SlideShare a Scribd company logo
1 of 30
การเชื่อมโยงเครือข่าย
• จุดประสงค์การเชือมโยงคอมพิวเตอร์เข้าเป็นเครือ
                     ่
  ข่าย คือ ต้องการให้คอมพิวเตอร์สามรถสื่อสารและ
  แลกเปลียนข้อมูลระหว่างกันได้
              ่
• เครือข่ายคอมพิวเตอร์เริ่มจากเครือข่ายขนาดเล็ก
  ภายในองค์กรที่เชื่อมโยงกันภายใต้สภาพพื้นที่
  จำากัดซึงเรียกว่า เครือข่ายเฉพาะที่ (LAN : Local
            ่
  Area Network)
• เครือข่ายที่ครอบคลุมพื้นที่ระดับเมือง เรียกว่า
  MAN (Metropolitan Area Network)
• เมื่อเชือมเครือข่ายย่อยเข้าด้วยกันและขยาย
          ่
  ขอบเขตครอบคลุมพื้นที่ระดับเมือง หรือระหว่าง
  ประเทศ ก็จะเรียกว่ชา เครือข่โรงเรียนมหิดทีทยานุารณ์ (WAN:
                  หมวดวิ าคอมพิวเตอร์
                                      ายพืน ลวิ ่กว้ ส ง
                                          ้
  Wide Area Network)
Local Area Network : LAN
• เครือขายเฉพาะที่หรือแลนมีลักษณะโดย
  ทั่วไปคือ มีอัตราการส่งข้อมูลสูงและมักมีรัศมี
  เครือข่ายครอบคลุมระยะทางประมาณ 5
  กิโลเมตร
• ต่อไปนี้จะกล่าวถึงแลนตามมาตรฐานที่
  กำาหนดโดย IEEE (Institute of Electrical
  and Electronics Engineers)

               หมวดวิชาคอมพิวเตอร์ โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์
LAN ตามข้อกำาหนดของ IEEE
• IEEE กำาหนดเครือข่ายเฉพาะที่โดยใช้ตวเลขั
  802 ตามด้วยตัวเลขย่อยเป็นรหัสประจำาแต่ละ
  มาตรฐาน ตัวอย่างมาตรฐานที่เป็นที่รู้จักแพร่
  หลาย เช่น
  –   IEEE 802.3 หรืออีเทอร์เน็ต
  –   IEEE 802.4 หรือโทเค็นบัส
  –   IEEE 802.5 หรือโทเค็นริง
  –   FDDI : Fiber Distributed Data Interface
                 หมวดวิชาคอมพิวเตอร์ โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์
IEEE 802.3
• IEEE 802.3 หรืออีเทอร์เน็ต (Ethernet) เป็น
  เครือข่ายที่สถานีในเครือข่ายอาจมีโทโปโลยี
  แบบบัสหรือแบบดาว
• IEEE ได้กำาหนดมาตรฐานอีเทอร์เน็ตซึ่ง
  ทำางานที่ความเร็วที่ 10 เมกะบิตต่อวินาทีไว้
  หลายประเภทตามชนิดสายสัญญาณ เช่น
  10Base5, 10 Base2, 10BaseT, 100BaseTX,
  100BaseFX, 1000BaseT เป็นต้น
              หมวดวิชาคอมพิวเตอร์ โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์
การเลือกใช้ระบบ LAN (Selection
             Issues)
• การตัดสินใจที่จะเลือกใช้ระบบ LAN ของ
  แต่ละหน่วยงาน นับเป็นสิงหนึ่งที่มีความ่
  สำาคัญ ซึ่งผู้ใช้จำาเป็นต้องพิจารณาอย่าง
  รอบคอบถึงปัญหาของระบบเดิม และความ
  จำาเป็นที่จะต้องเชือมต่อเป็นระบบ LAN
                         ่
  ตลอดจนประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
• พิจารณาว่าจะเลือกใช้ LAN แบบใดจึงจะ
  เหมาะสมกับหน่วยงาน โดยพิจารณาตั้งแต่
  ระดับฮาร์ดแวร์คือตัววกลางที่จดำาเป็นรณ์ องใช้ ไป
                 หมวดวิชาคอมพิ เตอร์ โรงเรียนมหิ ลวิทยานุส ต้
การเลือกใช้ระบบ LAN (Selection
             Issues)
• อย่างไรก็ตาม การเลือกใช้ระบบ LAN อาจ
  จะไม่ใช่คำาตอบ หรือเป็นวิธการแก้ปัญหาที่ดี  ี
  ที่สดสำาหรับทุกหน่วยงาน เนื่องจากสิง ที่ตาม
      ุ                                                    ่
  มาของการเลือกใช้ระบบ LAN คือค่าใช้จ่าย
• ค่าใช้จ่ายในที่นี้หมายถึงค่าใช้จ่ายสำาหรับ
  อุปกรณ์ต่าง ๆ และรวมไปถึงค่าใช้จ่ายใจการ
  ดูแลรักษาอีกด้วย
• ดังนันผู้ใช้จำาเป็นต้องมีการพิจารณาอย่าง
        ้
  รอบคอบถึงความต้องการทีนมหิท้จยานุสรณ์
                 หมวดวิชาคอมพิวเตอร์ โรงเรีย ่แ ดลวิท ริง ตลอดจน
Protocol
• การเชื่อมเครือข่ายต่างฮาร์ดแวร์จำาเป็น
  ต้องกำาหนดข้อตกลงร่วม หรือ
  โปรโตคอล เพือให้คอมพิวเตอร์สอสาร
                 ่                 ื่
  กันตามข้อกำาหนด
• โปรโตคอลในความหมายของระบบ
  เครือข่าย คือ ข้อกำาหนดการสื่อสาร
  คอมพิวเตอร์หรืออุปกรณ์เครือข่ายจะมี
  ซอฟต์แวร์ที่ปฏิบัติงานตามโปรโตคอลที่
            หมวดวิชาคอมพิวเตอร์ โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์
Protocol
• เช่น หากข้อมูลที่ขนถ่ายมีข้อผิดพลาด
  คอมพิวเตอร์จะดำาเนินการตามแบบแผน
  ในโปรโตคอล เช่นส่งข้อมูลซำ้าใหม่
• หรือในระบบเครือข่ายขนาดใหญ่อาจมี
  เส้นทางเชือมโยงระหว่างกันได้เป็น
            ่
  จำานวนมาก ข้อมูลที่สงออกไปอาจไม่ได้
                      ่
  ใช้เส้นทางเดียวกันตลอด ข้อมูลที่ส่ง
  ออกไปก่อนอาจไปถึงปลายทางช้ากว่า
           หมวดวิชาคอมพิวเตอร์ โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์
7 Layers of OSI Model




      หมวดวิชาคอมพิวเตอร์ โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์
SI Model 7 layers
        ISO ได้กำาหนด
  รูปแบบโครงสร้าง
  มาตรฐานสากล
  สำาหรับการติดต่อ
  สื่อสารระหว่างเครือง   ่
  คอมพิวเตอร์ไว้ เรียก
  ว่า
  Open Systems
  Interconnection
  ซึ่งมาอยู่ 7 ชั้นสื่อสาร วเตอร์ โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์
                   หมวดวิชาคอมพิ
Physical Layer
• เป็นชันระดับล่างสุด
        ้
• ทำาหน้าที่กำาหนดวิธีควบคุมการรับ
  และส่งข้อมูลระหว่างเครื่อง
  คอมพิวเตอร์ในระดับบิต เช่น การ
  ส่งบิต 0 จะแทนด้วยกระแสไฟฟ้ากี่
  โวลต์ สายสือสัญญาณมีกี่เส้น
               ่
  แต่ละเส้นใช้เพื่ออะไร เป็นต้น
           หมวดวิชาคอมพิวเตอร์ โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์
Data Link Layer
• หน้าทีหลักคือ รวบรวมข้อมูลจากชั้น
        ่
  Physical มาตรวจสอบความถูกต้อง
  ของข้อมูล โดยการเพิ่มข้อมูล
  สำาหรับการตรวจสอบติดไว้กับข้อมูล
• ตรวจสอบข้อมูลที่เสียหายหรือ
  สูญหาย แล้วแจ้งให้ฝั่งผู้สงมีการส่ง
                            ่
  ข้อมูลชุดเดิมกลับมาใหม่
• ตรวจสอบข้อมูลที่ซำ้าและกำาจัดออก
            หมวดวิชาคอมพิวเตอร์ โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์
Network Layer
• ควบคุมการติดต่อรับ-ส่งข้อมูล
  ระหว่างเครื่องคอมพิวเตอร์ตางๆ ใน
                            ่
  ระบบเครือข่ายให้เป็นไปด้วยความ
  เรียบร้อย
• กำาหนดเส้นทางเดินของข้อมูลจากผู้
  ส่งไปยังเครื่องปลายทาง

           หมวดวิชาคอมพิวเตอร์ โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์
Transport Layer
• รับข้อมูลจากชั้น Session โดยถ้า
  ข้อมูลมีปริมาณมากก็จะทำาการแบ่ง
  ข้อมูลออกเป็นแพ็กเก็ตหลายๆแพ็ก
  เก็ต แล้วจึงส่งข้อมูลทังชุดต่อไปให้
                         ้
  โปรแกรมในชั้น Network
• ควบคุมการไหลของข้อมูล (flow
  control) เพื่อทีจะควบคุมการรับและ
                  ่
  ส่งข้อมูล เช่นในกรณีทผู้ส่งจัดการ
                           ี่
            หมวดวิชาคอมพิวเตอร์ โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์
Session Layer
• เป็นผู้กำาหนดวิธีการควบคุมการเชือมต่อ่
  ระหว่างผูรับและผูส่ง
              ้        ้
• บริหารการแลกเปลี่ยนข่าวสาร ได้แก่ การ
  กำาหนดให้การแลกเปลี่ยนเป็นไปแบบสอง
  ทางในเวลาเดียวกัน (full duplex) หรือถ้า
  เป็นการสื่อสารแบบทางเดียวแต่สลับทิศ
  ได้ (half duplex) ก็จะต้องเป็นผู้จัดลำาดับ
  ให้ทั้งผู้รับและผู้ส่งทำาการส่งข้อมูลได้
              หมวดวิชาคอมพิวเตอร์ โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์
Presentation Layer
• การใช้รหัสแทนข้อมูล เช่น รหัส
  ASCII หรือ Unicode
• เข้ารหัส และ ถอดรหัส




           หมวดวิชาคอมพิวเตอร์ โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์
Application Layer
• เป็นตัวกลาง หรือ ส่วนติดต่อ
  ระหว่างผูใช้โปรแกรมประยุกต์
           ้
  กับโปรแกรมใน 6 ชันทีเหลือ
                     ้ ่




          หมวดวิชาคอมพิวเตอร์ โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์
I Model 7 layers




         หมวดวิชาคอมพิวเตอร์ โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์
หมวดวิชาคอมพิวเตอร์ โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์
Topology
 หมวดวิชาคอมพิวเตอร์ โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์
Topology หมายถึงรูปแบบการเชื่อมต่อเครือ
ข่าย ในที่นหมายถึงการนำาเอาคอมพิวเตอร์หรือ
           ี้
อุปกรณ์อื่น ๆ มาเชือมต่อกัน โดยพยายามลด
                    ่
จำานวนสายที่ต้องใช้ให้มากที่สด วิธีที่นิยมใช้ได้
                                           ุ
แก่ โทโปโลยีรูปแบบดาว (Star), ดบัส(Bus),
                 หมวดวิชาคอมพิวเตอร์ โรงเรียนมหิ ลวิทยานุสรณ์
หมวดวิชาคอมพิวเตอร์ โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์
อุปกรณ์เครือข่าย


     หมวดวิชาคอมพิวเตอร์ โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์
HUB



 Hub เป็นอุปกรณ์เชื่อมสถานีเครือข่ายที่ใช้
 โทโปโลยีแบบดาว เช่น อีเทอร์เน็ต
 10BaseT ฮับมีพอร์ตได้หลายแบบ เช่น
 พอร์ต RJ-45 ใช้กับสายคู่ตีเกลียวในเครือ
 ข่าย 10BaseT หรือพอร์ตไฟเบอร์ใช้กับ
             หมวดวิชาคอมพิวเตอร์ โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์
หน้าที่ของฮับคือขยายสัญญาณ
และกระจายแพ็กเก็ตไปทุกพอร์ต ฮับ
ใช้เชื่อมต่อเครือข่ายประเภทเดียวกัน
เท่านั้น เครือข่ายที่เชื่อมด้วยฮับจะรวม
เป็นเครือข่ายเดียวกัน ดังนั้นแพ็กเก็ต
ที่สร้างจากเครือข่ายหนึ่งจะผ่านฮับไป
           หมวดวิชาคอมพิวเตอร์ โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์
SWITCH

      เป็นอุปกรณ์กระจายและรวมสัญญาณ
 ที่มาจากอุปกรณ์รบส่งหลายสถานีเช่นเดีย
                  ั
 วกับฮับ แต่ จะไม่กระจายไปยังทุกสถานีเห
 มือนกับฮับ โดยสวิตช์จะรับกลุ่มข้อมูลมา
 ตรวจสอบก่อนแล้วดูวาแอดเดรสของ
                     ่
 สถานี(คอมพิวเตอร์)ปลายทางไปที่ใด


              หมวดวิชาคอมพิวเตอร์ โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์
ROUTER


      เราเตอร์เป็นอุปกรณ์ที่ทำางานในระดับ
ชั้น Network เราเตอร์ทำางานร่วมกับ
ฮาร์ดแวร์ในระดับ Data link ได้หลายรูป
แบบ
      หน้าที่ของเราเตอร์คือจัดแบ่งเครือ
ข่ายและเลือกเส้นทางที่เหมาะสมเพือนำาส่ง
                                    ่
แพ็กเก็ต เราเตอร์จะป้องกันการบรอดคาสต์
            หมวดวิชาคอมพิวเตอร์ โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์
เราเตอร์ทำาหน้าที่เลือกเส้นทางโดยสร้าง
แผนที่เครือข่ายและเก็บอยู่ในรูปตารางเส้นทาง
เมื่อเราเตอร์ได้รับแพ็กเก็ตก็จะตรวจสอบ
แอดเดรสปลายทางและส่งแพ็กเก็ตไปยัง
อินเทอร์เฟสที่เหมวดวิชช่องทางไปสูลวิครือข่ายปลาย
                ป็น าคอมพิวเตอร์ โรงเรียนมหิด ่เ ทยานุสรณ์
หมวดวิชาคอมพิวเตอร์ โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์
เราเตอร์ประกอบด้วยหลายอินเทอร์เฟส
เพือเชื่อมต่อกับเครือข่ายต่างชนิดเข้าด้วยกัน
   ่
ได้ ตัวอย่างเช่น อินเทอร์เฟสอีเทอร์เน็ต
โทเค็นริง เอฟดีดีไอ เอทีเอ็ม เป็นต้น

              หมวดวิชาคอมพิวเตอร์ โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์

More Related Content

What's hot

การสื่อสารบทที่ 3 เทคโนโลยีการสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารบทที่ 3 เทคโนโลยีการสื่อสารข้อมูลการสื่อสารบทที่ 3 เทคโนโลยีการสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารบทที่ 3 เทคโนโลยีการสื่อสารข้อมูลBebearjang1
 
ระบบเครือข่ายคอมผิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมผิวเตอร์ระบบเครือข่ายคอมผิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมผิวเตอร์nuchanad
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์และอินเทาาาอร์เน็ต.Pdf555555
เครือข่ายคอมพิวเตอร์และอินเทาาาอร์เน็ต.Pdf555555เครือข่ายคอมพิวเตอร์และอินเทาาาอร์เน็ต.Pdf555555
เครือข่ายคอมพิวเตอร์และอินเทาาาอร์เน็ต.Pdf555555BeeHand Behide
 
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ARAM Narapol
 
งามคอม200
งามคอม200งามคอม200
งามคอม200เค้ก
 
ประวัติความเป็นมาของ อินเทอร์เน็ต
ประวัติความเป็นมาของ อินเทอร์เน็ตประวัติความเป็นมาของ อินเทอร์เน็ต
ประวัติความเป็นมาของ อินเทอร์เน็ตguest832105
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 28
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 28เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 28
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 28sawalee kongyuen
 
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์Wanphen Wirojcharoenwong
 
ใบงานหน่วยที่ 2 ทิศทางการส่งและชนิดของสัญญาณข้อมูล
ใบงานหน่วยที่ 2 ทิศทางการส่งและชนิดของสัญญาณข้อมูลใบงานหน่วยที่ 2 ทิศทางการส่งและชนิดของสัญญาณข้อมูล
ใบงานหน่วยที่ 2 ทิศทางการส่งและชนิดของสัญญาณข้อมูลwatnawong
 
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์Kalib Karn
 
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ Sirinat Sansom
 
การสื่อสารแลกเปลี่ยนข้อมูล
การสื่อสารแลกเปลี่ยนข้อมูลการสื่อสารแลกเปลี่ยนข้อมูล
การสื่อสารแลกเปลี่ยนข้อมูลMareeyalosocity
 
รายงาน เรื่องเครือข่ายคอมพิวเตอร์
รายงาน เรื่องเครือข่ายคอมพิวเตอร์รายงาน เรื่องเครือข่ายคอมพิวเตอร์
รายงาน เรื่องเครือข่ายคอมพิวเตอร์Rungnapa Tamang
 
เทอม 1 คาบ 10 เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เทอม 1 คาบ 10 เครือข่ายคอมพิวเตอร์เทอม 1 คาบ 10 เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เทอม 1 คาบ 10 เครือข่ายคอมพิวเตอร์Mrpopovic Popovic
 
หน่วยที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 2
หน่วยที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 2หน่วยที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 2
หน่วยที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 2อรยา ม่วงมนตรี
 

What's hot (20)

รายงาน1233
รายงาน1233รายงาน1233
รายงาน1233
 
การสื่อสารบทที่ 3 เทคโนโลยีการสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารบทที่ 3 เทคโนโลยีการสื่อสารข้อมูลการสื่อสารบทที่ 3 เทคโนโลยีการสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารบทที่ 3 เทคโนโลยีการสื่อสารข้อมูล
 
ระบบเครือข่ายคอมผิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมผิวเตอร์ระบบเครือข่ายคอมผิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมผิวเตอร์
 
เทอม 1 คาบ 9
เทอม 1 คาบ 9เทอม 1 คาบ 9
เทอม 1 คาบ 9
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์และอินเทาาาอร์เน็ต.Pdf555555
เครือข่ายคอมพิวเตอร์และอินเทาาาอร์เน็ต.Pdf555555เครือข่ายคอมพิวเตอร์และอินเทาาาอร์เน็ต.Pdf555555
เครือข่ายคอมพิวเตอร์และอินเทาาาอร์เน็ต.Pdf555555
 
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
อุปกรณ์การสื่อสาร
อุปกรณ์การสื่อสารอุปกรณ์การสื่อสาร
อุปกรณ์การสื่อสาร
 
งามคอม200
งามคอม200งามคอม200
งามคอม200
 
ประวัติความเป็นมาของ อินเทอร์เน็ต
ประวัติความเป็นมาของ อินเทอร์เน็ตประวัติความเป็นมาของ อินเทอร์เน็ต
ประวัติความเป็นมาของ อินเทอร์เน็ต
 
โพรโทคอล
โพรโทคอลโพรโทคอล
โพรโทคอล
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 28
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 28เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 28
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 28
 
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
ใบงานหน่วยที่ 2 ทิศทางการส่งและชนิดของสัญญาณข้อมูล
ใบงานหน่วยที่ 2 ทิศทางการส่งและชนิดของสัญญาณข้อมูลใบงานหน่วยที่ 2 ทิศทางการส่งและชนิดของสัญญาณข้อมูล
ใบงานหน่วยที่ 2 ทิศทางการส่งและชนิดของสัญญาณข้อมูล
 
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
การสื่อสารแลกเปลี่ยนข้อมูล
การสื่อสารแลกเปลี่ยนข้อมูลการสื่อสารแลกเปลี่ยนข้อมูล
การสื่อสารแลกเปลี่ยนข้อมูล
 
รายงานเครือข่ายคอมพิวเตอร์
รายงานเครือข่ายคอมพิวเตอร์รายงานเครือข่ายคอมพิวเตอร์
รายงานเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
รายงาน เรื่องเครือข่ายคอมพิวเตอร์
รายงาน เรื่องเครือข่ายคอมพิวเตอร์รายงาน เรื่องเครือข่ายคอมพิวเตอร์
รายงาน เรื่องเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
เทอม 1 คาบ 10 เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เทอม 1 คาบ 10 เครือข่ายคอมพิวเตอร์เทอม 1 คาบ 10 เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เทอม 1 คาบ 10 เครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
หน่วยที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 2
หน่วยที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 2หน่วยที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 2
หน่วยที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 2
 

Similar to Network

2.2 เครือข่ายคอมพิวเตอร์
2.2 เครือข่ายคอมพิวเตอร์2.2 เครือข่ายคอมพิวเตอร์
2.2 เครือข่ายคอมพิวเตอร์Meaw Sukee
 
%B7อข่ายคอมพิวเตอร์77
%B7อข่ายคอมพิวเตอร์77%B7อข่ายคอมพิวเตอร์77
%B7อข่ายคอมพิวเตอร์77Tophit Sampootong
 
%B7อข่ายคอมพิวเตอร์77
%B7อข่ายคอมพิวเตอร์77%B7อข่ายคอมพิวเตอร์77
%B7อข่ายคอมพิวเตอร์77Tophit Sampootong
 
ใบความรู้ที่ 3
ใบความรู้ที่ 3ใบความรู้ที่ 3
ใบความรู้ที่ 3Nattapon
 
ระบบการสื่่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบการสื่่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบการสื่่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบการสื่่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์T'tle Tanwarat
 
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
ดัชนีคำศัพท์ เรื่อง มาตรฐานการเชื่อมต่อและสถาปัตยกรรม เครือข่ายคอมพิวเตอร์
ดัชนีคำศัพท์ เรื่อง มาตรฐานการเชื่อมต่อและสถาปัตยกรรม เครือข่ายคอมพิวเตอร์ ดัชนีคำศัพท์ เรื่อง มาตรฐานการเชื่อมต่อและสถาปัตยกรรม เครือข่ายคอมพิวเตอร์
ดัชนีคำศัพท์ เรื่อง มาตรฐานการเชื่อมต่อและสถาปัตยกรรม เครือข่ายคอมพิวเตอร์ Khunakon Thanatee
 
อินเทอร์เนด
อินเทอร์เนดอินเทอร์เนด
อินเทอร์เนดnoooom
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์kru P
 
Computer Network
Computer  NetworkComputer  Network
Computer Networkchukiat008
 
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์chukiat008
 
บทที่5.1
บทที่5.1บทที่5.1
บทที่5.1chushi1991
 

Similar to Network (20)

Network
NetworkNetwork
Network
 
2.2 เครือข่ายคอมพิวเตอร์
2.2 เครือข่ายคอมพิวเตอร์2.2 เครือข่ายคอมพิวเตอร์
2.2 เครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
%B7อข่ายคอมพิวเตอร์77
%B7อข่ายคอมพิวเตอร์77%B7อข่ายคอมพิวเตอร์77
%B7อข่ายคอมพิวเตอร์77
 
%B7อข่ายคอมพิวเตอร์77
%B7อข่ายคอมพิวเตอร์77%B7อข่ายคอมพิวเตอร์77
%B7อข่ายคอมพิวเตอร์77
 
Network System
Network SystemNetwork System
Network System
 
ใบความรู้ที่ 3
ใบความรู้ที่ 3ใบความรู้ที่ 3
ใบความรู้ที่ 3
 
ระบบการสื่่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบการสื่่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบการสื่่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบการสื่่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
Lan 01
Lan 01Lan 01
Lan 01
 
Lan 01
Lan 01Lan 01
Lan 01
 
Supichaya
SupichayaSupichaya
Supichaya
 
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
ดัชนีคำศัพท์ เรื่อง มาตรฐานการเชื่อมต่อและสถาปัตยกรรม เครือข่ายคอมพิวเตอร์
ดัชนีคำศัพท์ เรื่อง มาตรฐานการเชื่อมต่อและสถาปัตยกรรม เครือข่ายคอมพิวเตอร์ ดัชนีคำศัพท์ เรื่อง มาตรฐานการเชื่อมต่อและสถาปัตยกรรม เครือข่ายคอมพิวเตอร์
ดัชนีคำศัพท์ เรื่อง มาตรฐานการเชื่อมต่อและสถาปัตยกรรม เครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
Network
NetworkNetwork
Network
 
Computer network
Computer networkComputer network
Computer network
 
ดัชนี
ดัชนีดัชนี
ดัชนี
 
อินเทอร์เนด
อินเทอร์เนดอินเทอร์เนด
อินเทอร์เนด
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
Computer Network
Computer  NetworkComputer  Network
Computer Network
 
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
บทที่5.1
บทที่5.1บทที่5.1
บทที่5.1
 

More from pornthip7890

ประวัติส่วนตัว นางสางวพรทิพย์ เสมอใจ
ประวัติส่วนตัว นางสางวพรทิพย์ เสมอใจประวัติส่วนตัว นางสางวพรทิพย์ เสมอใจ
ประวัติส่วนตัว นางสางวพรทิพย์ เสมอใจpornthip7890
 
ประวัติส่วนตัว
ประวัติส่วนตัวประวัติส่วนตัว
ประวัติส่วนตัวpornthip7890
 
ส่วนประกอบหลักและการใช้งานคอมพิวเตอร์ ป3
ส่วนประกอบหลักและการใช้งานคอมพิวเตอร์ ป3ส่วนประกอบหลักและการใช้งานคอมพิวเตอร์ ป3
ส่วนประกอบหลักและการใช้งานคอมพิวเตอร์ ป3pornthip7890
 
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ ประถมศึกษาปีที่2
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ ประถมศึกษาปีที่2ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ ประถมศึกษาปีที่2
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ ประถมศึกษาปีที่2pornthip7890
 
มารู้จักคอมพิวเตอร์กันเถอะ11
มารู้จักคอมพิวเตอร์กันเถอะ11มารู้จักคอมพิวเตอร์กันเถอะ11
มารู้จักคอมพิวเตอร์กันเถอะ11pornthip7890
 
โปรแกรม Microsoft word ป4
โปรแกรม Microsoft word ป4โปรแกรม Microsoft word ป4
โปรแกรม Microsoft word ป4pornthip7890
 
ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์pornthip7890
 
ข้อมูลและแหล่งข้อมูล
ข้อมูลและแหล่งข้อมูลข้อมูลและแหล่งข้อมูล
ข้อมูลและแหล่งข้อมูลpornthip7890
 
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ ประถมศึกษาปีที่2
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ ประถมศึกษาปีที่2ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ ประถมศึกษาปีที่2
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ ประถมศึกษาปีที่2pornthip7890
 
เรื่อง วิชา คอมพิวเตอร์ Comlek
เรื่อง วิชา คอมพิวเตอร์ Comlekเรื่อง วิชา คอมพิวเตอร์ Comlek
เรื่อง วิชา คอมพิวเตอร์ Comlekpornthip7890
 
เรื่อง มาพิมพ์เอกสารกันเถอะ
เรื่อง มาพิมพ์เอกสารกันเถอะเรื่อง มาพิมพ์เอกสารกันเถอะ
เรื่อง มาพิมพ์เอกสารกันเถอะpornthip7890
 
เรื่อง โปรแกรมช่วยสอน Cai computer part
เรื่อง โปรแกรมช่วยสอน Cai computer partเรื่อง โปรแกรมช่วยสอน Cai computer part
เรื่อง โปรแกรมช่วยสอน Cai computer partpornthip7890
 
เรื่อง ทำความรู้จักแป้นพิมพ์
เรื่อง ทำความรู้จักแป้นพิมพ์เรื่อง ทำความรู้จักแป้นพิมพ์
เรื่อง ทำความรู้จักแป้นพิมพ์pornthip7890
 
มารู้จักคอมพิวเตอร์กันเถอะ11
มารู้จักคอมพิวเตอร์กันเถอะ11มารู้จักคอมพิวเตอร์กันเถอะ11
มารู้จักคอมพิวเตอร์กันเถอะ11pornthip7890
 
โปรแกรม Microsoft word ป4
โปรแกรม Microsoft word ป4โปรแกรม Microsoft word ป4
โปรแกรม Microsoft word ป4pornthip7890
 
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์pornthip7890
 
ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์pornthip7890
 
คอมพิวเตอร์ ฮาร์แวร์
คอมพิวเตอร์ ฮาร์แวร์คอมพิวเตอร์ ฮาร์แวร์
คอมพิวเตอร์ ฮาร์แวร์pornthip7890
 
ข้อมูลและแหล่งข้อมูล
ข้อมูลและแหล่งข้อมูลข้อมูลและแหล่งข้อมูล
ข้อมูลและแหล่งข้อมูลpornthip7890
 

More from pornthip7890 (20)

ประวัติส่วนตัว นางสางวพรทิพย์ เสมอใจ
ประวัติส่วนตัว นางสางวพรทิพย์ เสมอใจประวัติส่วนตัว นางสางวพรทิพย์ เสมอใจ
ประวัติส่วนตัว นางสางวพรทิพย์ เสมอใจ
 
ประวัติส่วนตัว
ประวัติส่วนตัวประวัติส่วนตัว
ประวัติส่วนตัว
 
ส่วนประกอบหลักและการใช้งานคอมพิวเตอร์ ป3
ส่วนประกอบหลักและการใช้งานคอมพิวเตอร์ ป3ส่วนประกอบหลักและการใช้งานคอมพิวเตอร์ ป3
ส่วนประกอบหลักและการใช้งานคอมพิวเตอร์ ป3
 
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ ประถมศึกษาปีที่2
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ ประถมศึกษาปีที่2ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ ประถมศึกษาปีที่2
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ ประถมศึกษาปีที่2
 
มารู้จักคอมพิวเตอร์กันเถอะ11
มารู้จักคอมพิวเตอร์กันเถอะ11มารู้จักคอมพิวเตอร์กันเถอะ11
มารู้จักคอมพิวเตอร์กันเถอะ11
 
โปรแกรม Microsoft word ป4
โปรแกรม Microsoft word ป4โปรแกรม Microsoft word ป4
โปรแกรม Microsoft word ป4
 
ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์
 
ข้อมูลและแหล่งข้อมูล
ข้อมูลและแหล่งข้อมูลข้อมูลและแหล่งข้อมูล
ข้อมูลและแหล่งข้อมูล
 
Ms power point
Ms power pointMs power point
Ms power point
 
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ ประถมศึกษาปีที่2
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ ประถมศึกษาปีที่2ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ ประถมศึกษาปีที่2
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ ประถมศึกษาปีที่2
 
เรื่อง วิชา คอมพิวเตอร์ Comlek
เรื่อง วิชา คอมพิวเตอร์ Comlekเรื่อง วิชา คอมพิวเตอร์ Comlek
เรื่อง วิชา คอมพิวเตอร์ Comlek
 
เรื่อง มาพิมพ์เอกสารกันเถอะ
เรื่อง มาพิมพ์เอกสารกันเถอะเรื่อง มาพิมพ์เอกสารกันเถอะ
เรื่อง มาพิมพ์เอกสารกันเถอะ
 
เรื่อง โปรแกรมช่วยสอน Cai computer part
เรื่อง โปรแกรมช่วยสอน Cai computer partเรื่อง โปรแกรมช่วยสอน Cai computer part
เรื่อง โปรแกรมช่วยสอน Cai computer part
 
เรื่อง ทำความรู้จักแป้นพิมพ์
เรื่อง ทำความรู้จักแป้นพิมพ์เรื่อง ทำความรู้จักแป้นพิมพ์
เรื่อง ทำความรู้จักแป้นพิมพ์
 
มารู้จักคอมพิวเตอร์กันเถอะ11
มารู้จักคอมพิวเตอร์กันเถอะ11มารู้จักคอมพิวเตอร์กันเถอะ11
มารู้จักคอมพิวเตอร์กันเถอะ11
 
โปรแกรม Microsoft word ป4
โปรแกรม Microsoft word ป4โปรแกรม Microsoft word ป4
โปรแกรม Microsoft word ป4
 
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
 
ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์
 
คอมพิวเตอร์ ฮาร์แวร์
คอมพิวเตอร์ ฮาร์แวร์คอมพิวเตอร์ ฮาร์แวร์
คอมพิวเตอร์ ฮาร์แวร์
 
ข้อมูลและแหล่งข้อมูล
ข้อมูลและแหล่งข้อมูลข้อมูลและแหล่งข้อมูล
ข้อมูลและแหล่งข้อมูล
 

Network

  • 1. การเชื่อมโยงเครือข่าย • จุดประสงค์การเชือมโยงคอมพิวเตอร์เข้าเป็นเครือ ่ ข่าย คือ ต้องการให้คอมพิวเตอร์สามรถสื่อสารและ แลกเปลียนข้อมูลระหว่างกันได้ ่ • เครือข่ายคอมพิวเตอร์เริ่มจากเครือข่ายขนาดเล็ก ภายในองค์กรที่เชื่อมโยงกันภายใต้สภาพพื้นที่ จำากัดซึงเรียกว่า เครือข่ายเฉพาะที่ (LAN : Local ่ Area Network) • เครือข่ายที่ครอบคลุมพื้นที่ระดับเมือง เรียกว่า MAN (Metropolitan Area Network) • เมื่อเชือมเครือข่ายย่อยเข้าด้วยกันและขยาย ่ ขอบเขตครอบคลุมพื้นที่ระดับเมือง หรือระหว่าง ประเทศ ก็จะเรียกว่ชา เครือข่โรงเรียนมหิดทีทยานุารณ์ (WAN: หมวดวิ าคอมพิวเตอร์ ายพืน ลวิ ่กว้ ส ง ้ Wide Area Network)
  • 2. Local Area Network : LAN • เครือขายเฉพาะที่หรือแลนมีลักษณะโดย ทั่วไปคือ มีอัตราการส่งข้อมูลสูงและมักมีรัศมี เครือข่ายครอบคลุมระยะทางประมาณ 5 กิโลเมตร • ต่อไปนี้จะกล่าวถึงแลนตามมาตรฐานที่ กำาหนดโดย IEEE (Institute of Electrical and Electronics Engineers) หมวดวิชาคอมพิวเตอร์ โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์
  • 3. LAN ตามข้อกำาหนดของ IEEE • IEEE กำาหนดเครือข่ายเฉพาะที่โดยใช้ตวเลขั 802 ตามด้วยตัวเลขย่อยเป็นรหัสประจำาแต่ละ มาตรฐาน ตัวอย่างมาตรฐานที่เป็นที่รู้จักแพร่ หลาย เช่น – IEEE 802.3 หรืออีเทอร์เน็ต – IEEE 802.4 หรือโทเค็นบัส – IEEE 802.5 หรือโทเค็นริง – FDDI : Fiber Distributed Data Interface หมวดวิชาคอมพิวเตอร์ โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์
  • 4. IEEE 802.3 • IEEE 802.3 หรืออีเทอร์เน็ต (Ethernet) เป็น เครือข่ายที่สถานีในเครือข่ายอาจมีโทโปโลยี แบบบัสหรือแบบดาว • IEEE ได้กำาหนดมาตรฐานอีเทอร์เน็ตซึ่ง ทำางานที่ความเร็วที่ 10 เมกะบิตต่อวินาทีไว้ หลายประเภทตามชนิดสายสัญญาณ เช่น 10Base5, 10 Base2, 10BaseT, 100BaseTX, 100BaseFX, 1000BaseT เป็นต้น หมวดวิชาคอมพิวเตอร์ โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์
  • 5. การเลือกใช้ระบบ LAN (Selection Issues) • การตัดสินใจที่จะเลือกใช้ระบบ LAN ของ แต่ละหน่วยงาน นับเป็นสิงหนึ่งที่มีความ่ สำาคัญ ซึ่งผู้ใช้จำาเป็นต้องพิจารณาอย่าง รอบคอบถึงปัญหาของระบบเดิม และความ จำาเป็นที่จะต้องเชือมต่อเป็นระบบ LAN ่ ตลอดจนประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ • พิจารณาว่าจะเลือกใช้ LAN แบบใดจึงจะ เหมาะสมกับหน่วยงาน โดยพิจารณาตั้งแต่ ระดับฮาร์ดแวร์คือตัววกลางที่จดำาเป็นรณ์ องใช้ ไป หมวดวิชาคอมพิ เตอร์ โรงเรียนมหิ ลวิทยานุส ต้
  • 6. การเลือกใช้ระบบ LAN (Selection Issues) • อย่างไรก็ตาม การเลือกใช้ระบบ LAN อาจ จะไม่ใช่คำาตอบ หรือเป็นวิธการแก้ปัญหาที่ดี ี ที่สดสำาหรับทุกหน่วยงาน เนื่องจากสิง ที่ตาม ุ ่ มาของการเลือกใช้ระบบ LAN คือค่าใช้จ่าย • ค่าใช้จ่ายในที่นี้หมายถึงค่าใช้จ่ายสำาหรับ อุปกรณ์ต่าง ๆ และรวมไปถึงค่าใช้จ่ายใจการ ดูแลรักษาอีกด้วย • ดังนันผู้ใช้จำาเป็นต้องมีการพิจารณาอย่าง ้ รอบคอบถึงความต้องการทีนมหิท้จยานุสรณ์ หมวดวิชาคอมพิวเตอร์ โรงเรีย ่แ ดลวิท ริง ตลอดจน
  • 7. Protocol • การเชื่อมเครือข่ายต่างฮาร์ดแวร์จำาเป็น ต้องกำาหนดข้อตกลงร่วม หรือ โปรโตคอล เพือให้คอมพิวเตอร์สอสาร ่ ื่ กันตามข้อกำาหนด • โปรโตคอลในความหมายของระบบ เครือข่าย คือ ข้อกำาหนดการสื่อสาร คอมพิวเตอร์หรืออุปกรณ์เครือข่ายจะมี ซอฟต์แวร์ที่ปฏิบัติงานตามโปรโตคอลที่ หมวดวิชาคอมพิวเตอร์ โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์
  • 8. Protocol • เช่น หากข้อมูลที่ขนถ่ายมีข้อผิดพลาด คอมพิวเตอร์จะดำาเนินการตามแบบแผน ในโปรโตคอล เช่นส่งข้อมูลซำ้าใหม่ • หรือในระบบเครือข่ายขนาดใหญ่อาจมี เส้นทางเชือมโยงระหว่างกันได้เป็น ่ จำานวนมาก ข้อมูลที่สงออกไปอาจไม่ได้ ่ ใช้เส้นทางเดียวกันตลอด ข้อมูลที่ส่ง ออกไปก่อนอาจไปถึงปลายทางช้ากว่า หมวดวิชาคอมพิวเตอร์ โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์
  • 9. 7 Layers of OSI Model หมวดวิชาคอมพิวเตอร์ โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์
  • 10. SI Model 7 layers ISO ได้กำาหนด รูปแบบโครงสร้าง มาตรฐานสากล สำาหรับการติดต่อ สื่อสารระหว่างเครือง ่ คอมพิวเตอร์ไว้ เรียก ว่า Open Systems Interconnection ซึ่งมาอยู่ 7 ชั้นสื่อสาร วเตอร์ โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ หมวดวิชาคอมพิ
  • 11. Physical Layer • เป็นชันระดับล่างสุด ้ • ทำาหน้าที่กำาหนดวิธีควบคุมการรับ และส่งข้อมูลระหว่างเครื่อง คอมพิวเตอร์ในระดับบิต เช่น การ ส่งบิต 0 จะแทนด้วยกระแสไฟฟ้ากี่ โวลต์ สายสือสัญญาณมีกี่เส้น ่ แต่ละเส้นใช้เพื่ออะไร เป็นต้น หมวดวิชาคอมพิวเตอร์ โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์
  • 12. Data Link Layer • หน้าทีหลักคือ รวบรวมข้อมูลจากชั้น ่ Physical มาตรวจสอบความถูกต้อง ของข้อมูล โดยการเพิ่มข้อมูล สำาหรับการตรวจสอบติดไว้กับข้อมูล • ตรวจสอบข้อมูลที่เสียหายหรือ สูญหาย แล้วแจ้งให้ฝั่งผู้สงมีการส่ง ่ ข้อมูลชุดเดิมกลับมาใหม่ • ตรวจสอบข้อมูลที่ซำ้าและกำาจัดออก หมวดวิชาคอมพิวเตอร์ โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์
  • 13. Network Layer • ควบคุมการติดต่อรับ-ส่งข้อมูล ระหว่างเครื่องคอมพิวเตอร์ตางๆ ใน ่ ระบบเครือข่ายให้เป็นไปด้วยความ เรียบร้อย • กำาหนดเส้นทางเดินของข้อมูลจากผู้ ส่งไปยังเครื่องปลายทาง หมวดวิชาคอมพิวเตอร์ โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์
  • 14. Transport Layer • รับข้อมูลจากชั้น Session โดยถ้า ข้อมูลมีปริมาณมากก็จะทำาการแบ่ง ข้อมูลออกเป็นแพ็กเก็ตหลายๆแพ็ก เก็ต แล้วจึงส่งข้อมูลทังชุดต่อไปให้ ้ โปรแกรมในชั้น Network • ควบคุมการไหลของข้อมูล (flow control) เพื่อทีจะควบคุมการรับและ ่ ส่งข้อมูล เช่นในกรณีทผู้ส่งจัดการ ี่ หมวดวิชาคอมพิวเตอร์ โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์
  • 15. Session Layer • เป็นผู้กำาหนดวิธีการควบคุมการเชือมต่อ่ ระหว่างผูรับและผูส่ง ้ ้ • บริหารการแลกเปลี่ยนข่าวสาร ได้แก่ การ กำาหนดให้การแลกเปลี่ยนเป็นไปแบบสอง ทางในเวลาเดียวกัน (full duplex) หรือถ้า เป็นการสื่อสารแบบทางเดียวแต่สลับทิศ ได้ (half duplex) ก็จะต้องเป็นผู้จัดลำาดับ ให้ทั้งผู้รับและผู้ส่งทำาการส่งข้อมูลได้ หมวดวิชาคอมพิวเตอร์ โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์
  • 16. Presentation Layer • การใช้รหัสแทนข้อมูล เช่น รหัส ASCII หรือ Unicode • เข้ารหัส และ ถอดรหัส หมวดวิชาคอมพิวเตอร์ โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์
  • 17. Application Layer • เป็นตัวกลาง หรือ ส่วนติดต่อ ระหว่างผูใช้โปรแกรมประยุกต์ ้ กับโปรแกรมใน 6 ชันทีเหลือ ้ ่ หมวดวิชาคอมพิวเตอร์ โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์
  • 18. I Model 7 layers หมวดวิชาคอมพิวเตอร์ โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์
  • 21. Topology หมายถึงรูปแบบการเชื่อมต่อเครือ ข่าย ในที่นหมายถึงการนำาเอาคอมพิวเตอร์หรือ ี้ อุปกรณ์อื่น ๆ มาเชือมต่อกัน โดยพยายามลด ่ จำานวนสายที่ต้องใช้ให้มากที่สด วิธีที่นิยมใช้ได้ ุ แก่ โทโปโลยีรูปแบบดาว (Star), ดบัส(Bus), หมวดวิชาคอมพิวเตอร์ โรงเรียนมหิ ลวิทยานุสรณ์
  • 23. อุปกรณ์เครือข่าย หมวดวิชาคอมพิวเตอร์ โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์
  • 24. HUB Hub เป็นอุปกรณ์เชื่อมสถานีเครือข่ายที่ใช้ โทโปโลยีแบบดาว เช่น อีเทอร์เน็ต 10BaseT ฮับมีพอร์ตได้หลายแบบ เช่น พอร์ต RJ-45 ใช้กับสายคู่ตีเกลียวในเครือ ข่าย 10BaseT หรือพอร์ตไฟเบอร์ใช้กับ หมวดวิชาคอมพิวเตอร์ โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์
  • 26. SWITCH เป็นอุปกรณ์กระจายและรวมสัญญาณ ที่มาจากอุปกรณ์รบส่งหลายสถานีเช่นเดีย ั วกับฮับ แต่ จะไม่กระจายไปยังทุกสถานีเห มือนกับฮับ โดยสวิตช์จะรับกลุ่มข้อมูลมา ตรวจสอบก่อนแล้วดูวาแอดเดรสของ ่ สถานี(คอมพิวเตอร์)ปลายทางไปที่ใด หมวดวิชาคอมพิวเตอร์ โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์
  • 27. ROUTER เราเตอร์เป็นอุปกรณ์ที่ทำางานในระดับ ชั้น Network เราเตอร์ทำางานร่วมกับ ฮาร์ดแวร์ในระดับ Data link ได้หลายรูป แบบ หน้าที่ของเราเตอร์คือจัดแบ่งเครือ ข่ายและเลือกเส้นทางที่เหมาะสมเพือนำาส่ง ่ แพ็กเก็ต เราเตอร์จะป้องกันการบรอดคาสต์ หมวดวิชาคอมพิวเตอร์ โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์
  • 30. เราเตอร์ประกอบด้วยหลายอินเทอร์เฟส เพือเชื่อมต่อกับเครือข่ายต่างชนิดเข้าด้วยกัน ่ ได้ ตัวอย่างเช่น อินเทอร์เฟสอีเทอร์เน็ต โทเค็นริง เอฟดีดีไอ เอทีเอ็ม เป็นต้น หมวดวิชาคอมพิวเตอร์ โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์