .
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ .
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
 
งานธิดารัตน์
งานธิดารัตน์งานธิดารัตน์
งานธิดารัตน์
 
P5202240039
P5202240039P5202240039
P5202240039
 
Presentation 3
Presentation 3Presentation 3
Presentation 3
 
Ch02 handout
Ch02 handoutCh02 handout
Ch02 handout
 
งานที่5
งานที่5งานที่5
งานที่5
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
 
การพัฒนาเว็บบล็อก
การพัฒนาเว็บบล็อกการพัฒนาเว็บบล็อก
การพัฒนาเว็บบล็อก
 
ใบความรู้ที่ 2 ประเภทและองค์ประกอบของระบบสารสนเทศ.pdf
ใบความรู้ที่ 2 ประเภทและองค์ประกอบของระบบสารสนเทศ.pdfใบความรู้ที่ 2 ประเภทและองค์ประกอบของระบบสารสนเทศ.pdf
ใบความรู้ที่ 2 ประเภทและองค์ประกอบของระบบสารสนเทศ.pdf
 
Chapter 1
Chapter 1Chapter 1
Chapter 1
 
ใบงานที่3
ใบงานที่3ใบงานที่3
ใบงานที่3
 
01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ
 
ใบความรู้ที่ 2 ส่วนประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 2 ส่วนประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ใบความรู้ที่ 2 ส่วนประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 2 ส่วนประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
 
กำเนิดเทคโนโลยีสารสนเทศ
กำเนิดเทคโนโลยีสารสนเทศกำเนิดเทคโนโลยีสารสนเทศ
กำเนิดเทคโนโลยีสารสนเทศ
 

More from Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai

ทักษะดิจิทัลสำหรับการปฏิบัติงานในยุคดิจิทัล (Digital Skills for Working in Th...
ทักษะดิจิทัลสำหรับการปฏิบัติงานในยุคดิจิทัล (Digital Skills for Working in Th...ทักษะดิจิทัลสำหรับการปฏิบัติงานในยุคดิจิทัล (Digital Skills for Working in Th...
ทักษะดิจิทัลสำหรับการปฏิบัติงานในยุคดิจิทัล (Digital Skills for Working in Th...Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
เทคโนโลยีเสมือนจริงและจักรวาลนฤมิตสำหรับการท่องเที่ยว โรงแรม และอีเวนต์
เทคโนโลยีเสมือนจริงและจักรวาลนฤมิตสำหรับการท่องเที่ยว โรงแรม และอีเวนต์เทคโนโลยีเสมือนจริงและจักรวาลนฤมิตสำหรับการท่องเที่ยว โรงแรม และอีเวนต์
เทคโนโลยีเสมือนจริงและจักรวาลนฤมิตสำหรับการท่องเที่ยว โรงแรม และอีเวนต์Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
การทำการตลาดบนมือถือสำหรับธุรกิจจัดจำหน่ายสินค้า (Mobile Marketing for Produc...
การทำการตลาดบนมือถือสำหรับธุรกิจจัดจำหน่ายสินค้า (Mobile Marketing for Produc...การทำการตลาดบนมือถือสำหรับธุรกิจจัดจำหน่ายสินค้า (Mobile Marketing for Produc...
การทำการตลาดบนมือถือสำหรับธุรกิจจัดจำหน่ายสินค้า (Mobile Marketing for Produc...Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
AR / VR / MR / XR มุ่งสู่อนาคตการท่องเที่ยวที่เหนือจริง
AR / VR / MR / XR มุ่งสู่อนาคตการท่องเที่ยวที่เหนือจริงAR / VR / MR / XR มุ่งสู่อนาคตการท่องเที่ยวที่เหนือจริง
AR / VR / MR / XR มุ่งสู่อนาคตการท่องเที่ยวที่เหนือจริงDr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
สีกับการออกแบบส่วนประสานงานกับผู้ใช้ (Color with User Interface Design)
สีกับการออกแบบส่วนประสานงานกับผู้ใช้ (Color with User Interface Design)สีกับการออกแบบส่วนประสานงานกับผู้ใช้ (Color with User Interface Design)
สีกับการออกแบบส่วนประสานงานกับผู้ใช้ (Color with User Interface Design)Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
การออกแบบกราฟิกส่วนประสานงานกับผู้ใช้ (Graphical User Interface)
การออกแบบกราฟิกส่วนประสานงานกับผู้ใช้ (Graphical User Interface)การออกแบบกราฟิกส่วนประสานงานกับผู้ใช้ (Graphical User Interface)
การออกแบบกราฟิกส่วนประสานงานกับผู้ใช้ (Graphical User Interface)Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
การจัดวางตัวอักษร (Typography)
การจัดวางตัวอักษร (Typography)การจัดวางตัวอักษร (Typography)
การจัดวางตัวอักษร (Typography)Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
เทคนิคการจัดการเรียนรู้ด้วยเกมมิฟิเคชั่น (Gamification)
เทคนิคการจัดการเรียนรู้ด้วยเกมมิฟิเคชั่น (Gamification)เทคนิคการจัดการเรียนรู้ด้วยเกมมิฟิเคชั่น (Gamification)
เทคนิคการจัดการเรียนรู้ด้วยเกมมิฟิเคชั่น (Gamification)Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
เทคนิคการสร้างสื่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล (Learning Media Technique in Digita...
เทคนิคการสร้างสื่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล (Learning Media Technique in Digita...เทคนิคการสร้างสื่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล (Learning Media Technique in Digita...
เทคนิคการสร้างสื่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล (Learning Media Technique in Digita...Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
เสียงสำหรับงานมัลติมีเดีย (Sound for Multimedia)
เสียงสำหรับงานมัลติมีเดีย (Sound for Multimedia)เสียงสำหรับงานมัลติมีเดีย (Sound for Multimedia)
เสียงสำหรับงานมัลติมีเดีย (Sound for Multimedia)Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
การตลาดไมซ์ที่รู้ใจและเข้าถึงการตลาดดิจิทัล (MICE Digital Marketing)
การตลาดไมซ์ที่รู้ใจและเข้าถึงการตลาดดิจิทัล (MICE Digital Marketing)การตลาดไมซ์ที่รู้ใจและเข้าถึงการตลาดดิจิทัล (MICE Digital Marketing)
การตลาดไมซ์ที่รู้ใจและเข้าถึงการตลาดดิจิทัล (MICE Digital Marketing)Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
อัตลักษณ์องค์กร (Corporate Identity: C.I.)
อัตลักษณ์องค์กร (Corporate Identity: C.I.)อัตลักษณ์องค์กร (Corporate Identity: C.I.)
อัตลักษณ์องค์กร (Corporate Identity: C.I.)Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
สร้างสื่อ Augmented Reality ง่ายๆ ด้วย Vidinoti
สร้างสื่อ Augmented Reality ง่ายๆ ด้วย Vidinotiสร้างสื่อ Augmented Reality ง่ายๆ ด้วย Vidinoti
สร้างสื่อ Augmented Reality ง่ายๆ ด้วย VidinotiDr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
การเล่าเรื่องสินค้าผ่านภาพถ่าย (Digital Storytelling in Photography)
การเล่าเรื่องสินค้าผ่านภาพถ่าย (Digital Storytelling in Photography)การเล่าเรื่องสินค้าผ่านภาพถ่าย (Digital Storytelling in Photography)
การเล่าเรื่องสินค้าผ่านภาพถ่าย (Digital Storytelling in Photography)Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
การเพิ่มโอกาสทางธุรกิจโดยการสร้างเครือข่ายและช่องทางการขาย
การเพิ่มโอกาสทางธุรกิจโดยการสร้างเครือข่ายและช่องทางการขายการเพิ่มโอกาสทางธุรกิจโดยการสร้างเครือข่ายและช่องทางการขาย
การเพิ่มโอกาสทางธุรกิจโดยการสร้างเครือข่ายและช่องทางการขายDr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
การเก็บข้อมูลด้วย Google Forms และการวิเคราะห์ข้อมูลด้วย Google Sheets
การเก็บข้อมูลด้วย Google Forms และการวิเคราะห์ข้อมูลด้วย Google Sheetsการเก็บข้อมูลด้วย Google Forms และการวิเคราะห์ข้อมูลด้วย Google Sheets
การเก็บข้อมูลด้วย Google Forms และการวิเคราะห์ข้อมูลด้วย Google SheetsDr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
หนังสือดิจิทัล 13 เล่ม น่าอ่าน อัพสกิลการสร้างนวัตกรรมสื่อดิจิทัล สื่อมัลติมี...
หนังสือดิจิทัล 13 เล่ม น่าอ่าน อัพสกิลการสร้างนวัตกรรมสื่อดิจิทัล สื่อมัลติมี...หนังสือดิจิทัล 13 เล่ม น่าอ่าน อัพสกิลการสร้างนวัตกรรมสื่อดิจิทัล สื่อมัลติมี...
หนังสือดิจิทัล 13 เล่ม น่าอ่าน อัพสกิลการสร้างนวัตกรรมสื่อดิจิทัล สื่อมัลติมี...Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
การสร้างจักรวาลนฤมิต Spatial Metaverse
การสร้างจักรวาลนฤมิต Spatial Metaverseการสร้างจักรวาลนฤมิต Spatial Metaverse
การสร้างจักรวาลนฤมิต Spatial MetaverseDr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
การเขียนบทความวิจัยนวัตกรรมเทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการศึกษา (Research Article Wr...
การเขียนบทความวิจัยนวัตกรรมเทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการศึกษา (Research Article Wr...การเขียนบทความวิจัยนวัตกรรมเทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการศึกษา (Research Article Wr...
การเขียนบทความวิจัยนวัตกรรมเทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการศึกษา (Research Article Wr...Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
การเขียนสตอรี่บอร์ด (Storyboard)
การเขียนสตอรี่บอร์ด (Storyboard)การเขียนสตอรี่บอร์ด (Storyboard)
การเขียนสตอรี่บอร์ด (Storyboard)Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 

More from Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai (20)

ทักษะดิจิทัลสำหรับการปฏิบัติงานในยุคดิจิทัล (Digital Skills for Working in Th...
ทักษะดิจิทัลสำหรับการปฏิบัติงานในยุคดิจิทัล (Digital Skills for Working in Th...ทักษะดิจิทัลสำหรับการปฏิบัติงานในยุคดิจิทัล (Digital Skills for Working in Th...
ทักษะดิจิทัลสำหรับการปฏิบัติงานในยุคดิจิทัล (Digital Skills for Working in Th...
 
เทคโนโลยีเสมือนจริงและจักรวาลนฤมิตสำหรับการท่องเที่ยว โรงแรม และอีเวนต์
เทคโนโลยีเสมือนจริงและจักรวาลนฤมิตสำหรับการท่องเที่ยว โรงแรม และอีเวนต์เทคโนโลยีเสมือนจริงและจักรวาลนฤมิตสำหรับการท่องเที่ยว โรงแรม และอีเวนต์
เทคโนโลยีเสมือนจริงและจักรวาลนฤมิตสำหรับการท่องเที่ยว โรงแรม และอีเวนต์
 
การทำการตลาดบนมือถือสำหรับธุรกิจจัดจำหน่ายสินค้า (Mobile Marketing for Produc...
การทำการตลาดบนมือถือสำหรับธุรกิจจัดจำหน่ายสินค้า (Mobile Marketing for Produc...การทำการตลาดบนมือถือสำหรับธุรกิจจัดจำหน่ายสินค้า (Mobile Marketing for Produc...
การทำการตลาดบนมือถือสำหรับธุรกิจจัดจำหน่ายสินค้า (Mobile Marketing for Produc...
 
AR / VR / MR / XR มุ่งสู่อนาคตการท่องเที่ยวที่เหนือจริง
AR / VR / MR / XR มุ่งสู่อนาคตการท่องเที่ยวที่เหนือจริงAR / VR / MR / XR มุ่งสู่อนาคตการท่องเที่ยวที่เหนือจริง
AR / VR / MR / XR มุ่งสู่อนาคตการท่องเที่ยวที่เหนือจริง
 
สีกับการออกแบบส่วนประสานงานกับผู้ใช้ (Color with User Interface Design)
สีกับการออกแบบส่วนประสานงานกับผู้ใช้ (Color with User Interface Design)สีกับการออกแบบส่วนประสานงานกับผู้ใช้ (Color with User Interface Design)
สีกับการออกแบบส่วนประสานงานกับผู้ใช้ (Color with User Interface Design)
 
การออกแบบกราฟิกส่วนประสานงานกับผู้ใช้ (Graphical User Interface)
การออกแบบกราฟิกส่วนประสานงานกับผู้ใช้ (Graphical User Interface)การออกแบบกราฟิกส่วนประสานงานกับผู้ใช้ (Graphical User Interface)
การออกแบบกราฟิกส่วนประสานงานกับผู้ใช้ (Graphical User Interface)
 
การจัดวางตัวอักษร (Typography)
การจัดวางตัวอักษร (Typography)การจัดวางตัวอักษร (Typography)
การจัดวางตัวอักษร (Typography)
 
เทคนิคการจัดการเรียนรู้ด้วยเกมมิฟิเคชั่น (Gamification)
เทคนิคการจัดการเรียนรู้ด้วยเกมมิฟิเคชั่น (Gamification)เทคนิคการจัดการเรียนรู้ด้วยเกมมิฟิเคชั่น (Gamification)
เทคนิคการจัดการเรียนรู้ด้วยเกมมิฟิเคชั่น (Gamification)
 
เทคนิคการสร้างสื่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล (Learning Media Technique in Digita...
เทคนิคการสร้างสื่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล (Learning Media Technique in Digita...เทคนิคการสร้างสื่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล (Learning Media Technique in Digita...
เทคนิคการสร้างสื่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล (Learning Media Technique in Digita...
 
เสียงสำหรับงานมัลติมีเดีย (Sound for Multimedia)
เสียงสำหรับงานมัลติมีเดีย (Sound for Multimedia)เสียงสำหรับงานมัลติมีเดีย (Sound for Multimedia)
เสียงสำหรับงานมัลติมีเดีย (Sound for Multimedia)
 
การตลาดไมซ์ที่รู้ใจและเข้าถึงการตลาดดิจิทัล (MICE Digital Marketing)
การตลาดไมซ์ที่รู้ใจและเข้าถึงการตลาดดิจิทัล (MICE Digital Marketing)การตลาดไมซ์ที่รู้ใจและเข้าถึงการตลาดดิจิทัล (MICE Digital Marketing)
การตลาดไมซ์ที่รู้ใจและเข้าถึงการตลาดดิจิทัล (MICE Digital Marketing)
 
อัตลักษณ์องค์กร (Corporate Identity: C.I.)
อัตลักษณ์องค์กร (Corporate Identity: C.I.)อัตลักษณ์องค์กร (Corporate Identity: C.I.)
อัตลักษณ์องค์กร (Corporate Identity: C.I.)
 
สร้างสื่อ Augmented Reality ง่ายๆ ด้วย Vidinoti
สร้างสื่อ Augmented Reality ง่ายๆ ด้วย Vidinotiสร้างสื่อ Augmented Reality ง่ายๆ ด้วย Vidinoti
สร้างสื่อ Augmented Reality ง่ายๆ ด้วย Vidinoti
 
การเล่าเรื่องสินค้าผ่านภาพถ่าย (Digital Storytelling in Photography)
การเล่าเรื่องสินค้าผ่านภาพถ่าย (Digital Storytelling in Photography)การเล่าเรื่องสินค้าผ่านภาพถ่าย (Digital Storytelling in Photography)
การเล่าเรื่องสินค้าผ่านภาพถ่าย (Digital Storytelling in Photography)
 
การเพิ่มโอกาสทางธุรกิจโดยการสร้างเครือข่ายและช่องทางการขาย
การเพิ่มโอกาสทางธุรกิจโดยการสร้างเครือข่ายและช่องทางการขายการเพิ่มโอกาสทางธุรกิจโดยการสร้างเครือข่ายและช่องทางการขาย
การเพิ่มโอกาสทางธุรกิจโดยการสร้างเครือข่ายและช่องทางการขาย
 
การเก็บข้อมูลด้วย Google Forms และการวิเคราะห์ข้อมูลด้วย Google Sheets
การเก็บข้อมูลด้วย Google Forms และการวิเคราะห์ข้อมูลด้วย Google Sheetsการเก็บข้อมูลด้วย Google Forms และการวิเคราะห์ข้อมูลด้วย Google Sheets
การเก็บข้อมูลด้วย Google Forms และการวิเคราะห์ข้อมูลด้วย Google Sheets
 
หนังสือดิจิทัล 13 เล่ม น่าอ่าน อัพสกิลการสร้างนวัตกรรมสื่อดิจิทัล สื่อมัลติมี...
หนังสือดิจิทัล 13 เล่ม น่าอ่าน อัพสกิลการสร้างนวัตกรรมสื่อดิจิทัล สื่อมัลติมี...หนังสือดิจิทัล 13 เล่ม น่าอ่าน อัพสกิลการสร้างนวัตกรรมสื่อดิจิทัล สื่อมัลติมี...
หนังสือดิจิทัล 13 เล่ม น่าอ่าน อัพสกิลการสร้างนวัตกรรมสื่อดิจิทัล สื่อมัลติมี...
 
การสร้างจักรวาลนฤมิต Spatial Metaverse
การสร้างจักรวาลนฤมิต Spatial Metaverseการสร้างจักรวาลนฤมิต Spatial Metaverse
การสร้างจักรวาลนฤมิต Spatial Metaverse
 
การเขียนบทความวิจัยนวัตกรรมเทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการศึกษา (Research Article Wr...
การเขียนบทความวิจัยนวัตกรรมเทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการศึกษา (Research Article Wr...การเขียนบทความวิจัยนวัตกรรมเทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการศึกษา (Research Article Wr...
การเขียนบทความวิจัยนวัตกรรมเทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการศึกษา (Research Article Wr...
 
การเขียนสตอรี่บอร์ด (Storyboard)
การเขียนสตอรี่บอร์ด (Storyboard)การเขียนสตอรี่บอร์ด (Storyboard)
การเขียนสตอรี่บอร์ด (Storyboard)
 

Week 3 องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์