SlideShare a Scribd company logo
1 of 35
การสอนแบบเป็นกลุ่มย่อย
(Small Group
Teaching)
การเรียนแบบเป็นกลุ่มย่อยเป็นรูปแบบการเรียนที่กลุ่มผู้เรียนมี
ความสนใจและทุกคนร่วมกันในการทากิจกรรมนั้นตามเป้ าหมายที่ได้
ตั้งไว้ ถือเป็นการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพ เพราะสอดคล้องกับหลักการ
การเรียนรู้แบบผู้ใหญ่ (Adult Learning) และการเรียนรู้
ร่วมกัน (Social Constuctive Learning)
กลไกการเรียนรู้แบบกลุ่มนั้น ทาให้ผู้เรียนต้องแสดงความคิดเห็นให้
เหตุผล เพื่อโต้เถียงหรือยอมรับความคิดเห็นคนอื่น ฝึกการแก้ไขปัญหา
ผู้เรียนต้องใช้ทักษะทางสังคมและการสื่อสารในการมีปฏิสัมพันธ์กับ
กลุ่ม เช่น การเป็นผู้ฟังที่ดี การให้เกียรติผู้อื่น การไกล่เกลี่ยในกลุ่ม มี
ความกล้าแสดงออก
ซึ่งทักษะดังกล่าวช่วยในด้านการฝึกความคิดขั้นสูงที่จาเป็นต้องใช้
ในการเป็ นแพทย์ ได้แก่ การให้เหตุผล การคิดอย่างมีวิจารณญาณ
การตัดสินใจและการแก้ปัญหา ที่สาคัญยังช่วยพัฒนาลักษณะที่พึง
ประสงค์ในวิชาชีพแพทย์ ได้แก่ การทางานและสื่อสารกับผู้อื่น การมี
บทบาทของทั้งผู้นาและผู้ตามอย่างเหมาะสม
อย่างไรก็ตามที่ผ่านมามักจะเห็นรูปแบบการสอนแบบกลุ่ม
ที่บิดเบือนไปจากหลักการที่กล่าวมา ทาให้ดูคล้ายกับเป็นการสอน
บรรยาย (Lecture) แก่นักเรียนกลุ่มเล็กๆมากกว่าที่จะเป็ น
ผู้เรียนปรึกษาหารือร่วมกันในกลุ่ม (Discussion)
ดังนั้นเพื่อให้สามารถนาการเรียนการสอนแบบกลุ่มย่อยมาใช้ให้มี
ประสิทธิภาพสูงสุด ผู้สอนจึงควรทาความเข้าใจในหลักการของการเรียน
แบบกลุ่มย่อยและมีทัศนคติที่เชื่อในศักยภาพการเรียนรู้ของผู้เรียน รวมถึง
มีทักษะการจัดการกลุ่มและช่วยให้ผู้เรียนสามารถดาเนินกิจกรรมกลุ่มให้
บรรลุตามเป้ าหมายได้
ลักษณะของการเรียนแบบกลุ่มย่อยที่มีประสิทธิภาพ
(Steinert)
-ผู้สอน/ผู้คุมกลุ่มมีประสิทธิภาพ
-บรรยากาศการเรียนในกลุ่มดี
-การที่ผู้เรียนในกลุ่มมีความสนใจและมีส่วนร่วมกันอย่าง
เต็มที่
-การที่กลุ่มสามารถยึดในเป้ าหมายที่กลุ่มตั้งไว้
(ไม่ออกนอกประเด็น)
- การได้สื่อการเรียนที่มีความเกี่ยวข้องและสมจริงกับเวชปฏิบัติ
-การได้ผู้ป่ วยตัวอย่างที่กระตุ้นให้คิดและแก้ไขปัญหา
ปัจจัยที่ส่งผลต่อการเรียนรู้แบบกลุ่มย่อย
1. จานวนผู้เรียนในกลุ่ม
2. งานที่ได้มอบหมายแก่กลุ่ม
3. การจัดที่นั่งในการเรียนกลุ่ม
4. บทบาทของผู้สอนหรือผู้ควบคุมกลุ่ม(Richmond)
5. การเริ่มต้นที่ดี
การดาเนินการของกลุ่ม (Group Dynamic)
- การเริ่มสร้างกลุ่ม (Forming) ผู้เรียนเริ่มทาความรู้จักและ
สร้างสัมพันธภาพต่อกัน ผู้สอนคอยช่วยดูว่าทุกคนได้ทาความรู้จักกัน
จริงๆ
- การสร้างกฎหมู่ (Norming) ผู้เรียนสร้างกฎร่วมกันเพื่อ
ใช้เป็นข้อกาหนดในการทางานกลุ่ม
- การระดมความคิด (Storming) สมาชิกแต่ละคนในกลุ่ม
เริ่มแสดงบทบาทตามธรรมชาติการหาผู้นา ตั้งคาถาม สรุปและเชื่อมโยง
ความคิด การจัดการปัญหาภายในกลุ่ม
- การมุ่งสู่เป้ าหมาย (Performing) เมื่อผ่านขั้นการ
ระดมความคิดแล้วสมาชิกแต่ละคนเริ่มคุ้นเคยกับบทบาทของกันและกัน
บรรยากาศของกลุ่มเริ่มอยู่ตัวกับการเรียน การทากิจกรรมกลุ่มที่มาถึงขั้น
นี้ได้ มักจะบรรลุเป้ าหมายของกิจกรรมที่วางไว้
- การบอกเลิกกลุ่ม (Adjourning) เป็นระยะท้ายของการ
ทากิจกรรมกลุ่ม หลังจากทางานได้สาเร็จ กลุ่มจะมีความยินดีที่ทางาน
สาเร็จและอาจรู้สึกเสียดายที่ต้องแยกจากกลุ่ม กลุ่มที่ดีสมาชิกในกลุ่ม
มักจะทบทวนสิ่งที่ตนเองได้ทามา เป็นการเรียนรู้ข้อดีและข้อเสียที่เกิดขึ้น
โมเดลการสอนแบบเป็นกลุ่มย่อย
ข้อดี-ข้อเสียของการสอนแบบกลุ่มย่อย
ข้อดี
- ให้ทุกคนได้มีส่วนร่วม
- เด็กรู้สึกผ่อนคลายกว่าเมื่อเป็นกลุ่มเล็ก
- กลุ่มหาข้อสรุปได้ง่ายกว่า
ข้อเสีย
- ต้องคิดรอบคอบเพื่อหาจุดประสงค์ของกลุ่ม
- กลุ่มอาจจะออกนอกประเด็นได้ง่าย
เทคนิคที่ใช้ในการสอนกลุ่มย่อย
1. Snowballing เป็นการให้ผู้เรียนได้เริ่มคิดด้วยตนเอง
ตามด้วยการสนทนาแลกเปลี่ยนตั้งแต่หนึ่งต่อหนึ่งและค่อยๆเพิ่มจานวนขึ้น
จนเป็นการสนทนาแลกเปลี่ยนทั้งกลุ่ม (คล้ายกับการกลิ้งลูกหิมะจึงเป็นที่มา
ของชื่อเทคนิคนี้) โดยมีตัวอย่างลาดับคาสั่งดังนี้
- ให้ลองใช้เวลา 1 นาที คิดด้วยตนเอง (individual)
- ให้แลกเปลี่ยนสิ่งที่คิดไว้กับเพื่อนที่นั่งข้างๆ (จับคู่) และให้ต่างคน
ต่างสรุปสิ่งที่เพื่อนแสดงความคิดเห็น ใช้เวลา 5 นาที
- นาเสนอข้อสรุปของเพื่อนที่ได้แลกเปลี่ยนให้กับเพื่อนคู่ข้างๆ
(ขณะนี้จะมีผู้เรียน 4 คน)
2. Jigsaw เป็นการประยุกต์ต่อจาก snowballing
จะมีความซับซ้อนมากขึ้น โดยให้ทุกคนในกลุ่มแยกตัวกัน แล้วไปรวมกับ
กลุ่มใหม่เพื่อเสนอข้อสรุปของกลุ่มเดิมให้ฟัง เป็นการกาหนดให้ผู้เรียนต้อง
มีส่วนร่วมกับกลุ่มค่อนข้างมาก โดยสุดท้ายทุกคนในกลุ่มควรจะเห็น
ตรงกันก่อนนาข้อสรุปนี้ให้แก่กลุ่มใหม่
3. Brainstroming เป็นการระดมความคิดเห็นของ
ทุกคนในกลุ่มให้ได้มากที่สุด โดยให้ทุกคนมีโอกาสในการเสนอความ
คิดเห็นและมีผู้ที่จดบันทึกบนกระดานที่ทุกคนเห็นได้อย่างชัดเจน ซึ่งตาม
กฎแล้วจะไม่ทาการตัดหรือทาการวิพากษ์ความคิดเห็นใดๆ ภายหลังที่ทุก
คนได้เสนอความคิดเห็นจนครบแล้ว จึงทาการจัดกลุ่มและวิเคราะห์ข้อมูล
ที่ได้มาทั้งหมด เทคนิคนี้เหมาะกับการมีผู้เรียนจานวนมาก
4. การแสดงบทบาทสมมติ (Role Play) เป็นการเรียน
ผ่านการแสดงบทบาทสมมติ เหมาะกับการเรียนชั้นคลินิก โดยเฉพาะ
เรื่องการสื่อสารกับผู้ป่ วย ผู้สอนต้องชี้แจงวัตถุประสงค์ของการเรียนที่
ชัดเจน เตรียมบทผู้ป่ วยและทาความเข้าใจกับผู้เล่นบทสมมติ เพราะการ
ใช้เทคนิคนี้มีโอกาสล้มเหลว หากผู้เรียนไม่ตั้งใจ
5. การโต้วาที (Debate) โดยแบ่งผู้เรียนออกตาม
จานวนกลุ่มที่จะโต้เถียงกัน โดยให้แต่ละกลุ่มย่อยหาข้อมูล เพื่อ
นาเสนอด้านเด่นและเตรียมหาเหตุผลที่ลบล้างข้อโต้แย้งของกลุ่มตรง
ข้าม
6. การนาเสนอเวทีรวม (Plenary Session) เป็น
การเสนอความคิดเห็นขั้นสุดท้าย โดยตัวแทนของแต่ละกลุ่มจะขึ้นมา
นาเสนอข้อสรุปความคิดเห็นของกลุ่มย่อย ผู้สอนอาจเข้ามาร่วมในการ
ช่วยสรุปและให้ความคิดเห็นเพิ่มเติม
การจัดการกับผู้เรียนที่มีปัญหา (Dealing with
difficult group member)
-ผู้เรียนที่ชอบครอบงากลุ่ม (The dominent
group member)
ผู้เรียนกลุ่มนี้มักจะมีข้อมูลที่เป็นประโยชน์ต่อกลุ่มมาก จึงมี
ความสาคัญในการที่จะทาให้กลุ่มบรรลุเป้ าหมายได้
ดังนั้นผู้สอนต้องลดบทบาทของผู้ที่ชอบครอบงากลุ่มโดยไม่ทา
ให้เขารู้สึกขุ่นเคืองจนไม่อยากแสดงความคิดเห็นอีก ซึ่งมีแนวทางดังนี้
1. การมอบหมายงานที่จาเพาะให้ทาในกลุ่ม
2. ผู้สอนเข้ามาช่วยในการถามคาถามเฉพาะแก่ผู้ที่ครอบงากลุ่มก่อน
เมื่อเขาได้ตอบเสร็จแล้วจึงถามคาถามถัดไปแก่สมาชิกรายอื่น
3. การจัดตาแหน่งที่นั่ง โดยผู้สอนเข้าไปนั่งข้างผู้เรียนที่ชอบ
ครอบงากลุ่มเพื่อให้สายตาของผู้สอนมองไปที่ผู้เรียนคนอื่นๆในกลุ่ม
ผู้เรียนไม่ควรนั่งตรงข้ามกับผู้เรียนที่ชอบครอบงากลุ่ม เพราะจะ
เป็นการกระตุ้นให้เขาอยากแสดงความคิดเห็นตลอดเวลา
4. การแสดงออกทางกาย เช่น ผู้สอนยกมือขึ้นเพื่อแสดงสัญลักษณ์ว่า
หยุดก่อน หรือ รอเดี๋ยว ต่อผู้เรียนที่ชอบครอบงาเพื่อให้ผู้อื่นตอบก่อน
5. หากไม่ได้ผล ผู้สอนต้องเรียกมาทาความเข้าใจเป็นการส่วนตัว
ภายนอกกลุ่มถึงความสาคัญของการให้ผู้อื่นมีส่วนร่วม
-ผู้เรียนนอกสายตา (The reticent group
member)
ผู้เรียนลักษณะนี้จะตรงกันข้ามกับกลุ่มแรก คือ เงียบ ไม่ค่อยแสดงออก
หรือเสนอความคิดเห็น อาจเกิดขึ้นเพราะ บุคลิกภาพขี้อาย ไม่พร้อมต่อ
การเรียน ไม่สนใจอยากเรียนหัวข้อนี้ ผู้สอนต้องดูสาเหตุของความเงียบ
นั้น หากเป็ นเพราะไม่สบายหรือมีภาวะซึมเศร้าควรให้แนวทางการ
ช่วยเหลือ ส่วนกรณีที่เหลือสามารถใช้แนวทางได้ดังต่อไปนี้
1. ใช้เทคนิคการเรียนกลุ่มเล็กเพื่อกระตุ้นให้มีส่วนร่วม
2. มอบหมายงานเฉพาะให้ทา
3. ให้เสนอความคิดเห็นในเรื่องที่คาดว่าผู้เรียนคนนั้นน่าจะรู้ (ผู้สอนต้อง
รู้จักผู้เรียนของตนเองพอสมควร)
4. หากไม่ได้ผล ผู้สอนต้องเรียกมาทาความเข้าใจเป็นการส่วนตัว
ภายนอกกลุ่ม ถึงความสาคัญของการมีส่วนร่วมกับผู้อื่นในการเรียน
กรณีที่ผู้เรียนไม่สนใจต่อการเรียนจริงๆต้องปรึกษาผู้ที่จัดกระบวนการ
วิชาต่อไป
- ผู้ เรี ยนที่คอยรบกวนการทากิจกรรมร่ วมของกลุ่ ม
(Distracting group member)
ผู้เรียนลักษณะนี้หากมีจานวนไม่มากในกลุ่ม กลุ่มมักจะแสดงออก
โดยการไม่สนใจ อย่างไรก็ตาม หากผู้คุมเห็นว่าเริ่มส่งผลต่อบรรยากาศการ
เรียนในกลุ่มอาจเข้ามาจัดการตามแนวทางดังนี้
1. ให้กลุ่มพักและเริ่มทบทวนกฎหมู่ (Ground rules) อีกครั้ง
ก่อนเริ่มทากิจกรรมต่อ (ในการเรียนแบบผู้ใหญ่ การย้าเรื่องกฎหมู่
มักจะช่วยให้ผู้เรียนกลับมาใส่ใจมากขึ้นได้)
2. เข้ามาร่วมกระตุ้นโดยเฉพาะกลุ่มคนที่มีปัญหานี้โดยให้แสดง
ความเห็นที่จริงจังมากขึ้นและคนในกลุ่มตั้งใจรับฟัง การทาเช่นนี้จะ
ช่วยหยุดการกระทาที่คอยชวนออกนอกเรื่องได้
3. อาจขอให้กลุ่มหยุดชั่วคราวและปรึกษาเรื่องพฤติกรรมที่ทาให้
บรรยากาศกลุ่มไม่ดี โดยถามว่าตอนนี้ทุกคนในกลุ่มยังยอมรับได้กับการ
ทางานของแต่ละคนในกลุ่มไหม สมาชิกที่จริงจังมักจะออกความเห็น
เกี่ยวกับปัญหาของกลุ่ม หลังจากนั้นให้กลุ่มตั้งกฎหมู่เพิ่มเพื่อควบคุมคน
ที่มีพฤติกรรมดังกล่าว
- ผู้เรียนที่มาช้าหรือขาดเรียน
สมาชิกคนอื่นๆในกลุ่มอาจไม่พอใจผู้เรียนกลุ่มนี้ได้
ผู้สอนอาจเผื่อเวลาที่เริ่มทากิจกรรมหากทราบว่าเหตุผลที่ผู้เรียน
ส่วนมากมาช้านั้นเกิดจากอะไร
- ผู้เรียนที่พึ่งพามากเกินไป
ผู้เรียนกลุ่มนี้จะติดผู้สอน คอยขอความช่วยเหลือจาก
ผู้สอนตลอด ผู้สอนต้องวางตัวเรื่องความสนิทสนมกับผู้เรียน
ให้ดี ความสนิทสนมที่มากเกินไปอาจส่งผลต่อการเรียนรู้ได้
ที่มา
ผศ.พญ.วิชุดา จิรพรเจริญ. การสอนแบบเป็นกลุ่มย่อย
(Small Group Teaching).
www.med.cmu.ac.th/.../Teaching%20and%20
Leading%20Small%20Group. pdf
ผู้จัดทา
นางสาวปวีณ์กร แผ่นพงษ์ศิลป์
รหัสนักศึกษา 5615871019
คณะครุศาสตร์ สาขา ภาษาอังกฤษ

More Related Content

What's hot

02 เครื่องมือในการวิจัย
02 เครื่องมือในการวิจัย02 เครื่องมือในการวิจัย
02 เครื่องมือในการวิจัยKruBeeKa
 
โครงงานคิดคล่องว่องไว
โครงงานคิดคล่องว่องไวโครงงานคิดคล่องว่องไว
โครงงานคิดคล่องว่องไวJirathorn Buenglee
 
ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์ พิร...
ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์  พิร...ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์  พิร...
ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์ พิร...Kobwit Piriyawat
 
เศรษฐกิจพอเพียงPpt
เศรษฐกิจพอเพียงPptเศรษฐกิจพอเพียงPpt
เศรษฐกิจพอเพียงPptpronprom11
 
คู่มือการเขียนรายงาน การอ้างอิง การประกวดโครงงานวิทยาศาสตร์ สมาคมวิทยาศาสตร์ ...
คู่มือการเขียนรายงาน การอ้างอิง การประกวดโครงงานวิทยาศาสตร์ สมาคมวิทยาศาสตร์ ...คู่มือการเขียนรายงาน การอ้างอิง การประกวดโครงงานวิทยาศาสตร์ สมาคมวิทยาศาสตร์ ...
คู่มือการเขียนรายงาน การอ้างอิง การประกวดโครงงานวิทยาศาสตร์ สมาคมวิทยาศาสตร์ ...Totsaporn Inthanin
 
ปัญหาสังคมไทยในปัจจุบันและแนวทางการแก้ปัญหาโดยสันติวิธี
ปัญหาสังคมไทยในปัจจุบันและแนวทางการแก้ปัญหาโดยสันติวิธีปัญหาสังคมไทยในปัจจุบันและแนวทางการแก้ปัญหาโดยสันติวิธี
ปัญหาสังคมไทยในปัจจุบันและแนวทางการแก้ปัญหาโดยสันติวิธีพระอภิชัช ธมฺมโชโต
 
142968777910465
142968777910465142968777910465
142968777910465YingZaa TK
 
แบบทดสอบ ภูมิศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบ ภูมิศาสตร์ ม.3แบบทดสอบ ภูมิศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบ ภูมิศาสตร์ ม.3teerachon
 
การลำเลียงอาหารของพืช
การลำเลียงอาหารของพืชการลำเลียงอาหารของพืช
การลำเลียงอาหารของพืชAnana Anana
 
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7(4,10)
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7(4,10)การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7(4,10)
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7(4,10)mintmint2540
 
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้DuangdenSandee
 
ร่ายสุภาพ
ร่ายสุภาพร่ายสุภาพ
ร่ายสุภาพkhorntee
 
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรีSivagon Soontong
 
การวิจัยเชิงสำรวจ
การวิจัยเชิงสำรวจการวิจัยเชิงสำรวจ
การวิจัยเชิงสำรวจkhuwawa2513
 
แบบฝึกทักษะเรื่อง การแต่งโคลงสี่สุภาพ ชุดที่ ๑๐ เรื่อง กลวิธีในการแต่งโคลง...
แบบฝึกทักษะเรื่อง  การแต่งโคลงสี่สุภาพ  ชุดที่ ๑๐  เรื่อง กลวิธีในการแต่งโคลง...แบบฝึกทักษะเรื่อง  การแต่งโคลงสี่สุภาพ  ชุดที่ ๑๐  เรื่อง กลวิธีในการแต่งโคลง...
แบบฝึกทักษะเรื่อง การแต่งโคลงสี่สุภาพ ชุดที่ ๑๐ เรื่อง กลวิธีในการแต่งโคลง...Decha Sirigulwiriya
 
ชุดกิจกรรม เรื่อง รายงานการศึกษาค้นคว้า ชุด รูปแบบและจุดมุ่งหมายของรายงาน
ชุดกิจกรรม เรื่อง รายงานการศึกษาค้นคว้า  ชุด รูปแบบและจุดมุ่งหมายของรายงานชุดกิจกรรม เรื่อง รายงานการศึกษาค้นคว้า  ชุด รูปแบบและจุดมุ่งหมายของรายงาน
ชุดกิจกรรม เรื่อง รายงานการศึกษาค้นคว้า ชุด รูปแบบและจุดมุ่งหมายของรายงานSAKANAN ANANTASOOK
 
บริบทที่ส่งผลต่อการจัดการศึกษา
บริบทที่ส่งผลต่อการจัดการศึกษาบริบทที่ส่งผลต่อการจัดการศึกษา
บริบทที่ส่งผลต่อการจัดการศึกษาjuriporn chuchanakij
 

What's hot (20)

02 เครื่องมือในการวิจัย
02 เครื่องมือในการวิจัย02 เครื่องมือในการวิจัย
02 เครื่องมือในการวิจัย
 
โครงงานคิดคล่องว่องไว
โครงงานคิดคล่องว่องไวโครงงานคิดคล่องว่องไว
โครงงานคิดคล่องว่องไว
 
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Ppt[1]
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Ppt[1]คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Ppt[1]
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Ppt[1]
 
ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์ พิร...
ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์  พิร...ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์  พิร...
ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์ พิร...
 
เศรษฐกิจพอเพียงPpt
เศรษฐกิจพอเพียงPptเศรษฐกิจพอเพียงPpt
เศรษฐกิจพอเพียงPpt
 
คู่มือการเขียนรายงาน การอ้างอิง การประกวดโครงงานวิทยาศาสตร์ สมาคมวิทยาศาสตร์ ...
คู่มือการเขียนรายงาน การอ้างอิง การประกวดโครงงานวิทยาศาสตร์ สมาคมวิทยาศาสตร์ ...คู่มือการเขียนรายงาน การอ้างอิง การประกวดโครงงานวิทยาศาสตร์ สมาคมวิทยาศาสตร์ ...
คู่มือการเขียนรายงาน การอ้างอิง การประกวดโครงงานวิทยาศาสตร์ สมาคมวิทยาศาสตร์ ...
 
ปัญหาสังคมไทยในปัจจุบันและแนวทางการแก้ปัญหาโดยสันติวิธี
ปัญหาสังคมไทยในปัจจุบันและแนวทางการแก้ปัญหาโดยสันติวิธีปัญหาสังคมไทยในปัจจุบันและแนวทางการแก้ปัญหาโดยสันติวิธี
ปัญหาสังคมไทยในปัจจุบันและแนวทางการแก้ปัญหาโดยสันติวิธี
 
142968777910465
142968777910465142968777910465
142968777910465
 
แบบทดสอบ ภูมิศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบ ภูมิศาสตร์ ม.3แบบทดสอบ ภูมิศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบ ภูมิศาสตร์ ม.3
 
การลำเลียงอาหารของพืช
การลำเลียงอาหารของพืชการลำเลียงอาหารของพืช
การลำเลียงอาหารของพืช
 
หน่วย 1
หน่วย 1หน่วย 1
หน่วย 1
 
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7(4,10)
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7(4,10)การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7(4,10)
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7(4,10)
 
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้
 
ร่ายสุภาพ
ร่ายสุภาพร่ายสุภาพ
ร่ายสุภาพ
 
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
 
การวิจัยเชิงสำรวจ
การวิจัยเชิงสำรวจการวิจัยเชิงสำรวจ
การวิจัยเชิงสำรวจ
 
แบบฝึกทักษะเรื่อง การแต่งโคลงสี่สุภาพ ชุดที่ ๑๐ เรื่อง กลวิธีในการแต่งโคลง...
แบบฝึกทักษะเรื่อง  การแต่งโคลงสี่สุภาพ  ชุดที่ ๑๐  เรื่อง กลวิธีในการแต่งโคลง...แบบฝึกทักษะเรื่อง  การแต่งโคลงสี่สุภาพ  ชุดที่ ๑๐  เรื่อง กลวิธีในการแต่งโคลง...
แบบฝึกทักษะเรื่อง การแต่งโคลงสี่สุภาพ ชุดที่ ๑๐ เรื่อง กลวิธีในการแต่งโคลง...
 
ชุดกิจกรรม เรื่อง รายงานการศึกษาค้นคว้า ชุด รูปแบบและจุดมุ่งหมายของรายงาน
ชุดกิจกรรม เรื่อง รายงานการศึกษาค้นคว้า  ชุด รูปแบบและจุดมุ่งหมายของรายงานชุดกิจกรรม เรื่อง รายงานการศึกษาค้นคว้า  ชุด รูปแบบและจุดมุ่งหมายของรายงาน
ชุดกิจกรรม เรื่อง รายงานการศึกษาค้นคว้า ชุด รูปแบบและจุดมุ่งหมายของรายงาน
 
บริบทที่ส่งผลต่อการจัดการศึกษา
บริบทที่ส่งผลต่อการจัดการศึกษาบริบทที่ส่งผลต่อการจัดการศึกษา
บริบทที่ส่งผลต่อการจัดการศึกษา
 
ระดับภาษา 2
ระดับภาษา 2ระดับภาษา 2
ระดับภาษา 2
 

Similar to วิธีการสอนแบบกลุ่มย่อย

การเรียนรู้แบบร่วมมือ
การเรียนรู้แบบร่วมมือการเรียนรู้แบบร่วมมือ
การเรียนรู้แบบร่วมมือSukanya Burana
 
การเรียนรู้แบบร่วมมือ
การเรียนรู้แบบร่วมมือการเรียนรู้แบบร่วมมือ
การเรียนรู้แบบร่วมมือSukanya Burana
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่panggoo
 
เทคนิคการสอน กระบวนการกลุ่ม
เทคนิคการสอน  กระบวนการกลุ่มเทคนิคการสอน  กระบวนการกลุ่ม
เทคนิคการสอน กระบวนการกลุ่มJunya Punngam
 
Chapter 04
Chapter 04Chapter 04
Chapter 04Bunsasi
 
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่Ailada_oa
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่noiiso_M2
 
การศึกษาตามหลักพิพัฒนาการนิยม
การศึกษาตามหลักพิพัฒนาการนิยมการศึกษาตามหลักพิพัฒนาการนิยม
การศึกษาตามหลักพิพัฒนาการนิยมSup's Tueng
 
การศึกษาตามหลักพิพัฒนาการนิยม
การศึกษาตามหลักพิพัฒนาการนิยมการศึกษาตามหลักพิพัฒนาการนิยม
การศึกษาตามหลักพิพัฒนาการนิยมSup's Tueng
 
สังเกตการสอน
สังเกตการสอนสังเกตการสอน
สังเกตการสอนFern's Supakyada
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่Noppasorn Boonsena
 
บทความการศึกษาเป็นรายบุคคล
บทความการศึกษาเป็นรายบุคคลบทความการศึกษาเป็นรายบุคคล
บทความการศึกษาเป็นรายบุคคลwattanaka
 
เทคนิคการสอนและรูปแบบที่ยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
เทคนิคการสอนและรูปแบบที่ยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลางเทคนิคการสอนและรูปแบบที่ยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
เทคนิคการสอนและรูปแบบที่ยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลางKunwater Tianmongkon
 

Similar to วิธีการสอนแบบกลุ่มย่อย (20)

การเรียนรู้แบบร่วมมือ
การเรียนรู้แบบร่วมมือการเรียนรู้แบบร่วมมือ
การเรียนรู้แบบร่วมมือ
 
การเรียนรู้แบบร่วมมือ
การเรียนรู้แบบร่วมมือการเรียนรู้แบบร่วมมือ
การเรียนรู้แบบร่วมมือ
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
เทคนิคการสอน กระบวนการกลุ่ม
เทคนิคการสอน  กระบวนการกลุ่มเทคนิคการสอน  กระบวนการกลุ่ม
เทคนิคการสอน กระบวนการกลุ่ม
 
Chapter 04
Chapter 04Chapter 04
Chapter 04
 
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่
 
Kku5
Kku5Kku5
Kku5
 
Chapter 04
Chapter 04Chapter 04
Chapter 04
 
Chapter 04
Chapter 04Chapter 04
Chapter 04
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
Chapter 04
Chapter 04Chapter 04
Chapter 04
 
Chapter 04
Chapter 04Chapter 04
Chapter 04
 
การศึกษาตามหลักพิพัฒนาการนิยม
การศึกษาตามหลักพิพัฒนาการนิยมการศึกษาตามหลักพิพัฒนาการนิยม
การศึกษาตามหลักพิพัฒนาการนิยม
 
การศึกษาตามหลักพิพัฒนาการนิยม
การศึกษาตามหลักพิพัฒนาการนิยมการศึกษาตามหลักพิพัฒนาการนิยม
การศึกษาตามหลักพิพัฒนาการนิยม
 
สังเกตการสอน
สังเกตการสอนสังเกตการสอน
สังเกตการสอน
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
บทความการศึกษาเป็นรายบุคคล
บทความการศึกษาเป็นรายบุคคลบทความการศึกษาเป็นรายบุคคล
บทความการศึกษาเป็นรายบุคคล
 
เทคนิคการสอนและรูปแบบที่ยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
เทคนิคการสอนและรูปแบบที่ยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลางเทคนิคการสอนและรูปแบบที่ยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
เทคนิคการสอนและรูปแบบที่ยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
 
จิตวิทยาการศึกษาและจิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการศึกษาและจิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการศึกษาและจิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการศึกษาและจิตวิทยาการเรียนรู้
 

วิธีการสอนแบบกลุ่มย่อย