SlideShare a Scribd company logo
1 of 33
Download to read offline
การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
หัวข้อบรรยาย : Outline
    การสื่อสารข้อมูล                            เครือข่ายคอมพิวเตอร์
    ทิศทางการสื่อสาร                            ประเภทของเครือข่าย
    ชนิดของสัญญาณ                               สถาปัตยกรรมเครือข่าย
    อุปกรณ์สื่อสารข้อมูล                        เครือข่ายเฉพาะที่
    ตัวกลางสื่อสารข้อมูล                        ชนิดของเครือข่ายเฉพาะที่
    โปรโตคอล                                    อุปกรณ์พื้นฐานที่ใช้งานบนเครือข่าย
    ชนิดของการเชื่อมต่อ                         การประยุกต์ใช้เครือข่าย
    การพิจารณาเลือกอุปกรณ์
     และบริการในการสื่อสารข้อมูล


ภาควิชาคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์ ม.ศิลปากร                                            2
การสื่อสารข้อมูล : Data Communication
  ทาไมต้องสื่อสาร ?
  การแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างสองอุปกรณ์ผ่านตัวกลางส่งข้อมูล
   ที่ใช้ในการสื่อสาร
  ส่วนประกอบของระบบสื่อสารข้อมูล
                        Step 1:                        Step 1:
                        Step 2:                        Step 2:
                        Step 3:                        Step 3:
                         ……                             ……
                       Protocol                       Protocol



                                              Media

                       Sender                         Receiver

ภาควิชาคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์ ม.ศิลปากร                      3
ทิศทางการสื่อสารข้อมูล : Direction of data flow
   ทิศทางของสัญญาณที่เดินทางระหว่างสองอุปกรณ์ เพื่อติดต่อสื่อสาร
    รับส่งข้อมูล

       แบบทางเดียว
        (Simplex)

       แบบสองทางครึ่งอัตรา
        (Half-duplex)

       แบบสองทางเต็มอัตรา
        (Full-duplex)

                                                                    4
ชนิดของสัญญาณ : Type of signal
    สัญญาณอนาล็อก (Analog signal)
       เป็นสัญญาณแบบต่อเนื่อง เช่น สัญญาณเสียงในสายโทรศัพท์
       ข้อดี คือ ส่งในระยะไกลได้
       ข้อเสีย คือ สัญญาณถูกรบกวนได้ง่าย
        ข้อมูลผิดพลาดได้
    สัญญาณดิจิตอล (Digital signal)
       สัญญาณอยู่ในรูปของตัวเลขฐานสอง คือ 0 และ 1
       ใช้ในระบบคอมพิวเตอร์
       ข้อดี คือ แม่นยา มีความน่าเชื่อถือสูง
       ข้อเสีย คือ ผิดเพี้ยนได้ง่าย ถ้าเป็นการส่งในระยะไกล
ภาควิชาคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์ ม.ศิลปากร                    5
อุปกรณ์สื่อสาร : Communication devices




ภาควิชาคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์ ม.ศิลปากร   6
ตัวกลางในการสื่อสารข้อมูล : Media
  ช่องทางที่ใช้เป็นทางเดินข้อมูล (Media/Channel)
  ตัวกลางที่ใช้เพื่อส่งผ่านข้อมูล มี 2 ชนิด
       มีสาย
       ไร้สาย

  แต่ละชนิดมีความถี่ต่างกัน เรียกว่า แบนด์วิธ (Bandwidth)
  ความถี่ของช่องสัญญาณจะเป็นตัวกาหนดความจุของข้อมูลที่ส่งไปใน
   ช่วงเวลาหนึ่ง มีหน่วยเป็น บิตต่อวินาที (Bits per second : bps)
  ถ้ามีแบนด์วิธสูงก็จะรับส่งข้อมูลได้มาก



ภาควิชาคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์ ม.ศิลปากร                         7
ตัวกลางแบบมีสาย : Wire
    สายคู่ตีเกลียว (Twisted-pair)
       คล้ายสายโทรศัพท์ เหมาะกับระยะสั้น
       แบบมีฉนวนหุ้มและไม่มีฉนวนหุ้ม

    สายโคแอกเชียล (Coaxial cable)
       คล้ายสายทีวี ราคาแพง
       ป้องกันคลื่นรบกวนได้ดี ความเร็วต่า

    สายไฟเบอร์ออปติก (Fiber-optic)
       ใช้แสงในการนาข้อมูลผ่านท่อนาแสง
       ส่งข้อมูลได้ไว ราคาแพง สัญญาณรบกวนต่า


ภาควิชาคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์ ม.ศิลปากร     8
ตัวกลางแบบไร้สาย : Wireless
    อินฟราเรด
       ใช้ในการส่งข้อมูลระยะใกล้ๆ เช่น remote control วิทยุ/ทีวี
       ความถี่สั้น ช่องทางสื่อสารน้อย
       ความเร็วประมาณ 4-16 Mbps
       ทะลุผ่านวัตถุไม่ได้ ต้องวางแนวเส้นตรงไม่เกิน 1-2 เมตร

    คลื่นวิทยุ
       มีหลายชนิด เช่น Bluetooth, VHF, UHF
       ความถี่แตกต่างกันไป ใช้ในการสื่อสารระยะใกล้
       ความเร็วต่าประมาณ 2 Mbps
       ไม่จาเป็นต้องอยู่แนวเดียวกับจุดส่ง ผ่านวัตถุขวางกั้นได้
ภาควิชาคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์ ม.ศิลปากร                         9
ตัวกลางแบบไร้สาย : Wireless
    คลื่นไมโครเวฟ
         เป็นคลื่นวิทยุชนิดหนึ่งที่มีความถี่สูงระดับ GHz
         เป็นคลื่นเส้นตรงในระดับสายตา
         ต้องมีจานรับส่งตามยอดตึก/เขาเพื่อส่งต่อสัญญาณ
         ความเร็วสูง ติดตั้งง่าย ประหยัด
         สภาวะอากาศมีผลต่อสัญญาณ
    ดาวเทียม
         คือสถานีไมโครเวฟลอยฟ้า รับสัญญาณจากโลก
         ดาวเทียม 3 ดวงก็ครอบคลุมโลกได้หมด
         ค่าอุปกรณ์ ติดตั้ง บริการแพง
         ความเร็วในส่งข้อมูลค่อนข้างช้า (166-400 Kbps)

ภาควิชาคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์ ม.ศิลปากร                 10
อุปกรณ์เชื่อมต่อ : Devices
  โมเด็ม : Modem (Modulator/Demodulator)
  Modulator ตัวแปลงสัญญาณดิจิตอลเป็นอนาล็อก
  Demodulator ตัวแปลงสัญญาณอนาล็อกเป็นดิจิตอล
  อุปกรณ์ที่ใช้เพื่อติดต่อสื่อสารระหว่าคอมพิวเตอร์ผ่านสายโทรศัพท์
  มีสองแบบ คือ แบบภายนอก และภายใน




ภาควิชาคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์ ม.ศิลปากร                          11
ชนิดของการเชื่อมต่อ : Type of connection
    Dial up
         ส่งสัญญาณผ่านระบบโทรศัพท์พื้นฐาน โดยใช้ Modem เป็นตัวแปลงสัญญาณ
         ความเร็วต่าระดับ 56 Kbps
    DSL, xDSL
         ผ่านสายโทรศัพท์พื้นฐานและใช้ DSL modem
         สัญญาณดิจิตอลความเร็วสูง เข้ารหัสในย่านความถี่สูงกว่าโทรศัพท์ทั่วไป
         ใช้กับอินเทอร์เน็ตและเครือข่ายระยะไกล
         ความเร็วตั้งแต่ 256 Kbps – 2 Mbps
    ISDN
         เทคโนโลยีแบบดิจิตอลใช้กับอินเทอร์เน็ตความเร็วสูง
         ความเร็วสูงกว่าระบบโทรศัพท์พื้นฐาน ประมาณ 1 Mbps
         รับส่งข้อมูลได้หลายรูปแบบ โดยไม่รบกวนกัน
         สามารถใช้โทรศัพท์ได้ขณะใช้งานอินเทอร์เน็ต

ภาควิชาคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์ ม.ศิลปากร                                     12
ชนิดของการเชื่อมต่อ : Type of connection
    Cable
       นิยมใช้ร่วมกับระบบเคเบิลทีวี โดยใช้โมเด็มต่อกับสายเคเบิลทีวี
       ความเร็วประมาณ 10 Mbps
       ค่าใช้จ่ายไม่แพง ติดตั้งง่าย ใช้โทรศัพท์ได้พร้อมกับอินเทอร์เน็ต

    Cellular
       ติดต่อผ่านเครือข่ายโทรศัพท์มือถือ
       ใช้ cellular modem ที่มีในเครื่องติดต่อ
       ความเร็วต่ากว่าโทรศัพท์พื้นฐานครึ่งหนึ่ง
       ระบบ 3G พัฒนาขึ้นใหม่ ความเร็วสูงขึ้น


ภาควิชาคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์ ม.ศิลปากร                               13
โปรโตคอล : Protocol
  มาตรฐาน/ข้อตกลงในการสื่อสารข้อมูล
  ครอบคลุมถึง
       วิธีการและรูปแบบการส่งข้อมูล
       จังหวะเวลาในการส่งข้อมูล
       ลาดับการรับส่งข้อมูล
       วิธีจัดการป้องกันความผิดพลาด

  เปรียบเสมือนภาษาที่ใช้สื่อสารในระบบเครือข่าย
  โปรโตคอลต่างกันก็คุยกันไม่รู้เรื่อง



ภาควิชาคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์ ม.ศิลปากร       14
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ : Computer Networks
  กลุ่มของคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ตางๆ ที่เชื่อมต่อเข้าด้วยกัน
                                 ่
  สามารถใช้ทรัพยากรร่วมกันภายในเครือข่ายได้
  ข้อดีของเครือข่ายคอมพิวเตอร์
       สะดวกในการสื่อสาร
       ใช้ฮาร์ดแวร์ร่วมกัน
       ใช้ซอฟต์แวร์ร่วมกัน
       ใช้ข้อมูลและสารสนเทศร่วมกัน




ภาควิชาคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์ ม.ศิลปากร                    15
ประเภทของเครือข่าย : Type of network
  แบ่งเป็น 3 ประเภท คือ เครือข่ายเฉพาะที่ เครือข่ายระดับเมือง และ
   เครือข่ายระดับประเทศ
  เครือข่ายเฉพาะที่
       Local Area Network : LAN
       เครือข่ายที่มีการเชื่อมต่อกันในระยะใกล้ ครอบคลุมภายใต้พื้นที่จากัด
       เชื่อมต่อภายในอาคารเดียวกัน หรืออาคารในบริเวณเดียวกัน
       เชื่อมต่อเครื่องพีซีตั้งแต่สองเครื่องเข้าด้วย อาจรวมถึง
        เครื่องพิมพ์และอุปกรณ์อื่นๆ เพื่อใช้ทรัพยากรร่วมกัน
       หากต้องการเชื่อมต่อระยะไกลขึ้น จะใช้อุปกรณ์ทวน
        สัญญาณ (Repeater) ร่วมด้วย
ภาควิชาคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์ ม.ศิลปากร                                  16
ประเภทของเครือข่าย : Type of network
    เครือข่ายระดับเมือง
       Metropolitan Area Network : MAN
       เชื่อมต่อเครือข่าย LAN เข้าไว้ดวยกัน
                                       ้
       ครอบคลุมพื้นที่กว้าง ระดับเมืองหรือจังหวัด
       มีแบคโบน (Backbone) ทาหน้าที่เป็นสายหลักในการเชื่อมเครือข่าย
    เครือข่ายระดับประเทศ
       Wide Area Network : WAN
       เชื่อมต่อเครือข่ายต่างๆ เข้าด้วยกัน
       ครอบคลุมระดับประเทศหรือข้ามทวีป
       ติดต่อผ่านช่องทางสื่อสารระยะไกล เช่นสายโทรศัพท์ เคเบิล ดาวเทียม


ภาควิชาคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์ ม.ศิลปากร                               17
ประเภทของเครือข่าย




ภาควิชาคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์ ม.ศิลปากร   18
สถาปัตยกรรมเครือข่าย : Network architecture
    อธิบายถึงการจัดการเครือข่ายที่เกี่ยวข้องกับ
       การจัดรูปแบบการเชื่อมต่อทางกายภาพ
       วิธีการเชื่อมต่อ และการรับส่งข้อมูล
       ลักษณะการใช้งานเครือข่าย

    รูปแบบการเชื่อมต่อเครือข่าย (Topology) มี 3 แบบ
       แบบดาว (Star)
       แบบวงแหวน (Ring)
       แบบบัส (Bus)




ภาควิชาคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์ ม.ศิลปากร            19
การเชื่อมต่อแบบดาว : Star topology
    เริ่มต้นจากการเชื่อมต่อในระบบเมนเฟรม
    เทอร์มินัลเชื่อมต่อกับเมนเฟรมเพื่อขอใช้ทรัพยากร
    มีคอมพิวเตอร์ตรงกลางเป็นตัวควบคุมการรับส่งข้อมูล เรียกว่า ฮับ (Hub)
    เครื่องอื่นๆ เชื่อมต่อไปยังฮับ ลักษณะคล้ายรูปดาว
    เป็นการสื่อสารแบบ 2 ทิศทาง
    ไม่มีการชนกันของข้อมูล เพราะส่งได้ทีละเครื่อง
    ข้อดี ติดตั้งและดูแลง่าย ถ้าเครื่องลูกข่ายเสีย
     ก็ตรวจสอบได้ง่าย เครื่องอื่นยังติดต่อกันได้
    ข้อเสีย ถ้าฮับเสีย เครือข่ายล่ม
     ใช้สัญญาณมากกว่าแบบอื่น


ภาควิชาคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์ ม.ศิลปากร                                20
การเชื่อมต่อแบบวงแหวน : Ring topology
  เชื่อมต่อกันแบบวงกลม
  รับส่งแบบทิศทางเดียว
  ตรวจสอบข้อมูลที่ส่งมาว่าใช่ของตนหรือไม่
   ถ้าใช่ก็รับไว้ ถ้าไม่ใช่ก็ส่งต่อ
  ข้อดี ส่งข้อมูลไปยังผู้รับหลายเครื่องๆ
   พร้อมกันได้ ไม่เกิดการชนกันของข้อมูล
  ข้อเสีย ถ้าเครื่องใดมีปัญหา เครือข่ายล่ม
   การติดตั้งทาได้ยาก และใช้สายสัญญาณมากกว่าแบบบัส


ภาควิชาคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์ ม.ศิลปากร          21
การเชื่อมต่อแบบบัส : Bus topology
  เชื่อมต่อเป็นเส้นตรง
  มีสายหนึ่งทาหน้าที่เป็นแกนหลัก (backbone)
  ทุกเครื่องจะเชื่อมต่อเข้าสู่แกนนี้
  ข้อดี ประหยัดสายสัญญาณ เครื่องหนึ่งเสียก็ไม่กระทบกับเครือข่าย
  ข้อเสีย อาจเกิดการชนกันของ
   ข้อมูลได้ ต้องมีการส่งใหม่
   ถ้าสายหลักเสีย เครือข่ายล่ม



ภาควิชาคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์ ม.ศิลปากร                        22
ลักษณะการใช้งานเครือข่าย : Type of LAN
    Client/Server
       ประกอบด้วยเครื่องที่ทาหน้าที่ให้บริการ (Server) และเครื่องที่ทาหน้าที่ขอใช้
        บริการ (Client)
       Server จะทาหน้าที่ควบคุมการทางานของเครือข่าย การเข้าถึงอุปกรณ์ฮาร์ดแวร์
        และซอฟต์แวร์ รวมถึงข้อมูลบนเครือข่าย
       Client เป็นเครื่องลูกข่าย จะร้องขอความต้องการไปยัง server

    Peer-to-peer
       ให้ความสาคัญกับเครื่องในเครือข่ายเท่ากัน
       ไม่ต้องมีตัวควบคุม แต่ละตัวเป็นได้ทั้งเครื่องลูกข่ายและเครื่องบริการ
       สามารถใช้ทรัพยากรร่วมกันได้ ต้นทุนต่า ไม่คานึงถึงความปลอดภัยมากนัก

ภาควิชาคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์ ม.ศิลปากร                                      23
ลักษณะการใช้งานเครือข่าย : Type of LAN
    Client/Server




    Peer-to-peer




ภาควิชาคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์ ม.ศิลปากร   24
ส่วนประกอบของเครือข่าย : LAN component
  สายสัญญาณ
  ซอฟต์แวร์
  การ์ดแลน
  อุปกรณ์ในการเชื่อมเครือข่าย




ภาควิชาคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์ ม.ศิลปากร   25
ซอฟต์แวร์ในระบบเครือข่าย : Software
  เป็นโปรแกรมที่ใช้ในการสื่อสาร
  โปรแกรมระบบปฏิบัติการเครือข่าย (Network operating system)
       จัดการไฟล์ข้อมูล
       ติดต่อกับผู้ใช้งานในเครือข่าย
       บริการในการใช้งานทรัพยากรร่วมกัน
       เลือกใช้ให้ตรงกับลักษณะการใช้งานของเครือข่าย
       Window NT, Novell Netware, Appleshare, Unix, Linux

    โปรแกรมประยุกต์ที่ใช้งานบนเครือข่าย
         สามารถรันข้ามเครื่องได้

ภาควิชาคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์ ม.ศิลปากร                    26
อุปกรณ์ที่ใช้งานบนเครือข่าย : Devices
  โมเด็ม (Modem) อุปกรณ์ที่เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์ที่อยู่ระยะไกล โดยผ่าน
   สายโทรศัพท์
  การ์ดเน็ตเวิร์ก (Network interface card) หรือการ์ดแลน เชื่อมต่อ
   คอมพิวเตอร์ที่ใช้งานเข้ากับระบบเครือข่าย อาจเป็นแบบมีสาย/ไร้สาย
  แอคเซสพอยต์ (Wireless access point) เป็นตัวเชื่อมระหว่างระบบ
   เครือข่ายแบบใช้สาย กับเครื่องลูกข่ายแบบไร้สาย
  ตัวทวนสัญญาณ (Repeater) ใช้ปรับปรุงสัญญาณที่ออนลงให้กลับมา
                                                      ่
   เป็นรูปแบบเดิม และส่งต่อไปยังเครื่องในเครือข่ายที่อยู่ไกลได้
  ฮับ (Hub) ใช้กระจายสัญญาณในเครือข่ายแลน จะเฉลี่ยความเร็วให้กับ
   เครื่องทุกเครื่องเท่าๆ กัน
ภาควิชาคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์ ม.ศิลปากร                          27
อุปกรณ์ที่ใช้งานบนเครือข่าย : Devices
  บริดจ์ (Bridge) ใช้ในการเชื่อมต่อหลายเครือข่ายเข้าด้วยกัน สามารถ
   แยกได้ว่าข้อมูลที่ส่งอยู่ในเครือข่ายใด ลดความคับคั่งของข้อมูลในระบบ
  สวิตช์ (Switches) นาความสามารถของฮับกับบริดจ์มารวมกัน การส่ง
   ข้อมูลจะไม่ไปรบกวนพอร์ตอื่น ไม่เกิดการชนกันหรือความคับคั่งของ
   ข้อมูลในระบบ
  เราเตอร์ (Router) คล้ายบริดจ์แต่สามารถจัดหาเส้นทางส่งข้อมูลได้
   ฉลาดกว่า ใช้เชื่อมต่อเครือข่ายย่อยๆ ที่ซับซ้อนเข้าไว้ด้วยกัน
  เกตเวย์ (Gateway) ทาให้เชื่อมโยงเครือข่ายที่มีมาตรฐานหรือ
   สถาปัตยกรรมต่างกันเข้าไว้ด้วยกันได้

ภาควิชาคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์ ม.ศิลปากร                              28
อุปกรณ์ที่ใช้งานบนเครือข่าย : Devices




ภาควิชาคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์ ม.ศิลปากร   29
การพิจารณาเลือกใช้อุปกรณ์/บริการในการสื่อสาร
    การเลือกโมเด็ม
       ความเร็วในการรับส่งข้อมูล
       การบีบอัดข้อมูล
       การแก้ไขข้อผิดพลาด
       ติดตั้งภายในหรือภายนอก
    การเชื่อมต่อระบบแลน/อินเตอร์เน็ต
       งบประมาณ
       ความเร็วในการรับส่งข้อมูล
       แบบมีสาย/ไร้สาย
       พื้นที่ให้บริการ


ภาควิชาคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์ ม.ศิลปากร     30
ตัวอย่างการตั้งค่าเครื่องในเครือข่าย
    ติดตั้งอุปกรณ์
       LAN card
       wireless card
       สาย LAN
    การตั้งค่าต่างๆ ของเครื่อง
       ชื่อเครื่อง/IP
       TCP/IP
       แชร์ไฟล์และอุปกรณ์เชื่อมต่อ
       ตั้งค่า VPN
       Remote desktop


ภาควิชาคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์ ม.ศิลปากร   31
การประยุกต์ใช้เครือข่าย
  แฟกซ์ (Fax)
  จดหมายอิเล็กทรอนิกส์ (E-mail)
  การรวมกลุ่มของการทางาน (Groupware)
  การประชุมระยะไกล (Teleconference)
  การทางานระยะไกล (computer community)
  Electronic Data Interchange (EDI)
  Electronic Fund Transfer (EFT)
  อินเทอร์เน็ต (Internet)


ภาควิชาคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์ ม.ศิลปากร   32
สรุปบทเรียน

     แบบมีสาย
                                                               ทิศทางการสื่อสาร
     - Twisted           อุปกรณ์สื่อสาร
                                                                Simplex
     pair                 เครื่องรับ/ส่ง
                                                                Half duplex
     - Coax
                          ตัวกลางเชื่อมต่อ
     - Fiber optic                                              Full duplex
                          โปรโตคอล         การสื่อสารข้อมูล
     แบบไร้สาย            อุปกรณ์เชื่อมต่อ
     - อินฟาเรด                                                ชนิดของการเชื่อมต่อ
     - คลื่นวิทยุ
                                                                Dial up
     - ไมโครเวฟ
     - ดาวเทียม             Modem
                                                 ชนิดของ        DSL
                            - Internal           สัญญาณ         ISDN
                            - External            Digital      Cable
                            - PCMCIA              Analog       Cellular

ภาควิชาคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์ ม.ศิลปากร                                          33

More Related Content

What's hot

ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์GRimoho Siri
 
การสื่อสารและระบบเครือข่าย(Data communication and networking system)
การสื่อสารและระบบเครือข่าย(Data communication and networking system)การสื่อสารและระบบเครือข่าย(Data communication and networking system)
การสื่อสารและระบบเครือข่าย(Data communication and networking system)วิทยาลัยเทคนิคสุโขทัย
 
หน่วยที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 2
หน่วยที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 2หน่วยที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 2
หน่วยที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 2อรยา ม่วงมนตรี
 
บทที่2เรื่องการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
บทที่2เรื่องการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์บทที่2เรื่องการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
บทที่2เรื่องการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์Piyanoot Ch
 
หน่วยที่ 8
หน่วยที่ 8หน่วยที่ 8
หน่วยที่ 8niramon_gam
 
การสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูลการสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูลsawalee kongyuen
 
ใบความรู้เรื่อง การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ (1)
ใบความรู้เรื่อง การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ (1)ใบความรู้เรื่อง การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ (1)
ใบความรู้เรื่อง การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ (1)Puangkaew Kingkaew
 
หน่วยที่ 3 อินเทอร์เน็ตและการใช้งาน
หน่วยที่  3 อินเทอร์เน็ตและการใช้งานหน่วยที่  3 อินเทอร์เน็ตและการใช้งาน
หน่วยที่ 3 อินเทอร์เน็ตและการใช้งานอรยา ม่วงมนตรี
 
การสื่อสารแลกเปลี่ยนข้อมูล
การสื่อสารแลกเปลี่ยนข้อมูลการสื่อสารแลกเปลี่ยนข้อมูล
การสื่อสารแลกเปลี่ยนข้อมูลMareeyalosocity
 
หน่วยที่ 8 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 8 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์หน่วยที่ 8 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 8 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์jzturbo
 
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ Sirinat Sansom
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ครู อินดี้
 
บทที่ 6. การสื่อสารโทรคมนาคมและเครือข่าย
บทที่ 6. การสื่อสารโทรคมนาคมและเครือข่ายบทที่ 6. การสื่อสารโทรคมนาคมและเครือข่าย
บทที่ 6. การสื่อสารโทรคมนาคมและเครือข่ายPokypoky Leonardo
 
ใบความรู้ เรื่อง การสื่อสารข้อมูล
ใบความรู้ เรื่อง การสื่อสารข้อมูลใบความรู้ เรื่อง การสื่อสารข้อมูล
ใบความรู้ เรื่อง การสื่อสารข้อมูลkruumawan
 

What's hot (19)

ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
รายงาน1233
รายงาน1233รายงาน1233
รายงาน1233
 
การสื่อสารและระบบเครือข่าย(Data communication and networking system)
การสื่อสารและระบบเครือข่าย(Data communication and networking system)การสื่อสารและระบบเครือข่าย(Data communication and networking system)
การสื่อสารและระบบเครือข่าย(Data communication and networking system)
 
หน่วยที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 2
หน่วยที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 2หน่วยที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 2
หน่วยที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 2
 
บทที่2เรื่องการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
บทที่2เรื่องการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์บทที่2เรื่องการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
บทที่2เรื่องการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
หน่วยที่ 8
หน่วยที่ 8หน่วยที่ 8
หน่วยที่ 8
 
การสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูลการสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูล
 
Network001
Network001Network001
Network001
 
ใบความรู้เรื่อง การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ (1)
ใบความรู้เรื่อง การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ (1)ใบความรู้เรื่อง การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ (1)
ใบความรู้เรื่อง การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ (1)
 
อุปกรณ์การสื่อสาร
อุปกรณ์การสื่อสารอุปกรณ์การสื่อสาร
อุปกรณ์การสื่อสาร
 
หน่วยที่ 3 อินเทอร์เน็ตและการใช้งาน
หน่วยที่  3 อินเทอร์เน็ตและการใช้งานหน่วยที่  3 อินเทอร์เน็ตและการใช้งาน
หน่วยที่ 3 อินเทอร์เน็ตและการใช้งาน
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
การสื่อสารแลกเปลี่ยนข้อมูล
การสื่อสารแลกเปลี่ยนข้อมูลการสื่อสารแลกเปลี่ยนข้อมูล
การสื่อสารแลกเปลี่ยนข้อมูล
 
หน่วยที่ 8 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 8 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์หน่วยที่ 8 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 8 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
Network
NetworkNetwork
Network
 
บทที่ 6. การสื่อสารโทรคมนาคมและเครือข่าย
บทที่ 6. การสื่อสารโทรคมนาคมและเครือข่ายบทที่ 6. การสื่อสารโทรคมนาคมและเครือข่าย
บทที่ 6. การสื่อสารโทรคมนาคมและเครือข่าย
 
ใบความรู้ เรื่อง การสื่อสารข้อมูล
ใบความรู้ เรื่อง การสื่อสารข้อมูลใบความรู้ เรื่อง การสื่อสารข้อมูล
ใบความรู้ เรื่อง การสื่อสารข้อมูล
 

Similar to Datacom

2.2 เครือข่ายคอมพิวเตอร์
2.2 เครือข่ายคอมพิวเตอร์2.2 เครือข่ายคอมพิวเตอร์
2.2 เครือข่ายคอมพิวเตอร์Meaw Sukee
 
Ch4 communication and computer networks
Ch4 communication and computer networksCh4 communication and computer networks
Ch4 communication and computer networksChangnoi Etc
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์kru P
 
Data communication and network
Data communication and networkData communication and network
Data communication and networkkamol
 
ใบความรุ้ 2 เรื่อง เครือข่ายคอมพิวเตอร์
ใบความรุ้ 2 เรื่อง เครือข่ายคอมพิวเตอร์ใบความรุ้ 2 เรื่อง เครือข่ายคอมพิวเตอร์
ใบความรุ้ 2 เรื่อง เครือข่ายคอมพิวเตอร์jansaowapa
 
%B7อข่ายคอมพิวเตอร์77
%B7อข่ายคอมพิวเตอร์77%B7อข่ายคอมพิวเตอร์77
%B7อข่ายคอมพิวเตอร์77Tophit Sampootong
 
%B7อข่ายคอมพิวเตอร์77
%B7อข่ายคอมพิวเตอร์77%B7อข่ายคอมพิวเตอร์77
%B7อข่ายคอมพิวเตอร์77Tophit Sampootong
 
Data communication and network
Data communication and networkData communication and network
Data communication and networkNidzy Krajangpat
 
ระบบเครือข่ายคอมผิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมผิวเตอร์ระบบเครือข่ายคอมผิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมผิวเตอร์nuchanad
 

Similar to Datacom (20)

2.2 เครือข่ายคอมพิวเตอร์
2.2 เครือข่ายคอมพิวเตอร์2.2 เครือข่ายคอมพิวเตอร์
2.2 เครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
Ch4 communication and computer networks
Ch4 communication and computer networksCh4 communication and computer networks
Ch4 communication and computer networks
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
Communication
CommunicationCommunication
Communication
 
Communication
CommunicationCommunication
Communication
 
Datacommunication
DatacommunicationDatacommunication
Datacommunication
 
Communication
CommunicationCommunication
Communication
 
Network
NetworkNetwork
Network
 
Data communication and network
Data communication and networkData communication and network
Data communication and network
 
ใบความรุ้ 2 เรื่อง เครือข่ายคอมพิวเตอร์
ใบความรุ้ 2 เรื่อง เครือข่ายคอมพิวเตอร์ใบความรุ้ 2 เรื่อง เครือข่ายคอมพิวเตอร์
ใบความรุ้ 2 เรื่อง เครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
%B7อข่ายคอมพิวเตอร์77
%B7อข่ายคอมพิวเตอร์77%B7อข่ายคอมพิวเตอร์77
%B7อข่ายคอมพิวเตอร์77
 
%B7อข่ายคอมพิวเตอร์77
%B7อข่ายคอมพิวเตอร์77%B7อข่ายคอมพิวเตอร์77
%B7อข่ายคอมพิวเตอร์77
 
Data communication and network
Data communication and networkData communication and network
Data communication and network
 
Communication Concept 3
Communication Concept 3Communication Concept 3
Communication Concept 3
 
Computerkamolaporn
ComputerkamolapornComputerkamolaporn
Computerkamolaporn
 
Computer
ComputerComputer
Computer
 
ระบบเครือข่ายคอมผิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมผิวเตอร์ระบบเครือข่ายคอมผิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมผิวเตอร์
 
Computer 1
Computer 1Computer 1
Computer 1
 
Computer(powerpoint)
Computer(powerpoint)Computer(powerpoint)
Computer(powerpoint)
 
pw
pwpw
pw
 

Datacom

  • 2. หัวข้อบรรยาย : Outline  การสื่อสารข้อมูล  เครือข่ายคอมพิวเตอร์  ทิศทางการสื่อสาร  ประเภทของเครือข่าย  ชนิดของสัญญาณ  สถาปัตยกรรมเครือข่าย  อุปกรณ์สื่อสารข้อมูล  เครือข่ายเฉพาะที่  ตัวกลางสื่อสารข้อมูล  ชนิดของเครือข่ายเฉพาะที่  โปรโตคอล  อุปกรณ์พื้นฐานที่ใช้งานบนเครือข่าย  ชนิดของการเชื่อมต่อ  การประยุกต์ใช้เครือข่าย  การพิจารณาเลือกอุปกรณ์ และบริการในการสื่อสารข้อมูล ภาควิชาคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์ ม.ศิลปากร 2
  • 3. การสื่อสารข้อมูล : Data Communication  ทาไมต้องสื่อสาร ?  การแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างสองอุปกรณ์ผ่านตัวกลางส่งข้อมูล ที่ใช้ในการสื่อสาร  ส่วนประกอบของระบบสื่อสารข้อมูล Step 1: Step 1: Step 2: Step 2: Step 3: Step 3: …… …… Protocol Protocol Media Sender Receiver ภาควิชาคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์ ม.ศิลปากร 3
  • 4. ทิศทางการสื่อสารข้อมูล : Direction of data flow  ทิศทางของสัญญาณที่เดินทางระหว่างสองอุปกรณ์ เพื่อติดต่อสื่อสาร รับส่งข้อมูล  แบบทางเดียว (Simplex)  แบบสองทางครึ่งอัตรา (Half-duplex)  แบบสองทางเต็มอัตรา (Full-duplex) 4
  • 5. ชนิดของสัญญาณ : Type of signal  สัญญาณอนาล็อก (Analog signal)  เป็นสัญญาณแบบต่อเนื่อง เช่น สัญญาณเสียงในสายโทรศัพท์  ข้อดี คือ ส่งในระยะไกลได้  ข้อเสีย คือ สัญญาณถูกรบกวนได้ง่าย ข้อมูลผิดพลาดได้  สัญญาณดิจิตอล (Digital signal)  สัญญาณอยู่ในรูปของตัวเลขฐานสอง คือ 0 และ 1  ใช้ในระบบคอมพิวเตอร์  ข้อดี คือ แม่นยา มีความน่าเชื่อถือสูง  ข้อเสีย คือ ผิดเพี้ยนได้ง่าย ถ้าเป็นการส่งในระยะไกล ภาควิชาคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์ ม.ศิลปากร 5
  • 6. อุปกรณ์สื่อสาร : Communication devices ภาควิชาคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์ ม.ศิลปากร 6
  • 7. ตัวกลางในการสื่อสารข้อมูล : Media  ช่องทางที่ใช้เป็นทางเดินข้อมูล (Media/Channel)  ตัวกลางที่ใช้เพื่อส่งผ่านข้อมูล มี 2 ชนิด  มีสาย  ไร้สาย  แต่ละชนิดมีความถี่ต่างกัน เรียกว่า แบนด์วิธ (Bandwidth)  ความถี่ของช่องสัญญาณจะเป็นตัวกาหนดความจุของข้อมูลที่ส่งไปใน ช่วงเวลาหนึ่ง มีหน่วยเป็น บิตต่อวินาที (Bits per second : bps)  ถ้ามีแบนด์วิธสูงก็จะรับส่งข้อมูลได้มาก ภาควิชาคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์ ม.ศิลปากร 7
  • 8. ตัวกลางแบบมีสาย : Wire  สายคู่ตีเกลียว (Twisted-pair)  คล้ายสายโทรศัพท์ เหมาะกับระยะสั้น  แบบมีฉนวนหุ้มและไม่มีฉนวนหุ้ม  สายโคแอกเชียล (Coaxial cable)  คล้ายสายทีวี ราคาแพง  ป้องกันคลื่นรบกวนได้ดี ความเร็วต่า  สายไฟเบอร์ออปติก (Fiber-optic)  ใช้แสงในการนาข้อมูลผ่านท่อนาแสง  ส่งข้อมูลได้ไว ราคาแพง สัญญาณรบกวนต่า ภาควิชาคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์ ม.ศิลปากร 8
  • 9. ตัวกลางแบบไร้สาย : Wireless  อินฟราเรด  ใช้ในการส่งข้อมูลระยะใกล้ๆ เช่น remote control วิทยุ/ทีวี  ความถี่สั้น ช่องทางสื่อสารน้อย  ความเร็วประมาณ 4-16 Mbps  ทะลุผ่านวัตถุไม่ได้ ต้องวางแนวเส้นตรงไม่เกิน 1-2 เมตร  คลื่นวิทยุ  มีหลายชนิด เช่น Bluetooth, VHF, UHF  ความถี่แตกต่างกันไป ใช้ในการสื่อสารระยะใกล้  ความเร็วต่าประมาณ 2 Mbps  ไม่จาเป็นต้องอยู่แนวเดียวกับจุดส่ง ผ่านวัตถุขวางกั้นได้ ภาควิชาคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์ ม.ศิลปากร 9
  • 10. ตัวกลางแบบไร้สาย : Wireless  คลื่นไมโครเวฟ  เป็นคลื่นวิทยุชนิดหนึ่งที่มีความถี่สูงระดับ GHz  เป็นคลื่นเส้นตรงในระดับสายตา  ต้องมีจานรับส่งตามยอดตึก/เขาเพื่อส่งต่อสัญญาณ  ความเร็วสูง ติดตั้งง่าย ประหยัด  สภาวะอากาศมีผลต่อสัญญาณ  ดาวเทียม  คือสถานีไมโครเวฟลอยฟ้า รับสัญญาณจากโลก  ดาวเทียม 3 ดวงก็ครอบคลุมโลกได้หมด  ค่าอุปกรณ์ ติดตั้ง บริการแพง  ความเร็วในส่งข้อมูลค่อนข้างช้า (166-400 Kbps) ภาควิชาคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์ ม.ศิลปากร 10
  • 11. อุปกรณ์เชื่อมต่อ : Devices  โมเด็ม : Modem (Modulator/Demodulator)  Modulator ตัวแปลงสัญญาณดิจิตอลเป็นอนาล็อก  Demodulator ตัวแปลงสัญญาณอนาล็อกเป็นดิจิตอล  อุปกรณ์ที่ใช้เพื่อติดต่อสื่อสารระหว่าคอมพิวเตอร์ผ่านสายโทรศัพท์  มีสองแบบ คือ แบบภายนอก และภายใน ภาควิชาคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์ ม.ศิลปากร 11
  • 12. ชนิดของการเชื่อมต่อ : Type of connection  Dial up  ส่งสัญญาณผ่านระบบโทรศัพท์พื้นฐาน โดยใช้ Modem เป็นตัวแปลงสัญญาณ  ความเร็วต่าระดับ 56 Kbps  DSL, xDSL  ผ่านสายโทรศัพท์พื้นฐานและใช้ DSL modem  สัญญาณดิจิตอลความเร็วสูง เข้ารหัสในย่านความถี่สูงกว่าโทรศัพท์ทั่วไป  ใช้กับอินเทอร์เน็ตและเครือข่ายระยะไกล  ความเร็วตั้งแต่ 256 Kbps – 2 Mbps  ISDN  เทคโนโลยีแบบดิจิตอลใช้กับอินเทอร์เน็ตความเร็วสูง  ความเร็วสูงกว่าระบบโทรศัพท์พื้นฐาน ประมาณ 1 Mbps  รับส่งข้อมูลได้หลายรูปแบบ โดยไม่รบกวนกัน  สามารถใช้โทรศัพท์ได้ขณะใช้งานอินเทอร์เน็ต ภาควิชาคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์ ม.ศิลปากร 12
  • 13. ชนิดของการเชื่อมต่อ : Type of connection  Cable  นิยมใช้ร่วมกับระบบเคเบิลทีวี โดยใช้โมเด็มต่อกับสายเคเบิลทีวี  ความเร็วประมาณ 10 Mbps  ค่าใช้จ่ายไม่แพง ติดตั้งง่าย ใช้โทรศัพท์ได้พร้อมกับอินเทอร์เน็ต  Cellular  ติดต่อผ่านเครือข่ายโทรศัพท์มือถือ  ใช้ cellular modem ที่มีในเครื่องติดต่อ  ความเร็วต่ากว่าโทรศัพท์พื้นฐานครึ่งหนึ่ง  ระบบ 3G พัฒนาขึ้นใหม่ ความเร็วสูงขึ้น ภาควิชาคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์ ม.ศิลปากร 13
  • 14. โปรโตคอล : Protocol  มาตรฐาน/ข้อตกลงในการสื่อสารข้อมูล  ครอบคลุมถึง  วิธีการและรูปแบบการส่งข้อมูล  จังหวะเวลาในการส่งข้อมูล  ลาดับการรับส่งข้อมูล  วิธีจัดการป้องกันความผิดพลาด  เปรียบเสมือนภาษาที่ใช้สื่อสารในระบบเครือข่าย  โปรโตคอลต่างกันก็คุยกันไม่รู้เรื่อง ภาควิชาคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์ ม.ศิลปากร 14
  • 15. เครือข่ายคอมพิวเตอร์ : Computer Networks  กลุ่มของคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ตางๆ ที่เชื่อมต่อเข้าด้วยกัน ่  สามารถใช้ทรัพยากรร่วมกันภายในเครือข่ายได้  ข้อดีของเครือข่ายคอมพิวเตอร์  สะดวกในการสื่อสาร  ใช้ฮาร์ดแวร์ร่วมกัน  ใช้ซอฟต์แวร์ร่วมกัน  ใช้ข้อมูลและสารสนเทศร่วมกัน ภาควิชาคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์ ม.ศิลปากร 15
  • 16. ประเภทของเครือข่าย : Type of network  แบ่งเป็น 3 ประเภท คือ เครือข่ายเฉพาะที่ เครือข่ายระดับเมือง และ เครือข่ายระดับประเทศ  เครือข่ายเฉพาะที่  Local Area Network : LAN  เครือข่ายที่มีการเชื่อมต่อกันในระยะใกล้ ครอบคลุมภายใต้พื้นที่จากัด  เชื่อมต่อภายในอาคารเดียวกัน หรืออาคารในบริเวณเดียวกัน  เชื่อมต่อเครื่องพีซีตั้งแต่สองเครื่องเข้าด้วย อาจรวมถึง เครื่องพิมพ์และอุปกรณ์อื่นๆ เพื่อใช้ทรัพยากรร่วมกัน  หากต้องการเชื่อมต่อระยะไกลขึ้น จะใช้อุปกรณ์ทวน สัญญาณ (Repeater) ร่วมด้วย ภาควิชาคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์ ม.ศิลปากร 16
  • 17. ประเภทของเครือข่าย : Type of network  เครือข่ายระดับเมือง  Metropolitan Area Network : MAN  เชื่อมต่อเครือข่าย LAN เข้าไว้ดวยกัน ้  ครอบคลุมพื้นที่กว้าง ระดับเมืองหรือจังหวัด  มีแบคโบน (Backbone) ทาหน้าที่เป็นสายหลักในการเชื่อมเครือข่าย  เครือข่ายระดับประเทศ  Wide Area Network : WAN  เชื่อมต่อเครือข่ายต่างๆ เข้าด้วยกัน  ครอบคลุมระดับประเทศหรือข้ามทวีป  ติดต่อผ่านช่องทางสื่อสารระยะไกล เช่นสายโทรศัพท์ เคเบิล ดาวเทียม ภาควิชาคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์ ม.ศิลปากร 17
  • 19. สถาปัตยกรรมเครือข่าย : Network architecture  อธิบายถึงการจัดการเครือข่ายที่เกี่ยวข้องกับ  การจัดรูปแบบการเชื่อมต่อทางกายภาพ  วิธีการเชื่อมต่อ และการรับส่งข้อมูล  ลักษณะการใช้งานเครือข่าย  รูปแบบการเชื่อมต่อเครือข่าย (Topology) มี 3 แบบ  แบบดาว (Star)  แบบวงแหวน (Ring)  แบบบัส (Bus) ภาควิชาคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์ ม.ศิลปากร 19
  • 20. การเชื่อมต่อแบบดาว : Star topology  เริ่มต้นจากการเชื่อมต่อในระบบเมนเฟรม  เทอร์มินัลเชื่อมต่อกับเมนเฟรมเพื่อขอใช้ทรัพยากร  มีคอมพิวเตอร์ตรงกลางเป็นตัวควบคุมการรับส่งข้อมูล เรียกว่า ฮับ (Hub)  เครื่องอื่นๆ เชื่อมต่อไปยังฮับ ลักษณะคล้ายรูปดาว  เป็นการสื่อสารแบบ 2 ทิศทาง  ไม่มีการชนกันของข้อมูล เพราะส่งได้ทีละเครื่อง  ข้อดี ติดตั้งและดูแลง่าย ถ้าเครื่องลูกข่ายเสีย ก็ตรวจสอบได้ง่าย เครื่องอื่นยังติดต่อกันได้  ข้อเสีย ถ้าฮับเสีย เครือข่ายล่ม ใช้สัญญาณมากกว่าแบบอื่น ภาควิชาคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์ ม.ศิลปากร 20
  • 21. การเชื่อมต่อแบบวงแหวน : Ring topology  เชื่อมต่อกันแบบวงกลม  รับส่งแบบทิศทางเดียว  ตรวจสอบข้อมูลที่ส่งมาว่าใช่ของตนหรือไม่ ถ้าใช่ก็รับไว้ ถ้าไม่ใช่ก็ส่งต่อ  ข้อดี ส่งข้อมูลไปยังผู้รับหลายเครื่องๆ พร้อมกันได้ ไม่เกิดการชนกันของข้อมูล  ข้อเสีย ถ้าเครื่องใดมีปัญหา เครือข่ายล่ม การติดตั้งทาได้ยาก และใช้สายสัญญาณมากกว่าแบบบัส ภาควิชาคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์ ม.ศิลปากร 21
  • 22. การเชื่อมต่อแบบบัส : Bus topology  เชื่อมต่อเป็นเส้นตรง  มีสายหนึ่งทาหน้าที่เป็นแกนหลัก (backbone)  ทุกเครื่องจะเชื่อมต่อเข้าสู่แกนนี้  ข้อดี ประหยัดสายสัญญาณ เครื่องหนึ่งเสียก็ไม่กระทบกับเครือข่าย  ข้อเสีย อาจเกิดการชนกันของ ข้อมูลได้ ต้องมีการส่งใหม่ ถ้าสายหลักเสีย เครือข่ายล่ม ภาควิชาคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์ ม.ศิลปากร 22
  • 23. ลักษณะการใช้งานเครือข่าย : Type of LAN  Client/Server  ประกอบด้วยเครื่องที่ทาหน้าที่ให้บริการ (Server) และเครื่องที่ทาหน้าที่ขอใช้ บริการ (Client)  Server จะทาหน้าที่ควบคุมการทางานของเครือข่าย การเข้าถึงอุปกรณ์ฮาร์ดแวร์ และซอฟต์แวร์ รวมถึงข้อมูลบนเครือข่าย  Client เป็นเครื่องลูกข่าย จะร้องขอความต้องการไปยัง server  Peer-to-peer  ให้ความสาคัญกับเครื่องในเครือข่ายเท่ากัน  ไม่ต้องมีตัวควบคุม แต่ละตัวเป็นได้ทั้งเครื่องลูกข่ายและเครื่องบริการ  สามารถใช้ทรัพยากรร่วมกันได้ ต้นทุนต่า ไม่คานึงถึงความปลอดภัยมากนัก ภาควิชาคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์ ม.ศิลปากร 23
  • 24. ลักษณะการใช้งานเครือข่าย : Type of LAN  Client/Server  Peer-to-peer ภาควิชาคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์ ม.ศิลปากร 24
  • 25. ส่วนประกอบของเครือข่าย : LAN component  สายสัญญาณ  ซอฟต์แวร์  การ์ดแลน  อุปกรณ์ในการเชื่อมเครือข่าย ภาควิชาคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์ ม.ศิลปากร 25
  • 26. ซอฟต์แวร์ในระบบเครือข่าย : Software  เป็นโปรแกรมที่ใช้ในการสื่อสาร  โปรแกรมระบบปฏิบัติการเครือข่าย (Network operating system)  จัดการไฟล์ข้อมูล  ติดต่อกับผู้ใช้งานในเครือข่าย  บริการในการใช้งานทรัพยากรร่วมกัน  เลือกใช้ให้ตรงกับลักษณะการใช้งานของเครือข่าย  Window NT, Novell Netware, Appleshare, Unix, Linux  โปรแกรมประยุกต์ที่ใช้งานบนเครือข่าย  สามารถรันข้ามเครื่องได้ ภาควิชาคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์ ม.ศิลปากร 26
  • 27. อุปกรณ์ที่ใช้งานบนเครือข่าย : Devices  โมเด็ม (Modem) อุปกรณ์ที่เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์ที่อยู่ระยะไกล โดยผ่าน สายโทรศัพท์  การ์ดเน็ตเวิร์ก (Network interface card) หรือการ์ดแลน เชื่อมต่อ คอมพิวเตอร์ที่ใช้งานเข้ากับระบบเครือข่าย อาจเป็นแบบมีสาย/ไร้สาย  แอคเซสพอยต์ (Wireless access point) เป็นตัวเชื่อมระหว่างระบบ เครือข่ายแบบใช้สาย กับเครื่องลูกข่ายแบบไร้สาย  ตัวทวนสัญญาณ (Repeater) ใช้ปรับปรุงสัญญาณที่ออนลงให้กลับมา ่ เป็นรูปแบบเดิม และส่งต่อไปยังเครื่องในเครือข่ายที่อยู่ไกลได้  ฮับ (Hub) ใช้กระจายสัญญาณในเครือข่ายแลน จะเฉลี่ยความเร็วให้กับ เครื่องทุกเครื่องเท่าๆ กัน ภาควิชาคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์ ม.ศิลปากร 27
  • 28. อุปกรณ์ที่ใช้งานบนเครือข่าย : Devices  บริดจ์ (Bridge) ใช้ในการเชื่อมต่อหลายเครือข่ายเข้าด้วยกัน สามารถ แยกได้ว่าข้อมูลที่ส่งอยู่ในเครือข่ายใด ลดความคับคั่งของข้อมูลในระบบ  สวิตช์ (Switches) นาความสามารถของฮับกับบริดจ์มารวมกัน การส่ง ข้อมูลจะไม่ไปรบกวนพอร์ตอื่น ไม่เกิดการชนกันหรือความคับคั่งของ ข้อมูลในระบบ  เราเตอร์ (Router) คล้ายบริดจ์แต่สามารถจัดหาเส้นทางส่งข้อมูลได้ ฉลาดกว่า ใช้เชื่อมต่อเครือข่ายย่อยๆ ที่ซับซ้อนเข้าไว้ด้วยกัน  เกตเวย์ (Gateway) ทาให้เชื่อมโยงเครือข่ายที่มีมาตรฐานหรือ สถาปัตยกรรมต่างกันเข้าไว้ด้วยกันได้ ภาควิชาคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์ ม.ศิลปากร 28
  • 30. การพิจารณาเลือกใช้อุปกรณ์/บริการในการสื่อสาร  การเลือกโมเด็ม  ความเร็วในการรับส่งข้อมูล  การบีบอัดข้อมูล  การแก้ไขข้อผิดพลาด  ติดตั้งภายในหรือภายนอก  การเชื่อมต่อระบบแลน/อินเตอร์เน็ต  งบประมาณ  ความเร็วในการรับส่งข้อมูล  แบบมีสาย/ไร้สาย  พื้นที่ให้บริการ ภาควิชาคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์ ม.ศิลปากร 30
  • 31. ตัวอย่างการตั้งค่าเครื่องในเครือข่าย  ติดตั้งอุปกรณ์  LAN card  wireless card  สาย LAN  การตั้งค่าต่างๆ ของเครื่อง  ชื่อเครื่อง/IP  TCP/IP  แชร์ไฟล์และอุปกรณ์เชื่อมต่อ  ตั้งค่า VPN  Remote desktop ภาควิชาคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์ ม.ศิลปากร 31
  • 32. การประยุกต์ใช้เครือข่าย  แฟกซ์ (Fax)  จดหมายอิเล็กทรอนิกส์ (E-mail)  การรวมกลุ่มของการทางาน (Groupware)  การประชุมระยะไกล (Teleconference)  การทางานระยะไกล (computer community)  Electronic Data Interchange (EDI)  Electronic Fund Transfer (EFT)  อินเทอร์เน็ต (Internet) ภาควิชาคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์ ม.ศิลปากร 32
  • 33. สรุปบทเรียน แบบมีสาย ทิศทางการสื่อสาร - Twisted อุปกรณ์สื่อสาร  Simplex pair  เครื่องรับ/ส่ง  Half duplex - Coax  ตัวกลางเชื่อมต่อ - Fiber optic  Full duplex  โปรโตคอล การสื่อสารข้อมูล แบบไร้สาย  อุปกรณ์เชื่อมต่อ - อินฟาเรด ชนิดของการเชื่อมต่อ - คลื่นวิทยุ  Dial up - ไมโครเวฟ - ดาวเทียม Modem ชนิดของ  DSL - Internal สัญญาณ  ISDN - External  Digital  Cable - PCMCIA  Analog  Cellular ภาควิชาคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์ ม.ศิลปากร 33