SlideShare a Scribd company logo
1 of 9
Download to read offline
การตรวจสอบสามเส้า (triangulation)
คืออะไรในการวิจัย (Research)
การตรวจสอบสามเส้า (triangulation)
คืออะไรในการวิจัย (Research)
ผู้วิจัยหรืออาจารย์สอนในระดับ ป.โท ป.เอก มักอ้าง
คาว่า "การตรวจสอบสามเส้า" ตลอดเวลา แต่ไม่มีความ
ชัดเจน บางคนก็เข้าใจว่าเป็นหลัก 3 ประการของการ
ตรวจสอบคุณภาพงานวิจัย และใช้เฉพาะการวิจัยเชิง
คุณภาพ (qualitative research)
Triangulation หมายถึง
การเปรียบเทียบข้อค้นพบ (Finding) ของ
ปรากฏการณ์ที่ทาการศึกษา (Phenomenon) จากแหล่ง
และมุมมองที่แตกต่างกัน นักวิจัยจานวนมากคาดหมาย
(Assume) ว่า Triangulation เป็นแนวทางการยืนยัน
ความน่าเชื่อถือ (Credibility, validity) ของข้อมูลหรือ
สิ่งที่ค้นพบ
ข้อเท็จจริง คือ การตรวจสอบสามเส้า เป็น
การใช้ระเบียบวิธีการวิจัยหลายอย่างในการศึกษา
ปรากฏการณ์เดียวกัน ไม่จาเป็นต้องมีสามข้อ มี
มากกว่านี้ก็ได้ เช่น
- ระเบียบวิธีวิจัย (research method triangulation)
- ทฤษฎี (theoretical triangulation)
- ผู้วิจัย (researcher triangulation)
- ข้อมูล (data triangulation)
การตรวจสอบสามเส้า นามาใช้ในการตรวจสอบคุณภาพ
งานวิจัยทั้งการวิจัยเชิงปริมาณ (quantitative research) และการ
วิจัยเชิงคุณภาพ (qualitative research) ในการศึกษาเชิงปริมาณ
(quantitative) เป็นการตรวจสอบความถูกต้อง (validation)
การศึกษาเชิงคุณภาพเป็นการการหาคาตอบ เป็นกลยุทธการใช้
วิธีการที่เหมาะสมเพื่อหาความน่าเชื่อถือ (credibility) ของการ
วิเคราะห์เชิงคุณภาพ เป็นวิธีการทางเลือกของเกณฑ์พิจารณา
ปกติเช่นความเที่ยงตรง (reliability) และความถูกต้อง (validity)
การตรวจสอบสามเส้าในการศึกษาเชิงคุณภาพ เป็น
กระบวนการที่ถูกนามาใช้ในการสังคมศาสตร์ ด้วย การรวบรวม
วิธีการใช้ผู้สังเกต (observer) ทฤษฎี (theory) วิธีการ (methods)
และข้อมูลเชิงประจักษ์ (empirical material) ที่หลายหลาย
ซ้าซ้อนกัน นักวิจัยหวังว่าจะขจัดจุดด้อยหรือความลาเอียงภายใน
และปัญหาที่เกิดจากการใช้วิธีการอย่างเดียวและการใช้ทฤษฎี
เดียวในการศึกษา
รูปแบบของ Triangulation มี 7 รูปแบบได้แก่
1. Data Triangulation หมายถึงการเปรียบเทียบและตรวจสอบ
ความแน่นอนของข้อมูลโดยนาข้อมูลที่ได้จากแหล่งต่างๆ มา
เปรียบเทียบ
2. Multiple Investigator Triangulation หมายถึง การใช้
นักวิจัยหลายคนในสนามแทนการใช้นักวิจัยเพียงคนเดียวเก็บ
ข้อมูลเก็บข้อมูลเดียวกันในสภาวะเดียวกัน
รูปแบบของ Triangulation มี 7 รูปแบบได้แก่ (ต่อ)
3. Multiple Analyst Triangulation หมายถึง การใช้ผู้วิเคราะห์
ข้อมูลที่เก็บจากสนามมากกว่า 2 คนขึ้นไป ต่างคนต่างวิเคราะห์
ให้ได้ข้อค้นพบแล้วนาข้อค้นพบมาเปรียบเทียบ
4. Reviews Triangulation หมายถึง การให้บุคคลต่าง ๆ ที่ไม่ใช่
นักวิจัยทาการทบทวนข้อค้นพบจากการวิเคราะห์ของคณะ
นักวิจัย
รูปแบบของ Triangulation มี 7 รูปแบบได้แก่ (ต่อ)
5. Methods Triangulation หมายถึงการเปรียบเทียบข้อมูลที่
ได้มาจากการเก็บข้อมูลหลายวิธีการ
6. Theory Triangulation หมายถึง การใช้มุมมองของทฤษฎี
ต่างๆมาพิจารณาข้อมูลชุดเดียวกัน
7. Interdisciplinary Triangulation หมายถึง การใช้สหวิทยา
การมาร่วมวาทกรรม อธิบายข้อค้นพบต่างๆ

More Related Content

What's hot

บทที่ 7 การสร้างเว็บไซต์อีคอมเมิร์ซ
บทที่ 7 การสร้างเว็บไซต์อีคอมเมิร์ซบทที่ 7 การสร้างเว็บไซต์อีคอมเมิร์ซ
บทที่ 7 การสร้างเว็บไซต์อีคอมเมิร์ซTeetut Tresirichod
 
ทฤษฎีพัฒนาการทางสติปัญญาของเพียเจต์
ทฤษฎีพัฒนาการทางสติปัญญาของเพียเจต์ทฤษฎีพัฒนาการทางสติปัญญาของเพียเจต์
ทฤษฎีพัฒนาการทางสติปัญญาของเพียเจต์khanidthakpt
 
ความคิดสร้างสรรค์
ความคิดสร้างสรรค์ความคิดสร้างสรรค์
ความคิดสร้างสรรค์Jintana Kujapan
 
คำถามพร้อมตอบ อิเหนา-ตอน-ศึกกะหมังกุหนิง
คำถามพร้อมตอบ อิเหนา-ตอน-ศึกกะหมังกุหนิงคำถามพร้อมตอบ อิเหนา-ตอน-ศึกกะหมังกุหนิง
คำถามพร้อมตอบ อิเหนา-ตอน-ศึกกะหมังกุหนิงWan Wan
 
แบบฝึกทักษะเรื่อง การแต่งโคลงสี่สุภาพ ชุดที่ ๑๐ เรื่อง กลวิธีในการแต่งโคลง...
แบบฝึกทักษะเรื่อง  การแต่งโคลงสี่สุภาพ  ชุดที่ ๑๐  เรื่อง กลวิธีในการแต่งโคลง...แบบฝึกทักษะเรื่อง  การแต่งโคลงสี่สุภาพ  ชุดที่ ๑๐  เรื่อง กลวิธีในการแต่งโคลง...
แบบฝึกทักษะเรื่อง การแต่งโคลงสี่สุภาพ ชุดที่ ๑๐ เรื่อง กลวิธีในการแต่งโคลง...Decha Sirigulwiriya
 
PPT โน้มน้าวใจ
PPT โน้มน้าวใจPPT โน้มน้าวใจ
PPT โน้มน้าวใจKruBowbaro
 
หน้าปก บทคัดย่อ สารบัญ ภาคผนวก บรรณานุกรม Is
หน้าปก บทคัดย่อ สารบัญ ภาคผนวก บรรณานุกรม Isหน้าปก บทคัดย่อ สารบัญ ภาคผนวก บรรณานุกรม Is
หน้าปก บทคัดย่อ สารบัญ ภาคผนวก บรรณานุกรม IsSasiyada Promsuban
 
การสร้างเครื่องมือวัดคุณลักษณะ
การสร้างเครื่องมือวัดคุณลักษณะการสร้างเครื่องมือวัดคุณลักษณะ
การสร้างเครื่องมือวัดคุณลักษณะNU
 
การค้าและความสัมพันธ์ระหว่างประเทศสมัยอยุธยา
การค้าและความสัมพันธ์ระหว่างประเทศสมัยอยุธยาการค้าและความสัมพันธ์ระหว่างประเทศสมัยอยุธยา
การค้าและความสัมพันธ์ระหว่างประเทศสมัยอยุธยาThaiway Thanathep
 
บทอาศิรวาท เฉลิมพระเกียรติ รัชกาลที่ ๑๐
บทอาศิรวาท เฉลิมพระเกียรติ รัชกาลที่ ๑๐บทอาศิรวาท เฉลิมพระเกียรติ รัชกาลที่ ๑๐
บทอาศิรวาท เฉลิมพระเกียรติ รัชกาลที่ ๑๐Theeraphisith Candasaro
 
วิธีการสอนแบบกลุ่มย่อย
วิธีการสอนแบบกลุ่มย่อยวิธีการสอนแบบกลุ่มย่อย
วิธีการสอนแบบกลุ่มย่อยMeAw N'Fah
 
การภาษีอากร 1
การภาษีอากร 1การภาษีอากร 1
การภาษีอากร 1Athita Vivatpinyo
 
เอกสารประกอบการพิจารณาส่งเสริมและคัดเลือกนวัตกรรมสร้างสรรค์คนดี
เอกสารประกอบการพิจารณาส่งเสริมและคัดเลือกนวัตกรรมสร้างสรรค์คนดีเอกสารประกอบการพิจารณาส่งเสริมและคัดเลือกนวัตกรรมสร้างสรรค์คนดี
เอกสารประกอบการพิจารณาส่งเสริมและคัดเลือกนวัตกรรมสร้างสรรค์คนดีSophinyaDara
 
บทที่ 7 การเขียนบทร้อยกรอง
บทที่ 7 การเขียนบทร้อยกรองบทที่ 7 การเขียนบทร้อยกรอง
บทที่ 7 การเขียนบทร้อยกรองAj.Mallika Phongphaew
 

What's hot (20)

บทที่ 7 การสร้างเว็บไซต์อีคอมเมิร์ซ
บทที่ 7 การสร้างเว็บไซต์อีคอมเมิร์ซบทที่ 7 การสร้างเว็บไซต์อีคอมเมิร์ซ
บทที่ 7 การสร้างเว็บไซต์อีคอมเมิร์ซ
 
ทฤษฎีพัฒนาการทางสติปัญญาของเพียเจต์
ทฤษฎีพัฒนาการทางสติปัญญาของเพียเจต์ทฤษฎีพัฒนาการทางสติปัญญาของเพียเจต์
ทฤษฎีพัฒนาการทางสติปัญญาของเพียเจต์
 
ความคิดสร้างสรรค์
ความคิดสร้างสรรค์ความคิดสร้างสรรค์
ความคิดสร้างสรรค์
 
คำถามพร้อมตอบ อิเหนา-ตอน-ศึกกะหมังกุหนิง
คำถามพร้อมตอบ อิเหนา-ตอน-ศึกกะหมังกุหนิงคำถามพร้อมตอบ อิเหนา-ตอน-ศึกกะหมังกุหนิง
คำถามพร้อมตอบ อิเหนา-ตอน-ศึกกะหมังกุหนิง
 
แบบฝึกทักษะเรื่อง การแต่งโคลงสี่สุภาพ ชุดที่ ๑๐ เรื่อง กลวิธีในการแต่งโคลง...
แบบฝึกทักษะเรื่อง  การแต่งโคลงสี่สุภาพ  ชุดที่ ๑๐  เรื่อง กลวิธีในการแต่งโคลง...แบบฝึกทักษะเรื่อง  การแต่งโคลงสี่สุภาพ  ชุดที่ ๑๐  เรื่อง กลวิธีในการแต่งโคลง...
แบบฝึกทักษะเรื่อง การแต่งโคลงสี่สุภาพ ชุดที่ ๑๐ เรื่อง กลวิธีในการแต่งโคลง...
 
PPT โน้มน้าวใจ
PPT โน้มน้าวใจPPT โน้มน้าวใจ
PPT โน้มน้าวใจ
 
หน้าปก บทคัดย่อ สารบัญ ภาคผนวก บรรณานุกรม Is
หน้าปก บทคัดย่อ สารบัญ ภาคผนวก บรรณานุกรม Isหน้าปก บทคัดย่อ สารบัญ ภาคผนวก บรรณานุกรม Is
หน้าปก บทคัดย่อ สารบัญ ภาคผนวก บรรณานุกรม Is
 
การสร้างเครื่องมือวัดคุณลักษณะ
การสร้างเครื่องมือวัดคุณลักษณะการสร้างเครื่องมือวัดคุณลักษณะ
การสร้างเครื่องมือวัดคุณลักษณะ
 
ปก
ปกปก
ปก
 
การค้าและความสัมพันธ์ระหว่างประเทศสมัยอยุธยา
การค้าและความสัมพันธ์ระหว่างประเทศสมัยอยุธยาการค้าและความสัมพันธ์ระหว่างประเทศสมัยอยุธยา
การค้าและความสัมพันธ์ระหว่างประเทศสมัยอยุธยา
 
Sicience project
Sicience projectSicience project
Sicience project
 
บทอาศิรวาท เฉลิมพระเกียรติ รัชกาลที่ ๑๐
บทอาศิรวาท เฉลิมพระเกียรติ รัชกาลที่ ๑๐บทอาศิรวาท เฉลิมพระเกียรติ รัชกาลที่ ๑๐
บทอาศิรวาท เฉลิมพระเกียรติ รัชกาลที่ ๑๐
 
การปฏิวัติอุตสาหกรรม
การปฏิวัติอุตสาหกรรมการปฏิวัติอุตสาหกรรม
การปฏิวัติอุตสาหกรรม
 
วิธีการสอนแบบกลุ่มย่อย
วิธีการสอนแบบกลุ่มย่อยวิธีการสอนแบบกลุ่มย่อย
วิธีการสอนแบบกลุ่มย่อย
 
การภาษีอากร 1
การภาษีอากร 1การภาษีอากร 1
การภาษีอากร 1
 
ลิลิตตะเลงพ่าย
ลิลิตตะเลงพ่ายลิลิตตะเลงพ่าย
ลิลิตตะเลงพ่าย
 
แนวข้อสอบ 100 ข้อ
แนวข้อสอบ  100  ข้อแนวข้อสอบ  100  ข้อ
แนวข้อสอบ 100 ข้อ
 
เอกสารประกอบการพิจารณาส่งเสริมและคัดเลือกนวัตกรรมสร้างสรรค์คนดี
เอกสารประกอบการพิจารณาส่งเสริมและคัดเลือกนวัตกรรมสร้างสรรค์คนดีเอกสารประกอบการพิจารณาส่งเสริมและคัดเลือกนวัตกรรมสร้างสรรค์คนดี
เอกสารประกอบการพิจารณาส่งเสริมและคัดเลือกนวัตกรรมสร้างสรรค์คนดี
 
หลักการจัดการ.
หลักการจัดการ.หลักการจัดการ.
หลักการจัดการ.
 
บทที่ 7 การเขียนบทร้อยกรอง
บทที่ 7 การเขียนบทร้อยกรองบทที่ 7 การเขียนบทร้อยกรอง
บทที่ 7 การเขียนบทร้อยกรอง
 

More from iamthesisTH

Research problems
Research problemsResearch problems
Research problemsiamthesisTH
 
Research relations
Research relationsResearch relations
Research relationsiamthesisTH
 
Research conceptual model
Research conceptual modelResearch conceptual model
Research conceptual modeliamthesisTH
 
Qualitative research model1
Qualitative research model1Qualitative research model1
Qualitative research model1iamthesisTH
 
Qualitative research error5
Qualitative research error5Qualitative research error5
Qualitative research error5iamthesisTH
 
Qualitative research error4
Qualitative research error4Qualitative research error4
Qualitative research error4iamthesisTH
 
Qualitative research error3
Qualitative research error3Qualitative research error3
Qualitative research error3iamthesisTH
 
Qualitative research error2
Qualitative research error2Qualitative research error2
Qualitative research error2iamthesisTH
 
Qualitative research error1
Qualitative research error1Qualitative research error1
Qualitative research error1iamthesisTH
 
Probability sampling with known types
Probability sampling with known typesProbability sampling with known types
Probability sampling with known typesiamthesisTH
 
Questionnaire procedure
Questionnaire procedureQuestionnaire procedure
Questionnaire procedureiamthesisTH
 
Questionnaire and interview1 4
Questionnaire and interview1 4Questionnaire and interview1 4
Questionnaire and interview1 4iamthesisTH
 
Quantitative research process
Quantitative research processQuantitative research process
Quantitative research processiamthesisTH
 
Qualitative research process2
Qualitative research process2Qualitative research process2
Qualitative research process2iamthesisTH
 
Organizational management concepts 7s mc kinsey
Organizational management concepts 7s mc kinseyOrganizational management concepts 7s mc kinsey
Organizational management concepts 7s mc kinseyiamthesisTH
 
Organizational management concepts 4M
Organizational management concepts 4MOrganizational management concepts 4M
Organizational management concepts 4MiamthesisTH
 
Measurement and data presentation
Measurement and data presentationMeasurement and data presentation
Measurement and data presentationiamthesisTH
 

More from iamthesisTH (20)

Research problems
Research problemsResearch problems
Research problems
 
Research steps
Research stepsResearch steps
Research steps
 
Research relations
Research relationsResearch relations
Research relations
 
Research design
Research designResearch design
Research design
 
Research conceptual model
Research conceptual modelResearch conceptual model
Research conceptual model
 
Qualitative research model1
Qualitative research model1Qualitative research model1
Qualitative research model1
 
Qualitative research error5
Qualitative research error5Qualitative research error5
Qualitative research error5
 
Qualitative research error4
Qualitative research error4Qualitative research error4
Qualitative research error4
 
Qualitative research error3
Qualitative research error3Qualitative research error3
Qualitative research error3
 
Qualitative research error2
Qualitative research error2Qualitative research error2
Qualitative research error2
 
Qualitative research error1
Qualitative research error1Qualitative research error1
Qualitative research error1
 
Probability sampling with known types
Probability sampling with known typesProbability sampling with known types
Probability sampling with known types
 
Reliability
ReliabilityReliability
Reliability
 
Questionnaire procedure
Questionnaire procedureQuestionnaire procedure
Questionnaire procedure
 
Questionnaire and interview1 4
Questionnaire and interview1 4Questionnaire and interview1 4
Questionnaire and interview1 4
 
Quantitative research process
Quantitative research processQuantitative research process
Quantitative research process
 
Qualitative research process2
Qualitative research process2Qualitative research process2
Qualitative research process2
 
Organizational management concepts 7s mc kinsey
Organizational management concepts 7s mc kinseyOrganizational management concepts 7s mc kinsey
Organizational management concepts 7s mc kinsey
 
Organizational management concepts 4M
Organizational management concepts 4MOrganizational management concepts 4M
Organizational management concepts 4M
 
Measurement and data presentation
Measurement and data presentationMeasurement and data presentation
Measurement and data presentation
 

Trianglulation

  • 2. การตรวจสอบสามเส้า (triangulation) คืออะไรในการวิจัย (Research) ผู้วิจัยหรืออาจารย์สอนในระดับ ป.โท ป.เอก มักอ้าง คาว่า "การตรวจสอบสามเส้า" ตลอดเวลา แต่ไม่มีความ ชัดเจน บางคนก็เข้าใจว่าเป็นหลัก 3 ประการของการ ตรวจสอบคุณภาพงานวิจัย และใช้เฉพาะการวิจัยเชิง คุณภาพ (qualitative research)
  • 3. Triangulation หมายถึง การเปรียบเทียบข้อค้นพบ (Finding) ของ ปรากฏการณ์ที่ทาการศึกษา (Phenomenon) จากแหล่ง และมุมมองที่แตกต่างกัน นักวิจัยจานวนมากคาดหมาย (Assume) ว่า Triangulation เป็นแนวทางการยืนยัน ความน่าเชื่อถือ (Credibility, validity) ของข้อมูลหรือ สิ่งที่ค้นพบ
  • 4. ข้อเท็จจริง คือ การตรวจสอบสามเส้า เป็น การใช้ระเบียบวิธีการวิจัยหลายอย่างในการศึกษา ปรากฏการณ์เดียวกัน ไม่จาเป็นต้องมีสามข้อ มี มากกว่านี้ก็ได้ เช่น - ระเบียบวิธีวิจัย (research method triangulation) - ทฤษฎี (theoretical triangulation) - ผู้วิจัย (researcher triangulation) - ข้อมูล (data triangulation)
  • 5. การตรวจสอบสามเส้า นามาใช้ในการตรวจสอบคุณภาพ งานวิจัยทั้งการวิจัยเชิงปริมาณ (quantitative research) และการ วิจัยเชิงคุณภาพ (qualitative research) ในการศึกษาเชิงปริมาณ (quantitative) เป็นการตรวจสอบความถูกต้อง (validation) การศึกษาเชิงคุณภาพเป็นการการหาคาตอบ เป็นกลยุทธการใช้ วิธีการที่เหมาะสมเพื่อหาความน่าเชื่อถือ (credibility) ของการ วิเคราะห์เชิงคุณภาพ เป็นวิธีการทางเลือกของเกณฑ์พิจารณา ปกติเช่นความเที่ยงตรง (reliability) และความถูกต้อง (validity)
  • 6. การตรวจสอบสามเส้าในการศึกษาเชิงคุณภาพ เป็น กระบวนการที่ถูกนามาใช้ในการสังคมศาสตร์ ด้วย การรวบรวม วิธีการใช้ผู้สังเกต (observer) ทฤษฎี (theory) วิธีการ (methods) และข้อมูลเชิงประจักษ์ (empirical material) ที่หลายหลาย ซ้าซ้อนกัน นักวิจัยหวังว่าจะขจัดจุดด้อยหรือความลาเอียงภายใน และปัญหาที่เกิดจากการใช้วิธีการอย่างเดียวและการใช้ทฤษฎี เดียวในการศึกษา
  • 7. รูปแบบของ Triangulation มี 7 รูปแบบได้แก่ 1. Data Triangulation หมายถึงการเปรียบเทียบและตรวจสอบ ความแน่นอนของข้อมูลโดยนาข้อมูลที่ได้จากแหล่งต่างๆ มา เปรียบเทียบ 2. Multiple Investigator Triangulation หมายถึง การใช้ นักวิจัยหลายคนในสนามแทนการใช้นักวิจัยเพียงคนเดียวเก็บ ข้อมูลเก็บข้อมูลเดียวกันในสภาวะเดียวกัน
  • 8. รูปแบบของ Triangulation มี 7 รูปแบบได้แก่ (ต่อ) 3. Multiple Analyst Triangulation หมายถึง การใช้ผู้วิเคราะห์ ข้อมูลที่เก็บจากสนามมากกว่า 2 คนขึ้นไป ต่างคนต่างวิเคราะห์ ให้ได้ข้อค้นพบแล้วนาข้อค้นพบมาเปรียบเทียบ 4. Reviews Triangulation หมายถึง การให้บุคคลต่าง ๆ ที่ไม่ใช่ นักวิจัยทาการทบทวนข้อค้นพบจากการวิเคราะห์ของคณะ นักวิจัย
  • 9. รูปแบบของ Triangulation มี 7 รูปแบบได้แก่ (ต่อ) 5. Methods Triangulation หมายถึงการเปรียบเทียบข้อมูลที่ ได้มาจากการเก็บข้อมูลหลายวิธีการ 6. Theory Triangulation หมายถึง การใช้มุมมองของทฤษฎี ต่างๆมาพิจารณาข้อมูลชุดเดียวกัน 7. Interdisciplinary Triangulation หมายถึง การใช้สหวิทยา การมาร่วมวาทกรรม อธิบายข้อค้นพบต่างๆ