SlideShare a Scribd company logo
1 of 2
ลิลิตตะเลงพ่าย
ลิลิตตะเลงพ่ายเป็นบทประพันธ์ประเภทลิลิต
ประพันธ์ขึ้นโดยสมเด็จพระมหาสมณเจ้ากรมพระปรมานุชิตชิโนรสและ
พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหมื่นภูบาลบริรักษ์
เพื่อสดุดีวีรกรรมของสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ในวาระงาน
พระราชพิธีฉลองตึกวัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามในรัชกาลที่ 3
โดยตะเลงในที่นี้หมายถึง มอญ
ที่มาของเรื่อง
1.พระราชพงศาวดารฉบับพันจันทนุมาศ(เจิม)
2.วรรณคดีเก่าเรื่อง ลิลิตยวนพ่ายลิลิตพระลอ
3.จินตนาการของผู้แต่ง คือ ช่วงบทนิราศ
จุดมุ่งหมายในการแต่ง 1.เพื่อเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระนเรศวรมหาราช
2.ฉลองตึกวัดพระเชนตุพนฯ สมัย รัชกาลที่ 3
3.สร้างสมบารมีของผู้แต่ง(เพราะผู้แต่งขอไว้ว่าถ้าแต่งเสร็จขอให้สาเร็จสู่พระนิพพ
าน )
ลักษณะการแต่ง
แต่งด้วยลิลิตสุภาพประกอบด้วยร่ายสุภาพโคลงสองสุภาพโคลงสามสุภาพ
และโคลงสี่สุภาพแต่งสลับกันไป จานวน 439 บท
โดยได้แบบอย่างการแต่งมาจากลิลิตยวนพ่ายที่แต่งขึ้นในสมัยอยุธยาตอนต้น
ลิลิตเปรียบได้กับงานเขียนมหากาพย์
จัดเป็นวรรณคดีประเภทเฉลิมพระเกียรติพระมหากษัตริย์
เนื้อเรื่องย่อ
เริ่มด้วยการต้นชมพระบารมีและพระบรมเดชานุภาพของสมเด็จพระนเรศวรมหารา
ช แล้วดาเนินความตามประวัติศาสตร์ว่าพระเจ้าหงสาวดีนันทบุเรงทรงทราบว่า
สมเด็จพระมหาธรรมราชาเสด็จสวรรคต สมเด็จพระนเรศวรได้ครองราชสมบัติ
พระองค์จึงตรัสปรึกษาขุนนางทั้งปวงว่ากรุงศรีอยุธยาผลัดเปลี่ยนกษัตริย์
สมเด็จพระนเรศวรและสมเด็จพระเอกาทศรถ
พระพี่น้องทั้งสองอาจรบพุ่งชิงความเป็นใหญ่กันยังไม่รู้เหตุผลประการใด
ควรส่งทัพไปเหยียบดินแดนไทยเป็นการเตือนสงครามไว้ก่อน
ถ้าเหตุการณ์เมืองไทยไม่ปกติสุขก็ให้โจมตีทันที
ขุนนางทั้งหลายก็เห็นชอบตามพระราชดารินั้นพระจ้าหงสาวดีจึงตรัสให้
พระมหาอุปราชเตรียมทัพร่วมกับพระมหาราชเจ้านครเชียงใหม่
แต่พระมหาอุปราชากราบทูลพระบิดาว่าโหรทายว่าชันษาของพระองค์ร้ายนัก
สมเด็จพระเจ้าหงสาวดีตรัสว่าพระมหาธรรมราชาไม่เสียแรงมีโอรสล้วนแต่เชี่ยวชา
ญกล้าหาญในศึกมิเคยย่อท้อการสงคราม
ไม่เคยพักให้พระราชบิดาใช้เลยต้องห้ามเสียอีกผิดกับพระองค์
และให้พระมหาอุปราชาไปเอาภัสตราภรณ์สตรีมาทรงเสีย
พระมหาอุปราชาทรงอับอายและหวาดกลัวพระราชอาญาของพระบิดายิ่งนัก
จึงเตรียมจัดทัพหลวงและทัพหัวเมืองต่างๆ เพื่อยกมาตีไทย
ขณะนั้นสมเด็จพระนเรศวรเตรียมทัพจะไปตีกัมพูชาเป็นการแก้แค้นที่ถือโอกาสรุก
รานไทยหลายครั้งระหว่างที่ไทยติดศึกกับพม่า
พอสมเด็จพระนเรศวรทรงทราบข่าวศึกก็ทรงถอนกาลังไปสู้รบกับพม่าทันที
ทัพหน้ายกล่วงหน้าไปตั้งที่ตาบลหนองสาหร่าย
ฝ่ายพระมหาอุปราชาทรงคุมทัพมากับพระเจ้าเชียงใหม่รี้พลรบ 5 แสน
เข้ามาทางด่านเจดีย์สามองค์ ทรงชมไม้ ชมนก ชมเขา
และคร่าครวญถึงพระสนมกานัลมาตลอดจนผ่านไทรโยคลากระเพิน
และเข้ายึดเมืองกาญจนบุรีได้โดยสะดวก
ต่อจากนั้นก็เคลื่อนพลผ่านพนมทวนเกิดลางร้ายลมเวรัมภาพัดฉัตรหัก
ทรงตั้งค่ายหลวงที่ตาบลตระพังตรุ
ฝ่ายสมเด็จพระนเรศวรและสมเด็จพระเอกาทศรถทรงเคลื่อนพยุหยาตราทางชลมา
รค ไปขึ้นบกที่ปากโมก บังเกิดศุภนิมิต
ต่อจากนั้นทรงกรีฑาทัพทางบกไปตั้งค่ายที่ตาบลหนองสาหร่าย
เมื่อทรงทราบว่าพม่าส่งทหารมาลาดตะเวน
ทรงแน่พระทัยว่าพม่าจะต้องโจมตีกรุงศรีอยุธยาเป็นแน่
จึงรับสั่งให้ทัพหน้าเข้าปะทะข้าศึกแล้ว ล่าถอยเพื่อลวงข้าศึกให้ประมาท
แล้วสมเด็จพระนเรศวรมหาราชกับสมเด็จพระเอกาทศรถทรงนาทัพหลวงออกมาช่
วย ช้างพระที่นั่งลองเชือกตกมันกลับเข้าไปในหมู่ข้าศึกแม่ทัพนายกองตามไม่ทัน
สมเด็จพระนเรศวรมหาราชตรัสท้าพระมหาอุปราชาทายุทธหัตถีและทรงได้รับชัย
ชนะ โดยทรงใช้พระแสงของ้าวฟันพระมหาอุปราชาขาดคาคอช้าง
พระแสงของ้าวนั้นได้รับการขนานนามในภายหลังว่า
พระแสงของ้าวเจ้าพระยาแสนพลพ่าย
ทางด้านสมเด็จพระเอกาทศรถได้ทรงกระทายุทธหัตถีมีชัยชนะแก่มังจาชโรเมื่อกอ
งทัพพม่าแตกพ่ายไปแล้วสมเด็จพระนเรศวรมาหาราชรับสั่งให้สร้างสถูปเจดีย์เพื่อเ
ป็นการเฉลิมพระเกียรติพระมหาอุปราชา
เสด็จแล้วจึงเลิกทัพกลับกรุงศรีอยุธยาเป็นอันจบเนื้อเรื่อง

More Related Content

What's hot

ใบงานที่1เรื่อง ลิลิตตะเลงพ่าย
ใบงานที่1เรื่อง ลิลิตตะเลงพ่ายใบงานที่1เรื่อง ลิลิตตะเลงพ่าย
ใบงานที่1เรื่อง ลิลิตตะเลงพ่ายkrunoree.wordpress.com
 
แบบฝึกการอ่านชุดที่ 1
แบบฝึกการอ่านชุดที่ 1แบบฝึกการอ่านชุดที่ 1
แบบฝึกการอ่านชุดที่ 1พัน พัน
 
ประวัติศาสตร์สุโขทัย
ประวัติศาสตร์สุโขทัยประวัติศาสตร์สุโขทัย
ประวัติศาสตร์สุโขทัยchatsawat265
 
โวหารภาพพจน์
โวหารภาพพจน์โวหารภาพพจน์
โวหารภาพพจน์krubuatoom
 
Key of 5 การสถาปนาธนบุรี
Key of 5 การสถาปนาธนบุรีKey of 5 การสถาปนาธนบุรี
Key of 5 การสถาปนาธนบุรีPracha Wongsrida
 
งานนำเสนอลิลิตเตลงพ่าย
งานนำเสนอลิลิตเตลงพ่ายงานนำเสนอลิลิตเตลงพ่าย
งานนำเสนอลิลิตเตลงพ่ายSantichon Islamic School
 
พุทธศาสนานิกายมหายาน
พุทธศาสนานิกายมหายานพุทธศาสนานิกายมหายาน
พุทธศาสนานิกายมหายานChainarong Maharak
 
วรรณคดีสมัยอยุธยาตอนกลาง
วรรณคดีสมัยอยุธยาตอนกลางวรรณคดีสมัยอยุธยาตอนกลาง
วรรณคดีสมัยอยุธยาตอนกลางNattha Namm
 
วิเคราะห์หลักสูตรไทย55
วิเคราะห์หลักสูตรไทย55วิเคราะห์หลักสูตรไทย55
วิเคราะห์หลักสูตรไทย55Nun'Top Lovely LoveLove
 
มงคลสูตรคำฉันท์
มงคลสูตรคำฉันท์มงคลสูตรคำฉันท์
มงคลสูตรคำฉันท์Krawchai Santadwattana
 
แบบทดสอบเสียงในภาษา
แบบทดสอบเสียงในภาษาแบบทดสอบเสียงในภาษา
แบบทดสอบเสียงในภาษาPiyarerk Bunkoson
 
วรรณกรรมเรื่องขุนช้างขุนแผน พร้อมแบบฝึกหัด
วรรณกรรมเรื่องขุนช้างขุนแผน พร้อมแบบฝึกหัดวรรณกรรมเรื่องขุนช้างขุนแผน พร้อมแบบฝึกหัด
วรรณกรรมเรื่องขุนช้างขุนแผน พร้อมแบบฝึกหัดThiranan Suphiphongsakorn
 

What's hot (20)

ใบงานที่1เรื่อง ลิลิตตะเลงพ่าย
ใบงานที่1เรื่อง ลิลิตตะเลงพ่ายใบงานที่1เรื่อง ลิลิตตะเลงพ่าย
ใบงานที่1เรื่อง ลิลิตตะเลงพ่าย
 
เศรษฐกิจ
เศรษฐกิจเศรษฐกิจ
เศรษฐกิจ
 
แบบฝึกการอ่านชุดที่ 1
แบบฝึกการอ่านชุดที่ 1แบบฝึกการอ่านชุดที่ 1
แบบฝึกการอ่านชุดที่ 1
 
ใบความรู้ เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก
ใบความรู้ เรื่อง มหาเวสสันดรชาดกใบความรู้ เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก
ใบความรู้ เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก
 
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Ppt[1]
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Ppt[1]คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Ppt[1]
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Ppt[1]
 
ประวัติศาสตร์สุโขทัย
ประวัติศาสตร์สุโขทัยประวัติศาสตร์สุโขทัย
ประวัติศาสตร์สุโขทัย
 
โวหารภาพพจน์
โวหารภาพพจน์โวหารภาพพจน์
โวหารภาพพจน์
 
Key of 5 การสถาปนาธนบุรี
Key of 5 การสถาปนาธนบุรีKey of 5 การสถาปนาธนบุรี
Key of 5 การสถาปนาธนบุรี
 
งานนำเสนอลิลิตเตลงพ่าย
งานนำเสนอลิลิตเตลงพ่ายงานนำเสนอลิลิตเตลงพ่าย
งานนำเสนอลิลิตเตลงพ่าย
 
พุทธศาสนานิกายมหายาน
พุทธศาสนานิกายมหายานพุทธศาสนานิกายมหายาน
พุทธศาสนานิกายมหายาน
 
ความสำคัญของพระมหากษัตริย์ต่อชาติไทย
ความสำคัญของพระมหากษัตริย์ต่อชาติไทยความสำคัญของพระมหากษัตริย์ต่อชาติไทย
ความสำคัญของพระมหากษัตริย์ต่อชาติไทย
 
ไทย
ไทยไทย
ไทย
 
วรรณคดีสมัยอยุธยาตอนกลาง
วรรณคดีสมัยอยุธยาตอนกลางวรรณคดีสมัยอยุธยาตอนกลาง
วรรณคดีสมัยอยุธยาตอนกลาง
 
การอ่านวรรณคดี ม.๕[1]
การอ่านวรรณคดี ม.๕[1]การอ่านวรรณคดี ม.๕[1]
การอ่านวรรณคดี ม.๕[1]
 
วิเคราะห์หลักสูตรไทย55
วิเคราะห์หลักสูตรไทย55วิเคราะห์หลักสูตรไทย55
วิเคราะห์หลักสูตรไทย55
 
มงคลสูตรคำฉันท์
มงคลสูตรคำฉันท์มงคลสูตรคำฉันท์
มงคลสูตรคำฉันท์
 
แบบทดสอบเสียงในภาษา
แบบทดสอบเสียงในภาษาแบบทดสอบเสียงในภาษา
แบบทดสอบเสียงในภาษา
 
วรรณกรรมเรื่องขุนช้างขุนแผน พร้อมแบบฝึกหัด
วรรณกรรมเรื่องขุนช้างขุนแผน พร้อมแบบฝึกหัดวรรณกรรมเรื่องขุนช้างขุนแผน พร้อมแบบฝึกหัด
วรรณกรรมเรื่องขุนช้างขุนแผน พร้อมแบบฝึกหัด
 
แบบฝึกหัด
แบบฝึกหัดแบบฝึกหัด
แบบฝึกหัด
 
ผลงานนักเรียนชั้น ม.6/1
ผลงานนักเรียนชั้น ม.6/1ผลงานนักเรียนชั้น ม.6/1
ผลงานนักเรียนชั้น ม.6/1
 

Similar to ลิลิตตะเลงพ่าย

ภาพตัวแทนของสมเด็จพระมหาธรรมราชาในวรรณกรรมไทย
ภาพตัวแทนของสมเด็จพระมหาธรรมราชาในวรรณกรรมไทยภาพตัวแทนของสมเด็จพระมหาธรรมราชาในวรรณกรรมไทย
ภาพตัวแทนของสมเด็จพระมหาธรรมราชาในวรรณกรรมไทยCUPress
 
วรรณคดีสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
วรรณคดีสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้นวรรณคดีสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
วรรณคดีสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้นParn Parai
 
9789740335887
97897403358879789740335887
9789740335887CUPress
 
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยfernbamoilsong
 
นิทานคำกลอน เรื่องพระอภัยมณี
นิทานคำกลอน เรื่องพระอภัยมณีนิทานคำกลอน เรื่องพระอภัยมณี
นิทานคำกลอน เรื่องพระอภัยมณีKritsadaporn Chamseang
 
นิทานคำกลอน เรื่องพระอภัยมณี
นิทานคำกลอน เรื่องพระอภัยมณีนิทานคำกลอน เรื่องพระอภัยมณี
นิทานคำกลอน เรื่องพระอภัยมณีKritsadaporn Chamseang
 
ตัวอย่างงานอ.รัชนีวรรณ
ตัวอย่างงานอ.รัชนีวรรณตัวอย่างงานอ.รัชนีวรรณ
ตัวอย่างงานอ.รัชนีวรรณNatthawan Chaemket
 
พัฒนาการยุโรปสมัยกลาง
พัฒนาการยุโรปสมัยกลางพัฒนาการยุโรปสมัยกลาง
พัฒนาการยุโรปสมัยกลางPannaray Kaewmarueang
 

Similar to ลิลิตตะเลงพ่าย (16)

ภาพตัวแทนของสมเด็จพระมหาธรรมราชาในวรรณกรรมไทย
ภาพตัวแทนของสมเด็จพระมหาธรรมราชาในวรรณกรรมไทยภาพตัวแทนของสมเด็จพระมหาธรรมราชาในวรรณกรรมไทย
ภาพตัวแทนของสมเด็จพระมหาธรรมราชาในวรรณกรรมไทย
 
วรรณคดีสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
วรรณคดีสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้นวรรณคดีสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
วรรณคดีสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
 
สมเด็จพระนารายณ์มหาราช
สมเด็จพระนารายณ์มหาราชสมเด็จพระนารายณ์มหาราช
สมเด็จพระนารายณ์มหาราช
 
9789740335887
97897403358879789740335887
9789740335887
 
สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช
สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช
สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช
 
สมเด็จพระนาราย์มหาราช
สมเด็จพระนาราย์มหาราชสมเด็จพระนาราย์มหาราช
สมเด็จพระนาราย์มหาราช
 
ประวัติรัชกาลที่ 3
ประวัติรัชกาลที่ 3ประวัติรัชกาลที่ 3
ประวัติรัชกาลที่ 3
 
สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ
สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ
สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ
 
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย
 
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย
 
นิทานคำกลอน เรื่องพระอภัยมณี
นิทานคำกลอน เรื่องพระอภัยมณีนิทานคำกลอน เรื่องพระอภัยมณี
นิทานคำกลอน เรื่องพระอภัยมณี
 
นิทานคำกลอน เรื่องพระอภัยมณี
นิทานคำกลอน เรื่องพระอภัยมณีนิทานคำกลอน เรื่องพระอภัยมณี
นิทานคำกลอน เรื่องพระอภัยมณี
 
ตัวอย่างงานอ.รัชนีวรรณ
ตัวอย่างงานอ.รัชนีวรรณตัวอย่างงานอ.รัชนีวรรณ
ตัวอย่างงานอ.รัชนีวรรณ
 
สมเด็พระนารายณ์มหาราช
สมเด็พระนารายณ์มหาราชสมเด็พระนารายณ์มหาราช
สมเด็พระนารายณ์มหาราช
 
พ่อขุนรามคำแหงมหาราช
พ่อขุนรามคำแหงมหาราชพ่อขุนรามคำแหงมหาราช
พ่อขุนรามคำแหงมหาราช
 
พัฒนาการยุโรปสมัยกลาง
พัฒนาการยุโรปสมัยกลางพัฒนาการยุโรปสมัยกลาง
พัฒนาการยุโรปสมัยกลาง
 

ลิลิตตะเลงพ่าย

  • 1. ลิลิตตะเลงพ่าย ลิลิตตะเลงพ่ายเป็นบทประพันธ์ประเภทลิลิต ประพันธ์ขึ้นโดยสมเด็จพระมหาสมณเจ้ากรมพระปรมานุชิตชิโนรสและ พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหมื่นภูบาลบริรักษ์ เพื่อสดุดีวีรกรรมของสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ในวาระงาน พระราชพิธีฉลองตึกวัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามในรัชกาลที่ 3 โดยตะเลงในที่นี้หมายถึง มอญ ที่มาของเรื่อง 1.พระราชพงศาวดารฉบับพันจันทนุมาศ(เจิม) 2.วรรณคดีเก่าเรื่อง ลิลิตยวนพ่ายลิลิตพระลอ 3.จินตนาการของผู้แต่ง คือ ช่วงบทนิราศ จุดมุ่งหมายในการแต่ง 1.เพื่อเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระนเรศวรมหาราช 2.ฉลองตึกวัดพระเชนตุพนฯ สมัย รัชกาลที่ 3 3.สร้างสมบารมีของผู้แต่ง(เพราะผู้แต่งขอไว้ว่าถ้าแต่งเสร็จขอให้สาเร็จสู่พระนิพพ าน ) ลักษณะการแต่ง แต่งด้วยลิลิตสุภาพประกอบด้วยร่ายสุภาพโคลงสองสุภาพโคลงสามสุภาพ และโคลงสี่สุภาพแต่งสลับกันไป จานวน 439 บท โดยได้แบบอย่างการแต่งมาจากลิลิตยวนพ่ายที่แต่งขึ้นในสมัยอยุธยาตอนต้น ลิลิตเปรียบได้กับงานเขียนมหากาพย์ จัดเป็นวรรณคดีประเภทเฉลิมพระเกียรติพระมหากษัตริย์ เนื้อเรื่องย่อ เริ่มด้วยการต้นชมพระบารมีและพระบรมเดชานุภาพของสมเด็จพระนเรศวรมหารา ช แล้วดาเนินความตามประวัติศาสตร์ว่าพระเจ้าหงสาวดีนันทบุเรงทรงทราบว่า สมเด็จพระมหาธรรมราชาเสด็จสวรรคต สมเด็จพระนเรศวรได้ครองราชสมบัติ พระองค์จึงตรัสปรึกษาขุนนางทั้งปวงว่ากรุงศรีอยุธยาผลัดเปลี่ยนกษัตริย์ สมเด็จพระนเรศวรและสมเด็จพระเอกาทศรถ พระพี่น้องทั้งสองอาจรบพุ่งชิงความเป็นใหญ่กันยังไม่รู้เหตุผลประการใด ควรส่งทัพไปเหยียบดินแดนไทยเป็นการเตือนสงครามไว้ก่อน ถ้าเหตุการณ์เมืองไทยไม่ปกติสุขก็ให้โจมตีทันที ขุนนางทั้งหลายก็เห็นชอบตามพระราชดารินั้นพระจ้าหงสาวดีจึงตรัสให้ พระมหาอุปราชเตรียมทัพร่วมกับพระมหาราชเจ้านครเชียงใหม่ แต่พระมหาอุปราชากราบทูลพระบิดาว่าโหรทายว่าชันษาของพระองค์ร้ายนัก สมเด็จพระเจ้าหงสาวดีตรัสว่าพระมหาธรรมราชาไม่เสียแรงมีโอรสล้วนแต่เชี่ยวชา ญกล้าหาญในศึกมิเคยย่อท้อการสงคราม ไม่เคยพักให้พระราชบิดาใช้เลยต้องห้ามเสียอีกผิดกับพระองค์ และให้พระมหาอุปราชาไปเอาภัสตราภรณ์สตรีมาทรงเสีย พระมหาอุปราชาทรงอับอายและหวาดกลัวพระราชอาญาของพระบิดายิ่งนัก จึงเตรียมจัดทัพหลวงและทัพหัวเมืองต่างๆ เพื่อยกมาตีไทย
  • 2. ขณะนั้นสมเด็จพระนเรศวรเตรียมทัพจะไปตีกัมพูชาเป็นการแก้แค้นที่ถือโอกาสรุก รานไทยหลายครั้งระหว่างที่ไทยติดศึกกับพม่า พอสมเด็จพระนเรศวรทรงทราบข่าวศึกก็ทรงถอนกาลังไปสู้รบกับพม่าทันที ทัพหน้ายกล่วงหน้าไปตั้งที่ตาบลหนองสาหร่าย ฝ่ายพระมหาอุปราชาทรงคุมทัพมากับพระเจ้าเชียงใหม่รี้พลรบ 5 แสน เข้ามาทางด่านเจดีย์สามองค์ ทรงชมไม้ ชมนก ชมเขา และคร่าครวญถึงพระสนมกานัลมาตลอดจนผ่านไทรโยคลากระเพิน และเข้ายึดเมืองกาญจนบุรีได้โดยสะดวก ต่อจากนั้นก็เคลื่อนพลผ่านพนมทวนเกิดลางร้ายลมเวรัมภาพัดฉัตรหัก ทรงตั้งค่ายหลวงที่ตาบลตระพังตรุ ฝ่ายสมเด็จพระนเรศวรและสมเด็จพระเอกาทศรถทรงเคลื่อนพยุหยาตราทางชลมา รค ไปขึ้นบกที่ปากโมก บังเกิดศุภนิมิต ต่อจากนั้นทรงกรีฑาทัพทางบกไปตั้งค่ายที่ตาบลหนองสาหร่าย เมื่อทรงทราบว่าพม่าส่งทหารมาลาดตะเวน ทรงแน่พระทัยว่าพม่าจะต้องโจมตีกรุงศรีอยุธยาเป็นแน่ จึงรับสั่งให้ทัพหน้าเข้าปะทะข้าศึกแล้ว ล่าถอยเพื่อลวงข้าศึกให้ประมาท แล้วสมเด็จพระนเรศวรมหาราชกับสมเด็จพระเอกาทศรถทรงนาทัพหลวงออกมาช่ วย ช้างพระที่นั่งลองเชือกตกมันกลับเข้าไปในหมู่ข้าศึกแม่ทัพนายกองตามไม่ทัน สมเด็จพระนเรศวรมหาราชตรัสท้าพระมหาอุปราชาทายุทธหัตถีและทรงได้รับชัย ชนะ โดยทรงใช้พระแสงของ้าวฟันพระมหาอุปราชาขาดคาคอช้าง พระแสงของ้าวนั้นได้รับการขนานนามในภายหลังว่า พระแสงของ้าวเจ้าพระยาแสนพลพ่าย ทางด้านสมเด็จพระเอกาทศรถได้ทรงกระทายุทธหัตถีมีชัยชนะแก่มังจาชโรเมื่อกอ งทัพพม่าแตกพ่ายไปแล้วสมเด็จพระนเรศวรมาหาราชรับสั่งให้สร้างสถูปเจดีย์เพื่อเ ป็นการเฉลิมพระเกียรติพระมหาอุปราชา เสด็จแล้วจึงเลิกทัพกลับกรุงศรีอยุธยาเป็นอันจบเนื้อเรื่อง