SlideShare a Scribd company logo
1 of 9
Download to read offline
การสุ่มตัวอย่างชนิดที่ทราบความน่าจะเป็น
(Probability sampling)
•การสุ่มตัวอย่างแบบง่าย
- ขั้นที่ ๑ : กาหนดกรอบตัวอย่างและหมายเลขกากับ
- ขั้นที่ ๒ : ทาการเลือกตัวอย่างโดยใช้ตารางเลขสุ่ม(Random
number) หรือใช้วิธีการจับฉลาก
การใช้ตารางเลขสุ่ม
➢ กาหนดระบบการอ่านให้ชัดเจนว่าจะอ่านในทิศทางใด
➢ กาหนดจานวนหลักที่ต้องการอ่าน
00 - 04 05 - 09 10 - 14 …
00 54463 22662 65905 …
01 15389 85205 18850 …
02 85941 40756 82414 …
03 61149 69440 11286 …
04 05219 81619 10651 …
05 41417 98326 87719 …
06 28357 94070 20652 …
07 17783 00015 10806 …
08 40950 84820 29881 …
09 82995 64157 66164 …
- จานวนปรชากร
ทั้งหมด 51 คน -
อ่านจากซ้ายไป
ขวา บนลงล่าง
- ต้องการจานวน
10 ตัวอย่าง
◼ การสุ่มตัวอย่างแบบกลุ่ม (Cluster sampling)
- เหมาะสาหรับประชากรที่มีหลากหลายลักษณะอยู่ด้วยกัน
- แบ่งประชากรที่มีหลากหลายลักษณะออกเป็นกลุ่ม ๆ แต่ละกลุ่มมีทุก
ลักษณะอยู่ด้วยกัน เท่าเทียมกัน
- สุ่มแบบง่ายจากประชากรกลุ่มย่อยออกมาศึกษาเพียง 1 ถึง 2 กลุ่ม
ประชากร
กลุ่มที่ 1
กลุ่มที่ 2
กลุ่มที่ 3
กลุ่มตัวอย่าง
Cluster sampling
◼ การสุ่มตัวอย่างแบบแบ่งชั้น (Stratified sampling)
- เหมาะสาหรับประชากรที่มีหลายลักษณะรวมกัน
- คานวณหาจานวนตัวอย่างที่ต้องการทั้งหมด และหาจานวนตัวอย่างในแต่
ละชั้น
- แบ่งประชากรออกเป็นชั้น ๆ ให้ภายในชั้นมีความคล้ายคลึงกันมากที่สุด
แต่มีความแตกต่างระหว่างชั้นมาก ๆ
- สุ่มแบบง่ายจากทุกระดับชั้นให้ได้จานวนตามสัดส่วนของประชากร
- สร้างกรอบตัวอย่างแล้วสุ่มตัวอย่างจากแต่ละชั้นให้ได้ตามจานวนตัวอย่างที่
ต้องการทั้งหมด
ตัวอย่างแต่ละชั้น = จน.ตัวอย่างที่ต้องการ  จน.สมาชิกแต่ละกลุ่ม
จน.สมาชิกทั้งหมด
ชั้นที่ 1
S1 = 9
ชั้นที่ 2
S2 = 13
ชั้นที่ 3
S3 = 8
ประชากร
N = 500
กลุ่มตัวอย่าง
n = 30
E1 = 150
E2 = 220
Stratified sampling
◼ การสุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน (Multi-stage sampling)
- เหมาะสาหรับประชากรมีขนาดใหญ่มาก และกระจัดกระจายและไม่สามารถ
สร้างกรอบการสุ่มตัวอย่างได้
- เริ่มจากการแบ่งประชากรเป็นกลุ่มย่อย ๆ
- สุ่มตัวอย่างออกจากกลุ่มย่อยไปทีละขั้น
- กลุ่มตัวอย่างเป็นตัวแทนของประชากรได้
ขั้นที่ 1 ขั้นที่ 2 ขั้นที่ 3 ขั้นที่ 4
เหนือ 5 จังหวัด 3 อาเภอ 2 ตาบล
กลาง
อีสาน
ใต้
5 จังหวัด
5 จังหวัด
5 จังหวัด
3 อาเภอ
3 อาเภอ
3 อาเภอ
2 ตาบล
2 ตาบล
2 ตาบล
1 ม.บ้าน
1 ม.บ้าน
1 ม.บ้าน
1 ม.บ้าน

More Related Content

More from iamthesisTH

More from iamthesisTH (20)

Qualitative research error3
Qualitative research error3Qualitative research error3
Qualitative research error3
 
Qualitative research error2
Qualitative research error2Qualitative research error2
Qualitative research error2
 
Qualitative research error1
Qualitative research error1Qualitative research error1
Qualitative research error1
 
Reliability
ReliabilityReliability
Reliability
 
Questionnaire procedure
Questionnaire procedureQuestionnaire procedure
Questionnaire procedure
 
Questionnaire and interview1 4
Questionnaire and interview1 4Questionnaire and interview1 4
Questionnaire and interview1 4
 
Quantitative research process
Quantitative research processQuantitative research process
Quantitative research process
 
Qualitative research process2
Qualitative research process2Qualitative research process2
Qualitative research process2
 
Organizational management concepts 7s mc kinsey
Organizational management concepts 7s mc kinseyOrganizational management concepts 7s mc kinsey
Organizational management concepts 7s mc kinsey
 
Organizational management concepts 4M
Organizational management concepts 4MOrganizational management concepts 4M
Organizational management concepts 4M
 
Measurement and data presentation
Measurement and data presentationMeasurement and data presentation
Measurement and data presentation
 
Master in research design
Master in research designMaster in research design
Master in research design
 
Interview format
Interview formatInterview format
Interview format
 
Hypotheses
HypothesesHypotheses
Hypotheses
 
Examination of research tools3
Examination of research tools3Examination of research tools3
Examination of research tools3
 
Examination of research tools2
Examination of research tools2Examination of research tools2
Examination of research tools2
 
Examination of research tools1
Examination of research tools1Examination of research tools1
Examination of research tools1
 
Outline
OutlineOutline
Outline
 
Organizational management concepts posdcorb
Organizational management concepts posdcorbOrganizational management concepts posdcorb
Organizational management concepts posdcorb
 
10Conducting research
10Conducting research10Conducting research
10Conducting research
 

Probability sampling with known types

  • 2. •การสุ่มตัวอย่างแบบง่าย - ขั้นที่ ๑ : กาหนดกรอบตัวอย่างและหมายเลขกากับ - ขั้นที่ ๒ : ทาการเลือกตัวอย่างโดยใช้ตารางเลขสุ่ม(Random number) หรือใช้วิธีการจับฉลาก การใช้ตารางเลขสุ่ม ➢ กาหนดระบบการอ่านให้ชัดเจนว่าจะอ่านในทิศทางใด ➢ กาหนดจานวนหลักที่ต้องการอ่าน
  • 3. 00 - 04 05 - 09 10 - 14 … 00 54463 22662 65905 … 01 15389 85205 18850 … 02 85941 40756 82414 … 03 61149 69440 11286 … 04 05219 81619 10651 … 05 41417 98326 87719 … 06 28357 94070 20652 … 07 17783 00015 10806 … 08 40950 84820 29881 … 09 82995 64157 66164 … - จานวนปรชากร ทั้งหมด 51 คน - อ่านจากซ้ายไป ขวา บนลงล่าง - ต้องการจานวน 10 ตัวอย่าง
  • 4. ◼ การสุ่มตัวอย่างแบบกลุ่ม (Cluster sampling) - เหมาะสาหรับประชากรที่มีหลากหลายลักษณะอยู่ด้วยกัน - แบ่งประชากรที่มีหลากหลายลักษณะออกเป็นกลุ่ม ๆ แต่ละกลุ่มมีทุก ลักษณะอยู่ด้วยกัน เท่าเทียมกัน - สุ่มแบบง่ายจากประชากรกลุ่มย่อยออกมาศึกษาเพียง 1 ถึง 2 กลุ่ม
  • 6. ◼ การสุ่มตัวอย่างแบบแบ่งชั้น (Stratified sampling) - เหมาะสาหรับประชากรที่มีหลายลักษณะรวมกัน - คานวณหาจานวนตัวอย่างที่ต้องการทั้งหมด และหาจานวนตัวอย่างในแต่ ละชั้น - แบ่งประชากรออกเป็นชั้น ๆ ให้ภายในชั้นมีความคล้ายคลึงกันมากที่สุด แต่มีความแตกต่างระหว่างชั้นมาก ๆ - สุ่มแบบง่ายจากทุกระดับชั้นให้ได้จานวนตามสัดส่วนของประชากร - สร้างกรอบตัวอย่างแล้วสุ่มตัวอย่างจากแต่ละชั้นให้ได้ตามจานวนตัวอย่างที่ ต้องการทั้งหมด ตัวอย่างแต่ละชั้น = จน.ตัวอย่างที่ต้องการ  จน.สมาชิกแต่ละกลุ่ม จน.สมาชิกทั้งหมด
  • 7. ชั้นที่ 1 S1 = 9 ชั้นที่ 2 S2 = 13 ชั้นที่ 3 S3 = 8 ประชากร N = 500 กลุ่มตัวอย่าง n = 30 E1 = 150 E2 = 220 Stratified sampling
  • 8. ◼ การสุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน (Multi-stage sampling) - เหมาะสาหรับประชากรมีขนาดใหญ่มาก และกระจัดกระจายและไม่สามารถ สร้างกรอบการสุ่มตัวอย่างได้ - เริ่มจากการแบ่งประชากรเป็นกลุ่มย่อย ๆ - สุ่มตัวอย่างออกจากกลุ่มย่อยไปทีละขั้น - กลุ่มตัวอย่างเป็นตัวแทนของประชากรได้
  • 9. ขั้นที่ 1 ขั้นที่ 2 ขั้นที่ 3 ขั้นที่ 4 เหนือ 5 จังหวัด 3 อาเภอ 2 ตาบล กลาง อีสาน ใต้ 5 จังหวัด 5 จังหวัด 5 จังหวัด 3 อาเภอ 3 อาเภอ 3 อาเภอ 2 ตาบล 2 ตาบล 2 ตาบล 1 ม.บ้าน 1 ม.บ้าน 1 ม.บ้าน 1 ม.บ้าน