SlideShare a Scribd company logo
1 of 10
Download to read offline
หน้ าทีของเลขานุการ
                                            ่
                                           **************

        ๑.     เรียนรูเกียวกับเทคนิคในการปฏิบตของสํานักงาน
                         ้ ่                    ั ิ
        ๒.     รับผิดชอบจดหมายและเอกสารต่างๆทีสงมายังสํานักงานและส่งออก
                                                    ่่
        ๓.     รูวธเี ก็บเอกสารต่างๆ
                 ้ิ
        ๔.     รูจกใช้โทรศัพท์และส่งโทรเลข
                 ้ั
        ๕.    ต้อนรับผูทมาติดต่องาน
                            ้ ่ี
        ๖.    ช่วยตระเตรียมการเดินทางต่างๆได้
        ๗.     รูวธรางบันทึกเอกสารทางกฎหมายและวิเคราะห์สถิตและกราฟ
                 ้ิี่                                      ิ
        ๘.    หน้าทีเลขานุ การในทีประชุม
                      ่               ่
        ๙.    การควบคุมดูแลเกียวกับการเงิน
                                  ่
        ๑๐.   จัดหาอุปกรณ์และวัสดุไว้ใช้ในสํานักงาน
        ๑๑.    รูวธใช้หนังสือต่างๆ เป็ นคูมอในการปฏิบตงาน
                  ้ิี                    ่ ื           ั ิ
        ๑๒.    หน้าทีเกียวกับการเตรียมสุนทรพจน์
                        ่ ่
        ๑๓.   มีหน้าทีเกียวข้องกับสภาพของทีทางาน
                          ่ ่                 ่ ํ
        ๑๔.    ความผิดพลาดในทีทางาน ่ ํ
        ๑๕.   การวางแผนงาน

                                                 เลขานุการ
       เลขานุการทางคณะสงฆ์ เป็ นตําแหน่งซึงบัญญัตไว้ในกฎมหาเถรสมาคมฉบับที่ ๒๓ และบัญญัตหน้าทีไว้วา
                                             ่       ิ                                            ิ        ่ ่
   "ทําหน้าทีการเลขานุการ" เจ้าคณะชันตําบล อําเภอ จังหวัด ภาค หน เป็ นตําแหน่งทีมปริมาณงานมากและ
               ่                         ้                                        ่ ี
    ขอบเขตกว้างขวาง งานซึงเกียวกับการเลขานุ การย่อมมีมาก ต้องจัดผูทาหน้าทีไว้โดยตรง ท่านบัญญัตให้
                              ่ ่                                      ้ ํ     ่                         ิ
เลขานุการมีเฉพาะหน้าที่ มิได้ให้มอานาจดังเช่นตําแหน่งอื่น แม้เจ้าคณะจะมอบหมายอํานาจ ก็หามีอานาจตามที่
                                   ีํ                                                           ํ
 มอบหมายไม่ จึงแตกต่างจากตําแหน่งรองเจ้าคณะ รองเจ้าอาวาส และผูชวยเจ้าอาวาส ซึงตําแหน่งรองเจ้าคณะ
                                                                      ้่              ่
  เป็ นต้นนี้ ตามปกติเป็ นตําแหน่งไม่มอานาจหน้าที่ แต่เมือเจ้าคณะหรือเจ้าอาวาสมอบหมายแล้ว ย่อมมีอานาจ
                                      ีํ                ่                                              ํ
   หน้าทีอย่างสมบูรณ์ เพราะเป็ นตําแหน่งพระสังฆาธิการซึงบัญญัตไว้เพือใช้อานาจหน้าทีชวยผูบงคับบัญชา
          ่                                                ่      ิ ่ ํ                 ่ ่ ้ ั
                                                   โดยตรง
          ส่วนตําแหน่งเลขานุการนัน มิได้บญญัตให้เป็ นพระสังฆาธิการ บัญญัตให้มเี ฉพาะหน้าทีและมีขนโดยมิ
                                   ้       ั   ิ                            ิ               ่       ้ึ
ต้องมอบหมาย ถ้าดูเพียงผิดเผิน จะเข้าใจว่า เลขานุ การเป็ นตําแหน่งทีไม่มความสําคัญ เพราะไม่เป็ นพระสังฆาธิ
                                                                       ่ ี
การ จะเอาตําแหน่งเป็ นฐานพิจารณาความชอบดังเช่นตําแหน่งรองเจ้าคณะ รองเจ้าอาวาสและผูชวยเจ้าอาวาสก็
                                                                                            ้่
                                                       มิได้
         แต่ถาได้พจารณาโดยโยนิโสมนสิการแล้ว จะเห็นว่า เลขานุการเป็ นตําแหน่งทีมความสําคัญต่องานคณะ
             ้      ิ                                                                 ่ ี
สงฆ์เป็ นอย่างยิง ถึงมิใช่ตาแหน่งทีเป็ นฐานพิจารณาความชอบโดยตรง แต่กเป็ นตําแหน่งทีเป็ นฐานแห่งการสร้าง
                 ่          ํ         ่                                    ็              ่
 ความดีความชอบ เป็ นตําแหน่งทีผใหญ่ดอย่างมีดุลยพินิจ ตําแหน่งผูปกครองสงฆ์ทกตําแหน่ง เป็ นตําแหน่งทีม ี
                                    ่ ู้     ู                       ้              ุ                 ่
 การเลขานุการด้วยกันทังนัน ตําแหน่งใดมีเลขานุ การ การเลขานุ การในตําแหน่งนันก็เป็ นหน้าทีของเลขานุการ
                           ้ ้                                                   ้          ่
                   ตําแหน่งใดไม่มเี ลขานุ การ ผูดารงตําแหน่งนันต้องทําหน้าทีการเลขานุการเอง
                                                ้ ํ           ้              ่
            เบืองต้น ขอให้ศกษาความหมายของคําว่า "เลขานุการ" และของคําอื่นซึงมีรปคล้ายคลึงกัน แต่ม ี
               ้               ึ                                                   ่ ู
   ความหมายแตกต่างกัน เป็ นคําทีใช้อยูในทางการคณะสงฆ์และทางราชการซึงควรได้ทราบความหมาย คือ
                                         ่ ่                                   ่
                                           "เลขานุการ" และ "เลขาธิการ"

        เลขานุการ
        ศัพท์เดิมเป็ น เลขา+อนุ+การ แปลว่า "ผูทาน้อยกว่าเขียน" "ผูทาตามรอยเขียน" หรือ "ผูทางานตามคําสัง"
                                               ้ ํ                  ้ ํ                  ้ ํ          ่
พจนานุ กรมราชบัญฑิตยสถาน ให้ความหมายว่า "ผูทาหน้าทีเกียวกับหนังสือตามผูใหญ่สง" ท่านผูรกล่าวว่า
                                                     ้ ํ      ่ ่              ้   ั่        ้ ู้
เลขานุการในภาษาลาติน ตรงกับคําว่า "ความลับ" และอธิบายว่า "เลขานุการเป็ นผูรความลับในสํานักงาน"
                                                                              ้ ู้
"เลขานุ การเป็ นผูเก็บความลับของผูบงคับบัญชา" ดังนัน จึงพอกล่าวได้วา "เลขานุการเป็ นอุปกรณ์ของผูปกครอง
                  ้                ้ ั                    ้             ่                         ้
สงฆ์ชนเจ้าคณะ หรือผูบริหารงานราชการ หรือผูบริหารงานธุรกิจ"
     ั้                 ้                       ้
        เลขานุการนันมิใช่เพียงแต่รอทํางานตามสังเท่านัน
                      ้                            ่        ้
        เลขานุการจะยกร่างแผนงานเสนอผูบงคับบัญชาพิจารณาก็ยอมกระทําได้
                                           ้ ั                    ่
        เลขานุการเป็ นผูเก็บความลับในวงงาน
                          ้
        แม้จะเป็ นตําแหน่งช่วยเหลือผูบงคับบัญชา ก็ถอได้วาเป็ นตําแหน่งทีสาคัญ
                                       ้ ั               ื ่              ่ํ

         เลขาธิการ
         ศัพท์เดิมเป็ น เลขา+อธิ+การ แปลว่า "ผูทายิงกว่าเขียน" หมายถึง "ผูสงงาน" "ผูบงคับบัญชาหน่วยงาน"
                                               ้ ํ ่                      ้ ั่      ้ ั
พจนานุ กรมราชบัญฑิตยสถาน ให้ความหมายว่า "ผูเป็ นหัวหน้าทํางานหนังสือโดยสิทธิ ์ขาด" โดยความ เลขาธิการ
                                                   ้
เป็ นผูมอานาจเต็มในหน่วยงานนัน ๆ
       ้ ีํ                      ้

เลขานุการทางการคณะสงฆ์
  ส่วนเลขานุ การในคณะสงฆ์ ตามกฎมหาเถรสมาคมฉบับที่ ๒๓ กําหนดตําแหน่งเลขานุการไว้ ๘ ตําแหน่ง
ได้แก่

         ๑. เลขานุ การเจ้าคณะใหญ่
         ๒. เลขานุ การเจ้าคณะภาค
         ๓. เลขานุการรองเจ้าคณะภาค
         ๔. เลขานุ การเจ้าคณะจังหวัด
         ๕. เลขานุ การรองเจ้าคณะจังหวัด
         ๖. เลขานุ การเจ้าคณะอําเภอ
         ๗ .เลขานุการรองเจ้าคณะอําเภอ
         ๘. เลขานุ การเจ้าคณะตําบล

       และยังมีเลขานุ การซึงแต่งตังตามจารีต เช่น เลขานุ การสมเด็จพระสังฆราช เลขานุ การแม่กองธรรม
                           ่      ้
สนามหลวง ซึงเลขานุ การทางคณะสงฆ์ทุกตําแหน่ง มิได้เป็ นพระสังฆาธิการ แต่เป็ นอุปกรณ์การปฏิบตงานของ
            ่                                                                               ั ิ
พระสังฆาธิการ หรือ ผูบงคับบัญชาซึงมีความสําคัญยิง ประเภทแห่งเลขานุ การ
                     ้ ั            ่             ่

       การเลขานุ การ ได้แก่การปฏิบตงานสารบรรณสนองผูบงคับบัญชา หรือตามทีผบงคับบัญชาสังการ การ
                                     ั ิ                   ้ ั                    ่ ู้ ั            ่
เสนอแนะเกียวกับการปฏิบติ การรักษาความลับหรือข้อความอันไม่ควรเปิ ดเผยของหน่วยงาน การติดต่อ
           ่             ั
ประสานงานแทนผูบงคับบัญชา การดังกล่าวนี้ เป็ นงานในหน้าทีของเลขานุการ และเป็ นงานทีมอยูในหน่วยงาน
                 ้ ั                                           ่                            ่ ี ่
ทัวไป เช่น หน่วยงานคณะสงฆ์ หน่วยงานราชการ หน่วยงานรัฐวิสาหกิจ หน่วยงานธุรกิจ หน่วยงานรูป
  ่
คณะกรรมการ ดังนัน ตําแหน่งเลขานุการจึงมีมาก จนพูดถึงเลขานุการแล้วเป็ นทีทราบกันโดยทัวไป และเมือจะ
                   ้                                                          ่                ่      ่
กล่าวโดยประเภท เลขานุการมี ๔ ประเภท ได้แก่
       ๑. เลขานุการประจําตําแหน่ง ได้แก่ เลขานุ การประจําในตําแหน่ งต่าง ๆ เช่น เลขานุการกรม เลขานุ การ
เจ้าคณะใหญ่ และ เลขานุ การเจ้าคณะภาค
       ๒. เลขานุการส่วนตัว ได้แก่เลขานุการส่วนบุคคลหรือส่วนตัวของบุคคลใดบุคคลหนึ่ง
       ๓. เลขานุการกิตติมศักดิ ์ ได้แก่ เลขานุ การผูปฏิบตงานเพือเกียรติอย่างเดียวมิได้มงหวังค่าตอบแทน
                                                    ้ ั ิ        ่                       ุ่
       ๔. เลขานุการพิเศษ ได้แก่เลขานุ การผูดารงตําแหน่งอื่นอยูแล้ว แต่รบตําแหน่งเลขานุ การเพิมอีก เช่น
                                               ้ ํ                 ่     ั                        ่
เลขานุการคณะกรรมการ เลขานุการทีประชุม ่

คุณสมบัติของเลขานุการ

         ตามกฎมหาเถรสมาคม ฉบับที่ ๒๔ (พ.ศ.๒๕๔๑) ไม่ได้ระบุคุณสมบัตของเลขานุ การในระดับต่าง ๆ ไว้
                                                                  ิ
โดยตรง แต่กาหนดให้พระภิกษุผจะเป็ นเลขานุ การของเจ้าคณะชันนัน ๆ ต้องมีคุณสมบัตตามความในข้อ ๖ โดย
                       ํ                   ู้                    ้ ้               ิ
   อนุโลม คุณความดีเฉพาะตัวของผูจะได้รบแต่งตังเป็ นเลขานุ การ ชือว่า "คุณสมบัตของเลขานุ การ"
                                              ้   ั ้               ่          ิ
              เลขานุการเจ้าคณะนัน กําหนดคุณสมบัตให้อนุ โลมตามคุณสมบัตทวไปของพระสังฆาธิการ ซึงแยกเป็ น
                                       ้              ิ                ิ ั่                      ่
   ๗ คือ
              ๑. มีพรรษาสมควรแก่ตาแหน่ง  ํ
              ๒. มีความรูสมควรแกตําแหน่ง
                               ้
              ๓. มีความประพฤติเรียบร้อยตามพระธรรมวินย        ั
              ๔. เป็ นผูฉลาดสามารถในการปกครองคณะสงฆ์
                          ้
                              ้ ี่                             ิ ั่
              ๕. ไม่เป็ นผูมรางการทุพพลภาพ ไร้ความสามารถ มีจตฟนเฟือนไม่สมประกอบ หรือเป็ นโรคเรือน หรือ
                                                                                                   ้
   เป็ นวัณโรคในระยะอันตรายจนเป็ นทีน่ารังเกียจ ่
              ๖. ไม่เคยต้องคําวินิจฉัยลงโทษในอธิกรณ์ทพงรังเกียจมาก่อน
                                                        ่ี ึ
              ๗. ไม่เคยถูกถอดถอนหรือปลดออกจากตําแหน่งใดเพราะความผิดมาก่อน
              อนึ่ง ในข้อ ๔ แห่งกฎมหาเถรสมาคมฉบับนี้ หมายถึง พระสังฆาธิการทัง ๑๒ ระดับ ตังแต่เจ้าคณะใหญ่
                                                                            ้            ้
   ลงมาถึง ผูชวยเจ้าอาวาส เมือจะพ้นจากตําแหน่งหน้าที่ ย่อมพ้นตามความในข้อ ๓๖ แห่งกฎมหาเถรสมาคมฉบับ
                 ้ ่                 ่
   นี้เท่านัน ส่วนเลขานุ การทุกระดับ ย่อมพ้นจากหน้าทีได้ ๒ กรณี ได้แก่
            ้                                              ่
              ๑. ในเมือผูแต่งตังให้พนจากหน้าที่
                         ่ ้       ้ ้
              ๒. ผูแต่งตังพ้นจากหน้าที่
                     ้      ้


         ข้อบกพร่องต่าง ๆ ยังมีอกมาก ล้วนแต่เป็ นอุปสรรคให้เลขานุการปฏิบตงานในหน้าทีไม่ได้ผลดี
                                ี                                         ั ิ       ่
เท่าทีควร
      ่
ผูจะเป็ นเลขานุการได้ดี และจะเจริญก้าวหน้าเพราะอาศัยงานเลขานุการเป็ นพืนฐานนัน จะต้องเป็ นผูมลกษณะ
  ้                                                                     ้     ้             ้ ีั
พิเศษ ๕ อย่าง ได้แก่
         ๑. มีความคิดริเริมทีดี
                          ่ ่
         ๒. มีความเตรียมพร้อมทางจิตใจ
         ๓. วางตนเหมาะสม
         ๔. ปรารถนาความก้าวหน้า
         ๕. มีความแม่นยําและประณีต
หน้ าที่ของเลขานุการ

         เลขานุการทางคณะสงฆ์ เป็ นตําแหน่งพิเศษตําแหน่งหนึ่ง ซึงบัญญัตไว้เพือช่วยเหลือในการปฏิบตงาน
                                                                 ่     ิ ่                       ั ิ
ของเจ้าคณะผูปกครองสงฆ์ โดยกําหนดให้มหน้าทีพร้อมกับการแต่งตัง แต่ไม่มอานาจดังเช่นเจ้าคณะ หน้าที่
                 ้                         ี       ่               ้     ีํ
เลขานุการคณะสงฆ์นน บัญญัตไว้โดยสรุปว่า "ทําหน้าทีการเลขานุการ" มิได้แยกรายละเอียดแห่งหน้าทีไว้ดง
                      ั้      ิ                      ่                                         ่ ั
อํานาจหน้าทีของเจ้าคณะหรือเจ้าอาวาส
               ่
         แต่คาว่า "การเลขานุการ" นัน เป็ นคําทีมความหมายกว้างขวาง เจ้าคณะผูบงคับบัญชามีอานาจหน้าที่
             ํ                     ้           ่ ี                           ้ ั         ํ
ขยายกว้างเพียงใด การเลขานุการย่อมขยายตามเพียงนัน หน้าทีการเลขานุ การในการปกครอง การศาสน
                                                       ้       ่
ศึกษา การศึกษาสงเคราะห์ การเผยแผ่พระพุทธศาสนา การสาธารณูปการ การสาธารณสงเคราะห์ และการ
นิคหกรรม ย่อมเป็ นหน้าทีของเลขานุ การ แต่เลขานุ การปฏิบตในฐานะช่วยเหลือผูบงคับบัญชา มิได้ปฏิบตใน
                           ่                             ั ิ                ้ ั                 ั ิ
ฐานะผูบงคับบัญชา เพือสะดวกแก่การศึกษา จึงประมวลหน้าทีของเลขานุการทางคณะสงฆ์ทเี่ ห็นว่าสําคัญ ๗
       ้ ั               ่                                   ่
อย่าง ได้แก่

       ๑. จัดการทุกอย่างเกียวกับงานสารบรรณ
                           ่
       ๒. รักษาผลประโยชน์และทรัพย์สนของสํานักงาน
                                      ิ
       ๓. ควบคุมดูแลกิจการต่าง ๆ ของสํานักงาน
       ๔. จัดหาอุปกรณ์การปฏิบตงาน และอุปกรณ์ทางวิชาการไว้ประจําสํานักงาน
                                ั ิ
       ๕. เป็ นภาระเกียวกับการประชุม
                      ่
       ๖. ประสานกับพระสังฆาธิการและหน่วยงานหรือบุคคลผูเกียวข้อง
                                                      ้ ่
       ๗. ช่วยเหลือด้านสวัสดิการสังคม

หน้ าที่ทวไปของเลขานุการ
         ั่

       เลขานุ การมีหน้าทีทจะต้องปฏิบตโดยทัว ๆ ไป ดังนี้
                          ่ ่ี          ั ิ        ่
       ๑. เก็บรักษาเอกสารต่าง ๆ
       ๒. จัดการโต้ตอบหนังสือต่าง ๆ
       ๓. รับนัดหมายการพบปะ และแจ้งให้ผบงคับบัญชาทราบ
                                                ู้ ั
       ๔. รักษาผลประโยชน์สวนตัวของผูบงคับบัญชา
                               ่            ้ ั
       ๕. รักษาผลประโยชน์ของส่วนรวม, ของสํานักงาน, หรือของสถาบัน
       ๖. จัดทําธุรกิจต่าง ๆ ซึงเป็ นงานของสํานักงานตามทีผบงคับบัญชามอบหมาย
                                 ่                       ่ ู้ ั
๗. รักษาความลับของทางการคณะสงฆ์ หรือตําแหน่งหน้าทีทประจําอยู่ หรือของสํานัก
                                                                       ่ ่ี
๘. รูจกปฏิสนถารผูมาติดต่อมิให้เก้อเขิน
     ้ั       ั      ้
๙. จัดการดําเนินงานให้เป็ นไปด้วยดี
๑๐. ดูแล รักษาการเงิน ตลอดจนบัญชีต่าง ๆ
๑๑. จัดวางระเบียบต่าง ๆ ในสํานัก
๑๒. รักษาระเบียบวินยในการปฏิบตงานให้เป็ นไปด้วยดี
                            ั                    ั ิ
๑๓. แจ้งกําหนดการประชุม
๑๔. จัดระเบียบวาระการประชุม
๑๕. ทําบันทึกรายงานการประชุม
๑๖. จัดให้ความสะดวกแก่ทประชุม         ่ี
๑๗. ควบคุมดูแลกิจการของสํานักงาน ตลอดจนงานในหน้าทีอ่น ๆ ให้ดาเนินไปด้วยดี
                                                                        ่ ื      ํ
๑๘. เป็ นสือกลางในการติดต่อประสานงาน
          ่
๑๙. ทํางานด่วนให้เสร็จภายในเวลาอันรวดเร็ว ไม่ปล่อยงานให้คงค้างอากูล         ั่
๒๐. มีกาลัญญุตา รูจกกาลทีควรช้าและควรด่วน อย่าด่วนในกาลทีควรช้าอย่าชักช้าในการทีควรด่วน
                         ้ั              ่                                     ่            ่
๒๑. ถ้ามีสานักงาน ควรมาทํางานก่อนเวลา จัดสิงของและโต๊ะทํางานให้เรียบร้อย
            ํ                                                      ่
๒๒. คอยเอาใจใส่ผบงคับบัญชา เช่นเตือนให้ไปประชุม หรือไปพบปะกับผูทนดหมายอื่น ๆ
                       ู้ ั                                                        ้ ่ี ั
๒๓. ถ้ามีการประชุม ก็จดการให้ความสะดวกเรียบร้อย ตลอดจนจัดเอกสารต่าง ๆ ในการประชุม
                                ั
๒๔. จัดทําหนังสือเสนอผูบงคับบัญชา ้ ั
๒๕. จัดส่งหนังสือทีผบงคับบัญชาลงนามแล้วไปยังสถานทีต่าง ๆ หรือบุคคลนัน ๆ
                        ่ ู้ ั                                       ่                    ้
๒๖. พิมพ์หนังสือ หรือเอกสารอื่น ๆ ทีผบงคับบัญชาสัง่  ่ ู้ ั
๒๗. ไปทําธุระนอกสถานทีทผบงคับบัญชาสังให้ไป
                                    ่ ่ ี ู้ ั                  ่
๒๘. เป็ นหูเป็ นตาแทนผูบงคับบัญชา
                               ้ ั
๒๙. จัดทําเอกสาร หรือบัญชีต่าง ๆ ตามทีผบงคับบัญชาสัง่       ่ ู้ ั
๓๐. ช่วยเหลือผูบงคับบัญชาในเรืองส่วนตัว
                 ้ ั                           ่

คุณสมบัตทวไปของเลขานุการ
        ิ ั่

       นอกจากคุณสมบัตตามทีกล่าวไว้ในกฎมหาเถรสมาคม ฉบับที่ ๒๔ ข้อ ๖ แล้ว เลขานุ การ จะต้อง
                      ิ   ่
มีคุณสมบัตทวไป ดังนี้
          ิ ั่
๑. มีความรูดทงทางทฤษฎีและทางปฏิบติ
                                 ้ ี ั้                        ั
        ๒. เป็ นผูมนิสยดี เยือกเย็น ยิมแย้มแจ่มใสอยูเสมอ
                        ้ ี ั                         ้            ่
        ๓. เป็ นผูอดทนไม่หลีกเลียงการงาน
                    ้                           ่
        ๔. เป็ นผูมบุคลิกลักษณะดี นํามาซึงศรัทธาปสาทะแก่ผได้รจก และสมาคมด้วย
                       ้ ี                                ่                 ู้ ู้ ั
        ๕. เป็ นผูรกษาความสะอาดทังกาย และการงาน
                  ้ั                                    ้
        ๖. ต้องทํางานโดยรวดเร็วทันใจและว่องไว
        ๗. เป็ นผูชอบคิดค้นคว้า หมันศึกษาหาความรูเพิมเติม
                         ้                          ่                ้ ่
        ๘. เป็ นผูละเอียดรอบคอบและเอาใจใส่ในกิจการงานทีทาทุกอย่างเกียวกับหน้าทีของตน
                  ้                                                       ่ ํ        ่         ่
        ๙. เป็ นผูรงาน และสถานทีต่าง ๆ ทีจะต้องติดต่อ และรูจกระเบียบการงานของสถานทีทจะต้องไป
                      ้ ู้                        ่         ่               ้ั                   ่ ่ี
ติดต่อนันดี
        ้
        ๑๐. เป็ นผูฉลาดหลักแหลม มีปฏิภาณ รูจกกาลเทศะ (กาลัญญุตา และปริสญญุตา)
                           ้                                  ้ั                           ั
        ๑๑. เป็ นผูรจกประมาณตน (อัตตัญญุตา)
                             ้ ู้ ั
        ๑๒. เป็ นผูมอาจาระ คือจรรยามารยาทดี
                               ้ ี
        ๑๓. เป็ นผูมความริเริมดี
                              ้ ี         ่
        ๑๔. เป็ นผูชางสังเกต  ้่
        ๑๕. มีความขยันหมันฝึกหัดการงานในหน้าทีจากบุคคล หรือจากหนังสือ
                                        ่                        ่
        ๑๖. มีความจริงใจต่องานในหน้าที่ ทําจริง และตังใจจริง เพือให้งานสําเร็จลุล่วงไปด้วยดี
                                                                       ้       ่
        ๑๗. มีความเชือมันในตัวเอง   ่ ่
        ๑๘. มีความรักในงานทีทา                ่ ํ
        ๑๙. ฉลาดในการปฏิสนถาร               ั
        ๒๐. พยายามทํางานในหน้าที่ หรืองานพิเศษทีได้รบมอบหมายให้ดทสดเท่าทีสามารถทําได้
                                                                      ่ ั           ี ่ี ุ   ่

ข้อบกพร่องของเลขานุการ

       เมือได้กล่าวถึงคุณสมบัตทวไปของเลขานุ การแล้ว ก็ควรจะได้กล่าวถึงข้อบกพร่องของเลขานุการ
         ่                     ิ ั่
ไว้ดวย เพือกําจัดให้หมดไป หรือให้บกพร่องน้อยทีสด ได้แก่
    ้      ่                                  ุ่
       ๑. เขียนหนังสือผิด ตก ๆ หล่น ๆ หรือพิมพ์หนังสือผิดมาก ๆ
       ๒. เขียนหนังสือไม่เรียบร้อย ขาดวรรคตอน ใช้เครืองหมายไม่ถกต้อง
                                                     ่         ู
       ๓. เขียนหรือพิมพ์ตวเลขเลอะเลือนอ่านยาก หรือขาดบ้าง เกินบ้าง
                          ั
๔. เก็บหนังสือและเอกสารต่าง ๆ ผิดที่
      ๕. มีความหลงลืมเสมอ ๆ
      ๖. บวก ลบ คูณ หาร เลขผิด
      ๗. มีนิสยสะเพร่า ไม่ได้พนิจพิเคราะห์ให้รอบคอบ ปฏิบตงานบกพร่องบ่อย ๆ
              ั                 ิ                           ั ิ
      ๘. ทํางานซํ้า ๆ ซาก ๆ เพราะผิดบ่อย ๆ
      ๙. ทําเอกสารหาย
      ๑๐. ชักช้า โอ้เอ้ อืดอาด เสียเวลา
      ๑๑. จิตใจเลือนลอย ไม่เอาใจใส่ต่อหน้าที่ หรือเข้าใจคําสังผิด
                    ่                                          ่
      ๑๒. ลงรายการต่าง ๆ ในบัญชีผด    ิ
      ๑๓. ไม่ระมัดระวังเครืองใช้สอยต่าง ๆ
                            ่
      ๑๔. ไม่ชานาญในการใช้เครืองมือ เครืองใช้สอย เช่นเครืองพิมพ์ดด หรืออุปกรณ์อย่างอื่น ๆ
                  ํ                ่      ่                  ่    ี
      ๑๕. ไม่รกงาน ขาดการเอาใจใส่ ทอดทิงหน้าที่
                ั                           ้
      ๑๖. ทํางานโดยปราศจากแผนการ

ฯลฯ หน้าทีประจําของเลขานุการ
          ่                             หากสํานักงานใด หรือสถาบันใด ได้วางระเบียบปฏิบตกาหนด
                                                                                     ั ิ ํ
หน้าทีเลขานุการไว้จะต้องทําเป็ นประจํา เลขานุ การต้องทําตามระเบียบปฏิบตนน ๆ โดยเคร่งครัด
      ่                                                               ั ิ ั้
สํานักงานเจ้าคณะกับเลขานุ การเจ้าคณะ

      สํานักงานเจ้าคณะ ซึงหมายถึงทีทาการของเจ้าคณะหรือศูนย์รวมงานการคณะสงฆ์และการพระ
                         ่         ่ ํ
ศาสนาของเจ้าคณะชันนัน ๆ ย่อมมีความผูกพันกับเลขานุ การเจ้าคณะอย่างแยกไม่ขาด หากจะกําหนด
                  ้ ้
รูปแบบ คงได้ดงนี้
             ั

       ๑. สํานักงานเจ้าคณะใหญ่
             ผูบงคับบัญชา เจ้าคณะใหญ่
                   ้ ั
             ผูทาการเลขานุการ เลขานุ การเจ้าคณะใหญ่
                 ้ ํ
       ๒. สํานักงานเจ้าคณะภาค
             ผูบงคับบัญชา เจ้าคณะภาค
                  ้ ั
             ผูชวยผูบงคับบัญชา รองเจ้าคณะภาค
                ้ ่ ้ ั
             ผูทาการเลขานุการ เลขานุ การเจ้าคณะภาค
               ้ ํ
ผูชวยผูทาการเลขานุการ เลขานุการรองเจ้าคณะภาค
                         ้ ่ ้ ํ
       ๓. สํานักงานเจ้าคณะจังหวัด
             ผูบงคับบัญชา เจ้าคณะจังหวัด
                        ้ ั
             ผูชวยผูบงคับบัญชา รองเจ้าคณะจังหวัด
                       ้ ่ ้ ั
             ผูทาการเลขานุการ เลขานุการเจ้าคณะจังหวัด
                      ้ ํ
             ผูชวยผูทาการเลขานุการ เลขานุการรองเจ้าคณะจังหวัด
                     ้ ่ ้ ํ
       ๔. สํานักงานเจ้าคณะอําเภอ
             ผูบงคับบัญชา เจ้าคณะอําเภอ
                    ้ ั
             ผูชวยผูบงคับบัญชา รองเจ้าคณะอําเภอ
                   ้ ่ ้ ั
             ผูทาการเลขานุการ เลขานุการเจ้าคณะอําเภอ
                  ้ ํ
             ผูชวยผูทาการเลขานุการ เลขานุ การรองเจ้าคณะอําเภอ
                 ้ ่ ้ ํ
       ๕. สํานักงานเจ้าคณะตําบล
            ผูบงคับบัญชา เจ้าคณะตําบล
              ้ ั
            ผูชวยผูบงคับบัญชา รองเจ้าคณะตําบล
               ้ ่ ้ ั
            ผูทาการเลขานุการ เลขานุ การเจ้าคณะตําบล
                ้ ํ

วิธีแต่งตังเลขานุการ
          ้

          เลขานุ การเจ้าคณะ และ เลขานุการรองเจ้าคณะเป็ นตําแหน่งพิเศษ บัญญัตให้มขนเพือทําหน้าที่
                                                                            ิ ี ้ึ ่
การเลขานุการในเขตปกครองชันนัน ๆ เป็ นตําแหน่งทีมหน้าทีอย่างชัดเจนพร้อมการแต่งตัง แต่ไม่ม ี
                               ้ ้                ่ ี      ่                       ้
อํานาจใด ๆ ในกฎมหาเถรสมาคม ฉบับที่ ๒๓ (พ.ศ.๒๕๔๑) ว่าด้วยระเบียบการปกครองคณะสงฆ์
บัญญัตไว้ ๘ ตําแหน่ง คือ เลขานุการเจ้าคณะใหญ่
        ิ
เลขานุ การเจ้าคณะภาค เลขานุ การรองเจ้าคณะภาค เลขานุ การเจ้าคณะจังหวัด เลขานุ การรองเจ้าคณะ
จังหวัด เลขานุการเจ้าคณะอําเภอ เลขานุ การรองเจ้าคณะอําเภอ และเลขานุ การเจ้าคณะตําบล

       โดยเจ้าคณะใหญ่มเี ลขานุการได้หนละ ๒ รูป ส่วนเจ้าคณะและรองเจ้าคณะนอกนันมีได้ตาแหน่ง
                                                                            ้      ํ
ละ ๑ รูป การแต่งตังเลขานุ การนัน มีขอควรศึกษาดังนี้
                  ้            ้ ้

หลักเกณฑ์
      ๑. คุณสมบัติ ต้องเป็ นพระภิกษุมคุณสมบัตตามข้อ ๖ แห่งกฎมหาเถรสมาคม ฉบับที่ ๒๔ โดย
                                     ี       ิ
อนุ โลม
        ๒. ผูแต่งตัง เจ้าคณะและรองเจ้าคณะชันนัน ๆ เป็ นผูแต่งตังเอง
             ้     ้                         ้ ้         ้     ้
วิธแต่งตัง ต้องพิจารณาคัดเลือกพระภิกษุผเหมาะสมแล้วมีคาสังแต่งตัง อย่าแต่งตังด้วยวาจา เมือได้
   ี     ้                                ู้            ํ ่       ้        ้           ่
แต่งตังแล้ว ต้องแจ้งให้ผได้รบแต่งตังและผูใต้บงคับบัญชา และรายงานผูบงคับบัญชาเหนือตน และแจ้ง
      ้                  ู้ ั      ้     ้ ั                        ้ ั
สํานักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ ขอยกการแต่งตังเลขานุการเจ้าคณะตําบลเป็ นตัวอย่าง
                                                 ้

More Related Content

What's hot

ตัวอย่างบทคัดย่อเล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างบทคัดย่อเล่มโปรเจ็คตัวอย่างบทคัดย่อเล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างบทคัดย่อเล่มโปรเจ็คtumetr1
 
แบบทดสอบมัทนะพาธา
แบบทดสอบมัทนะพาธาแบบทดสอบมัทนะพาธา
แบบทดสอบมัทนะพาธาkrudow14
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมายทั่วไป
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมายทั่วไปความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมายทั่วไป
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมายทั่วไปtanapongslide
 
ปกนอก ปกใน
ปกนอก ปกในปกนอก ปกใน
ปกนอก ปกในamixdouble
 
ตัวอย่างกิตติกรรมประกาศ เล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างกิตติกรรมประกาศ เล่มโปรเจ็คตัวอย่างกิตติกรรมประกาศ เล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างกิตติกรรมประกาศ เล่มโปรเจ็คtumetr1
 
ตัวชี้วัดและสาระศิลปะ
ตัวชี้วัดและสาระศิลปะตัวชี้วัดและสาระศิลปะ
ตัวชี้วัดและสาระศิลปะพิพัฒน์ ตะภา
 
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1KruKaiNui
 
แบบฟอร์มเค้าโครงโครงงาน
แบบฟอร์มเค้าโครงโครงงานแบบฟอร์มเค้าโครงโครงงาน
แบบฟอร์มเค้าโครงโครงงานpongtum
 
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ ฟาง
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ ฟางคัมภีร์ฉันทศาสตร์ ฟาง
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ ฟางKat Suksrikong
 
ตัวอย่างรายงานโครงงาน
ตัวอย่างรายงานโครงงานตัวอย่างรายงานโครงงาน
ตัวอย่างรายงานโครงงานThanawadee Prim
 
แบบประเม นโครงการ
แบบประเม นโครงการแบบประเม นโครงการ
แบบประเม นโครงการNatthawut Sutthi
 
สไลด์ ภูมิปัญญาไทย ป.5+489+dltvsocp5+55t2soc p05 f19-1page
สไลด์ ภูมิปัญญาไทย ป.5+489+dltvsocp5+55t2soc p05 f19-1pageสไลด์ ภูมิปัญญาไทย ป.5+489+dltvsocp5+55t2soc p05 f19-1page
สไลด์ ภูมิปัญญาไทย ป.5+489+dltvsocp5+55t2soc p05 f19-1pagePrachoom Rangkasikorn
 
ตัวอย่าง ปกรายงาน
ตัวอย่าง ปกรายงานตัวอย่าง ปกรายงาน
ตัวอย่าง ปกรายงานSamorn Tara
 
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บทตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บทchaipalat
 
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์พัน พัน
 

What's hot (20)

สารบัญ.
สารบัญ.สารบัญ.
สารบัญ.
 
ตัวอย่างบทคัดย่อเล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างบทคัดย่อเล่มโปรเจ็คตัวอย่างบทคัดย่อเล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างบทคัดย่อเล่มโปรเจ็ค
 
แบบทดสอบมัทนะพาธา
แบบทดสอบมัทนะพาธาแบบทดสอบมัทนะพาธา
แบบทดสอบมัทนะพาธา
 
กิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศกิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศ
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมายทั่วไป
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมายทั่วไปความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมายทั่วไป
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมายทั่วไป
 
ปกนอก ปกใน
ปกนอก ปกในปกนอก ปกใน
ปกนอก ปกใน
 
ตัวอย่างกิตติกรรมประกาศ เล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างกิตติกรรมประกาศ เล่มโปรเจ็คตัวอย่างกิตติกรรมประกาศ เล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างกิตติกรรมประกาศ เล่มโปรเจ็ค
 
หน้าปกคำนำสารบัญ
หน้าปกคำนำสารบัญหน้าปกคำนำสารบัญ
หน้าปกคำนำสารบัญ
 
ตัวชี้วัดและสาระศิลปะ
ตัวชี้วัดและสาระศิลปะตัวชี้วัดและสาระศิลปะ
ตัวชี้วัดและสาระศิลปะ
 
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
 
แบบฟอร์มเค้าโครงโครงงาน
แบบฟอร์มเค้าโครงโครงงานแบบฟอร์มเค้าโครงโครงงาน
แบบฟอร์มเค้าโครงโครงงาน
 
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ ฟาง
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ ฟางคัมภีร์ฉันทศาสตร์ ฟาง
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ ฟาง
 
ตัวอย่างรายงานโครงงาน
ตัวอย่างรายงานโครงงานตัวอย่างรายงานโครงงาน
ตัวอย่างรายงานโครงงาน
 
Reference
ReferenceReference
Reference
 
คำนำ
คำนำคำนำ
คำนำ
 
แบบประเม นโครงการ
แบบประเม นโครงการแบบประเม นโครงการ
แบบประเม นโครงการ
 
สไลด์ ภูมิปัญญาไทย ป.5+489+dltvsocp5+55t2soc p05 f19-1page
สไลด์ ภูมิปัญญาไทย ป.5+489+dltvsocp5+55t2soc p05 f19-1pageสไลด์ ภูมิปัญญาไทย ป.5+489+dltvsocp5+55t2soc p05 f19-1page
สไลด์ ภูมิปัญญาไทย ป.5+489+dltvsocp5+55t2soc p05 f19-1page
 
ตัวอย่าง ปกรายงาน
ตัวอย่าง ปกรายงานตัวอย่าง ปกรายงาน
ตัวอย่าง ปกรายงาน
 
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บทตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
 
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
 

Viewers also liked

งานเลขานุการ
งานเลขานุการงานเลขานุการ
งานเลขานุการPrapaporn Boonplord
 
078การปรับอินทรีย์
078การปรับอินทรีย์078การปรับอินทรีย์
078การปรับอินทรีย์niralai
 
332วันอาสาฬหบูชา
332วันอาสาฬหบูชา332วันอาสาฬหบูชา
332วันอาสาฬหบูชาniralai
 
บทสวดมนตร์จากพระโอษฐ์
บทสวดมนตร์จากพระโอษฐ์บทสวดมนตร์จากพระโอษฐ์
บทสวดมนตร์จากพระโอษฐ์niralai
 
กำเนิดจักรวาล
กำเนิดจักรวาลกำเนิดจักรวาล
กำเนิดจักรวาลniralai
 
ความหมายของครู
ความหมายของครูความหมายของครู
ความหมายของครูniralai
 
บทสวดมนต์แปลสามเณรภาคฤดูร้อน
บทสวดมนต์แปลสามเณรภาคฤดูร้อนบทสวดมนต์แปลสามเณรภาคฤดูร้อน
บทสวดมนต์แปลสามเณรภาคฤดูร้อนniralai
 
อาจาระของพระภิกษุสามเณร
อาจาระของพระภิกษุสามเณรอาจาระของพระภิกษุสามเณร
อาจาระของพระภิกษุสามเณรniralai
 
สัญญาใจค่ายจริยธรรม
สัญญาใจค่ายจริยธรรมสัญญาใจค่ายจริยธรรม
สัญญาใจค่ายจริยธรรมniralai
 
สมุดประจำตัวกิจกรรมเยาวชนภาคฤดูร้อน
สมุดประจำตัวกิจกรรมเยาวชนภาคฤดูร้อนสมุดประจำตัวกิจกรรมเยาวชนภาคฤดูร้อน
สมุดประจำตัวกิจกรรมเยาวชนภาคฤดูร้อนniralai
 
คู่มืออบรมยุวพุทธ
คู่มืออบรมยุวพุทธคู่มืออบรมยุวพุทธ
คู่มืออบรมยุวพุทธniralai
 
พุทธวิธีในการสอน พระพรหมคุณาภรณ์(ป.อ.ปยุตฺโต)
พุทธวิธีในการสอน พระพรหมคุณาภรณ์(ป.อ.ปยุตฺโต) พุทธวิธีในการสอน พระพรหมคุณาภรณ์(ป.อ.ปยุตฺโต)
พุทธวิธีในการสอน พระพรหมคุณาภรณ์(ป.อ.ปยุตฺโต) niralai
 
บทสวดมนต์แปลภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 7 บทสำหรับแข่งทักษะ
บทสวดมนต์แปลภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 7 บทสำหรับแข่งทักษะบทสวดมนต์แปลภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 7 บทสำหรับแข่งทักษะ
บทสวดมนต์แปลภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 7 บทสำหรับแข่งทักษะอุษณีษ์ ศรีสม
 
พุทธวิธีในการสอน(ศึกษาวิจัยจากพระไตรปิฎก)
พุทธวิธีในการสอน(ศึกษาวิจัยจากพระไตรปิฎก)พุทธวิธีในการสอน(ศึกษาวิจัยจากพระไตรปิฎก)
พุทธวิธีในการสอน(ศึกษาวิจัยจากพระไตรปิฎก)niralai
 
คลอด
คลอดคลอด
คลอดniralai
 
คู่มือพระวิทยากร
คู่มือพระวิทยากรคู่มือพระวิทยากร
คู่มือพระวิทยากรniralai
 
ถ้าฉันเป็นครู
ถ้าฉันเป็นครูถ้าฉันเป็นครู
ถ้าฉันเป็นครูniralai
 
พุทธภาษิตนักเรียน
พุทธภาษิตนักเรียนพุทธภาษิตนักเรียน
พุทธภาษิตนักเรียนniralai
 
334กุศลกรรมบถ10
334กุศลกรรมบถ10334กุศลกรรมบถ10
334กุศลกรรมบถ10niralai
 

Viewers also liked (20)

งานเลขานุการ
งานเลขานุการงานเลขานุการ
งานเลขานุการ
 
078การปรับอินทรีย์
078การปรับอินทรีย์078การปรับอินทรีย์
078การปรับอินทรีย์
 
332วันอาสาฬหบูชา
332วันอาสาฬหบูชา332วันอาสาฬหบูชา
332วันอาสาฬหบูชา
 
บทสวดมนตร์จากพระโอษฐ์
บทสวดมนตร์จากพระโอษฐ์บทสวดมนตร์จากพระโอษฐ์
บทสวดมนตร์จากพระโอษฐ์
 
กำเนิดจักรวาล
กำเนิดจักรวาลกำเนิดจักรวาล
กำเนิดจักรวาล
 
ความหมายของครู
ความหมายของครูความหมายของครู
ความหมายของครู
 
บทสวดมนต์แปลสามเณรภาคฤดูร้อน
บทสวดมนต์แปลสามเณรภาคฤดูร้อนบทสวดมนต์แปลสามเณรภาคฤดูร้อน
บทสวดมนต์แปลสามเณรภาคฤดูร้อน
 
อาจาระของพระภิกษุสามเณร
อาจาระของพระภิกษุสามเณรอาจาระของพระภิกษุสามเณร
อาจาระของพระภิกษุสามเณร
 
สัญญาใจค่ายจริยธรรม
สัญญาใจค่ายจริยธรรมสัญญาใจค่ายจริยธรรม
สัญญาใจค่ายจริยธรรม
 
สมุดประจำตัวกิจกรรมเยาวชนภาคฤดูร้อน
สมุดประจำตัวกิจกรรมเยาวชนภาคฤดูร้อนสมุดประจำตัวกิจกรรมเยาวชนภาคฤดูร้อน
สมุดประจำตัวกิจกรรมเยาวชนภาคฤดูร้อน
 
คู่มืออบรมยุวพุทธ
คู่มืออบรมยุวพุทธคู่มืออบรมยุวพุทธ
คู่มืออบรมยุวพุทธ
 
สวดมนต์แปล(ตัวใหญ่)
สวดมนต์แปล(ตัวใหญ่)สวดมนต์แปล(ตัวใหญ่)
สวดมนต์แปล(ตัวใหญ่)
 
พุทธวิธีในการสอน พระพรหมคุณาภรณ์(ป.อ.ปยุตฺโต)
พุทธวิธีในการสอน พระพรหมคุณาภรณ์(ป.อ.ปยุตฺโต) พุทธวิธีในการสอน พระพรหมคุณาภรณ์(ป.อ.ปยุตฺโต)
พุทธวิธีในการสอน พระพรหมคุณาภรณ์(ป.อ.ปยุตฺโต)
 
บทสวดมนต์แปลภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 7 บทสำหรับแข่งทักษะ
บทสวดมนต์แปลภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 7 บทสำหรับแข่งทักษะบทสวดมนต์แปลภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 7 บทสำหรับแข่งทักษะ
บทสวดมนต์แปลภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 7 บทสำหรับแข่งทักษะ
 
พุทธวิธีในการสอน(ศึกษาวิจัยจากพระไตรปิฎก)
พุทธวิธีในการสอน(ศึกษาวิจัยจากพระไตรปิฎก)พุทธวิธีในการสอน(ศึกษาวิจัยจากพระไตรปิฎก)
พุทธวิธีในการสอน(ศึกษาวิจัยจากพระไตรปิฎก)
 
คลอด
คลอดคลอด
คลอด
 
คู่มือพระวิทยากร
คู่มือพระวิทยากรคู่มือพระวิทยากร
คู่มือพระวิทยากร
 
ถ้าฉันเป็นครู
ถ้าฉันเป็นครูถ้าฉันเป็นครู
ถ้าฉันเป็นครู
 
พุทธภาษิตนักเรียน
พุทธภาษิตนักเรียนพุทธภาษิตนักเรียน
พุทธภาษิตนักเรียน
 
334กุศลกรรมบถ10
334กุศลกรรมบถ10334กุศลกรรมบถ10
334กุศลกรรมบถ10
 

More from niralai

331วันเข้าพรรษา
331วันเข้าพรรษา331วันเข้าพรรษา
331วันเข้าพรรษาniralai
 
338มารยาทไทย
338มารยาทไทย338มารยาทไทย
338มารยาทไทยniralai
 
337ประวัติพระพุทธศาสนา
337ประวัติพระพุทธศาสนา337ประวัติพระพุทธศาสนา
337ประวัติพระพุทธศาสนาniralai
 
335เข้าใจในมิตร(มิตรแท้ มิตรเทียม)
335เข้าใจในมิตร(มิตรแท้ มิตรเทียม)335เข้าใจในมิตร(มิตรแท้ มิตรเทียม)
335เข้าใจในมิตร(มิตรแท้ มิตรเทียม)niralai
 
336เบญจศีล
336เบญจศีล336เบญจศีล
336เบญจศีลniralai
 
340วัฒนธรรมชาวพุทธ
340วัฒนธรรมชาวพุทธ340วัฒนธรรมชาวพุทธ
340วัฒนธรรมชาวพุทธniralai
 
339ระวังอย่าให้อาย!
339ระวังอย่าให้อาย!339ระวังอย่าให้อาย!
339ระวังอย่าให้อาย!niralai
 
345สถานการณ์วัยรุ่นไทย
345สถานการณ์วัยรุ่นไทย345สถานการณ์วัยรุ่นไทย
345สถานการณ์วัยรุ่นไทยniralai
 
344สถานการณ์เด็กและเยาวชน ดร.อมรวิศ
344สถานการณ์เด็กและเยาวชน ดร.อมรวิศ344สถานการณ์เด็กและเยาวชน ดร.อมรวิศ
344สถานการณ์เด็กและเยาวชน ดร.อมรวิศniralai
 
343ศิลปการพูด
343ศิลปการพูด343ศิลปการพูด
343ศิลปการพูดniralai
 
342วิธีสร้างสุข5
342วิธีสร้างสุข5342วิธีสร้างสุข5
342วิธีสร้างสุข5niralai
 
341วันออกพรรษา
341วันออกพรรษา341วันออกพรรษา
341วันออกพรรษาniralai
 
346สังคมศึกษา ป.3 เรื่องวันเข้าพรรษา
346สังคมศึกษา ป.3 เรื่องวันเข้าพรรษา346สังคมศึกษา ป.3 เรื่องวันเข้าพรรษา
346สังคมศึกษา ป.3 เรื่องวันเข้าพรรษาniralai
 
347สังคมศึกษา ป.5สมบัติของผู้ดี
347สังคมศึกษา ป.5สมบัติของผู้ดี347สังคมศึกษา ป.5สมบัติของผู้ดี
347สังคมศึกษา ป.5สมบัติของผู้ดีniralai
 
348สังคมศึกษา วันสำคัญทางศาสนาพุทธ12
348สังคมศึกษา วันสำคัญทางศาสนาพุทธ12348สังคมศึกษา วันสำคัญทางศาสนาพุทธ12
348สังคมศึกษา วันสำคัญทางศาสนาพุทธ12niralai
 
350สารานิยธรรม6
350สารานิยธรรม6350สารานิยธรรม6
350สารานิยธรรม6niralai
 
349สังคหวัตถุ4
349สังคหวัตถุ4349สังคหวัตถุ4
349สังคหวัตถุ4niralai
 
351หน้าที่ชาวพุทธ3
351หน้าที่ชาวพุทธ3351หน้าที่ชาวพุทธ3
351หน้าที่ชาวพุทธ3niralai
 
098ชีวิตวัยรุ่น
098ชีวิตวัยรุ่น098ชีวิตวัยรุ่น
098ชีวิตวัยรุ่นniralai
 
097คุณค่าของชีวิต
097คุณค่าของชีวิต097คุณค่าของชีวิต
097คุณค่าของชีวิตniralai
 

More from niralai (20)

331วันเข้าพรรษา
331วันเข้าพรรษา331วันเข้าพรรษา
331วันเข้าพรรษา
 
338มารยาทไทย
338มารยาทไทย338มารยาทไทย
338มารยาทไทย
 
337ประวัติพระพุทธศาสนา
337ประวัติพระพุทธศาสนา337ประวัติพระพุทธศาสนา
337ประวัติพระพุทธศาสนา
 
335เข้าใจในมิตร(มิตรแท้ มิตรเทียม)
335เข้าใจในมิตร(มิตรแท้ มิตรเทียม)335เข้าใจในมิตร(มิตรแท้ มิตรเทียม)
335เข้าใจในมิตร(มิตรแท้ มิตรเทียม)
 
336เบญจศีล
336เบญจศีล336เบญจศีล
336เบญจศีล
 
340วัฒนธรรมชาวพุทธ
340วัฒนธรรมชาวพุทธ340วัฒนธรรมชาวพุทธ
340วัฒนธรรมชาวพุทธ
 
339ระวังอย่าให้อาย!
339ระวังอย่าให้อาย!339ระวังอย่าให้อาย!
339ระวังอย่าให้อาย!
 
345สถานการณ์วัยรุ่นไทย
345สถานการณ์วัยรุ่นไทย345สถานการณ์วัยรุ่นไทย
345สถานการณ์วัยรุ่นไทย
 
344สถานการณ์เด็กและเยาวชน ดร.อมรวิศ
344สถานการณ์เด็กและเยาวชน ดร.อมรวิศ344สถานการณ์เด็กและเยาวชน ดร.อมรวิศ
344สถานการณ์เด็กและเยาวชน ดร.อมรวิศ
 
343ศิลปการพูด
343ศิลปการพูด343ศิลปการพูด
343ศิลปการพูด
 
342วิธีสร้างสุข5
342วิธีสร้างสุข5342วิธีสร้างสุข5
342วิธีสร้างสุข5
 
341วันออกพรรษา
341วันออกพรรษา341วันออกพรรษา
341วันออกพรรษา
 
346สังคมศึกษา ป.3 เรื่องวันเข้าพรรษา
346สังคมศึกษา ป.3 เรื่องวันเข้าพรรษา346สังคมศึกษา ป.3 เรื่องวันเข้าพรรษา
346สังคมศึกษา ป.3 เรื่องวันเข้าพรรษา
 
347สังคมศึกษา ป.5สมบัติของผู้ดี
347สังคมศึกษา ป.5สมบัติของผู้ดี347สังคมศึกษา ป.5สมบัติของผู้ดี
347สังคมศึกษา ป.5สมบัติของผู้ดี
 
348สังคมศึกษา วันสำคัญทางศาสนาพุทธ12
348สังคมศึกษา วันสำคัญทางศาสนาพุทธ12348สังคมศึกษา วันสำคัญทางศาสนาพุทธ12
348สังคมศึกษา วันสำคัญทางศาสนาพุทธ12
 
350สารานิยธรรม6
350สารานิยธรรม6350สารานิยธรรม6
350สารานิยธรรม6
 
349สังคหวัตถุ4
349สังคหวัตถุ4349สังคหวัตถุ4
349สังคหวัตถุ4
 
351หน้าที่ชาวพุทธ3
351หน้าที่ชาวพุทธ3351หน้าที่ชาวพุทธ3
351หน้าที่ชาวพุทธ3
 
098ชีวิตวัยรุ่น
098ชีวิตวัยรุ่น098ชีวิตวัยรุ่น
098ชีวิตวัยรุ่น
 
097คุณค่าของชีวิต
097คุณค่าของชีวิต097คุณค่าของชีวิต
097คุณค่าของชีวิต
 

หน้าที่ของเลขานุการ

  • 1. หน้ าทีของเลขานุการ ่ ************** ๑. เรียนรูเกียวกับเทคนิคในการปฏิบตของสํานักงาน ้ ่ ั ิ ๒. รับผิดชอบจดหมายและเอกสารต่างๆทีสงมายังสํานักงานและส่งออก ่่ ๓. รูวธเี ก็บเอกสารต่างๆ ้ิ ๔. รูจกใช้โทรศัพท์และส่งโทรเลข ้ั ๕. ต้อนรับผูทมาติดต่องาน ้ ่ี ๖. ช่วยตระเตรียมการเดินทางต่างๆได้ ๗. รูวธรางบันทึกเอกสารทางกฎหมายและวิเคราะห์สถิตและกราฟ ้ิี่ ิ ๘. หน้าทีเลขานุ การในทีประชุม ่ ่ ๙. การควบคุมดูแลเกียวกับการเงิน ่ ๑๐. จัดหาอุปกรณ์และวัสดุไว้ใช้ในสํานักงาน ๑๑. รูวธใช้หนังสือต่างๆ เป็ นคูมอในการปฏิบตงาน ้ิี ่ ื ั ิ ๑๒. หน้าทีเกียวกับการเตรียมสุนทรพจน์ ่ ่ ๑๓. มีหน้าทีเกียวข้องกับสภาพของทีทางาน ่ ่ ่ ํ ๑๔. ความผิดพลาดในทีทางาน ่ ํ ๑๕. การวางแผนงาน เลขานุการ เลขานุการทางคณะสงฆ์ เป็ นตําแหน่งซึงบัญญัตไว้ในกฎมหาเถรสมาคมฉบับที่ ๒๓ และบัญญัตหน้าทีไว้วา ่ ิ ิ ่ ่ "ทําหน้าทีการเลขานุการ" เจ้าคณะชันตําบล อําเภอ จังหวัด ภาค หน เป็ นตําแหน่งทีมปริมาณงานมากและ ่ ้ ่ ี ขอบเขตกว้างขวาง งานซึงเกียวกับการเลขานุ การย่อมมีมาก ต้องจัดผูทาหน้าทีไว้โดยตรง ท่านบัญญัตให้ ่ ่ ้ ํ ่ ิ เลขานุการมีเฉพาะหน้าที่ มิได้ให้มอานาจดังเช่นตําแหน่งอื่น แม้เจ้าคณะจะมอบหมายอํานาจ ก็หามีอานาจตามที่ ีํ ํ มอบหมายไม่ จึงแตกต่างจากตําแหน่งรองเจ้าคณะ รองเจ้าอาวาส และผูชวยเจ้าอาวาส ซึงตําแหน่งรองเจ้าคณะ ้่ ่ เป็ นต้นนี้ ตามปกติเป็ นตําแหน่งไม่มอานาจหน้าที่ แต่เมือเจ้าคณะหรือเจ้าอาวาสมอบหมายแล้ว ย่อมมีอานาจ ีํ ่ ํ หน้าทีอย่างสมบูรณ์ เพราะเป็ นตําแหน่งพระสังฆาธิการซึงบัญญัตไว้เพือใช้อานาจหน้าทีชวยผูบงคับบัญชา ่ ่ ิ ่ ํ ่ ่ ้ ั โดยตรง ส่วนตําแหน่งเลขานุการนัน มิได้บญญัตให้เป็ นพระสังฆาธิการ บัญญัตให้มเี ฉพาะหน้าทีและมีขนโดยมิ ้ ั ิ ิ ่ ้ึ
  • 2. ต้องมอบหมาย ถ้าดูเพียงผิดเผิน จะเข้าใจว่า เลขานุ การเป็ นตําแหน่งทีไม่มความสําคัญ เพราะไม่เป็ นพระสังฆาธิ ่ ี การ จะเอาตําแหน่งเป็ นฐานพิจารณาความชอบดังเช่นตําแหน่งรองเจ้าคณะ รองเจ้าอาวาสและผูชวยเจ้าอาวาสก็ ้่ มิได้ แต่ถาได้พจารณาโดยโยนิโสมนสิการแล้ว จะเห็นว่า เลขานุการเป็ นตําแหน่งทีมความสําคัญต่องานคณะ ้ ิ ่ ี สงฆ์เป็ นอย่างยิง ถึงมิใช่ตาแหน่งทีเป็ นฐานพิจารณาความชอบโดยตรง แต่กเป็ นตําแหน่งทีเป็ นฐานแห่งการสร้าง ่ ํ ่ ็ ่ ความดีความชอบ เป็ นตําแหน่งทีผใหญ่ดอย่างมีดุลยพินิจ ตําแหน่งผูปกครองสงฆ์ทกตําแหน่ง เป็ นตําแหน่งทีม ี ่ ู้ ู ้ ุ ่ การเลขานุการด้วยกันทังนัน ตําแหน่งใดมีเลขานุ การ การเลขานุ การในตําแหน่งนันก็เป็ นหน้าทีของเลขานุการ ้ ้ ้ ่ ตําแหน่งใดไม่มเี ลขานุ การ ผูดารงตําแหน่งนันต้องทําหน้าทีการเลขานุการเอง ้ ํ ้ ่ เบืองต้น ขอให้ศกษาความหมายของคําว่า "เลขานุการ" และของคําอื่นซึงมีรปคล้ายคลึงกัน แต่ม ี ้ ึ ่ ู ความหมายแตกต่างกัน เป็ นคําทีใช้อยูในทางการคณะสงฆ์และทางราชการซึงควรได้ทราบความหมาย คือ ่ ่ ่ "เลขานุการ" และ "เลขาธิการ" เลขานุการ ศัพท์เดิมเป็ น เลขา+อนุ+การ แปลว่า "ผูทาน้อยกว่าเขียน" "ผูทาตามรอยเขียน" หรือ "ผูทางานตามคําสัง" ้ ํ ้ ํ ้ ํ ่ พจนานุ กรมราชบัญฑิตยสถาน ให้ความหมายว่า "ผูทาหน้าทีเกียวกับหนังสือตามผูใหญ่สง" ท่านผูรกล่าวว่า ้ ํ ่ ่ ้ ั่ ้ ู้ เลขานุการในภาษาลาติน ตรงกับคําว่า "ความลับ" และอธิบายว่า "เลขานุการเป็ นผูรความลับในสํานักงาน" ้ ู้ "เลขานุ การเป็ นผูเก็บความลับของผูบงคับบัญชา" ดังนัน จึงพอกล่าวได้วา "เลขานุการเป็ นอุปกรณ์ของผูปกครอง ้ ้ ั ้ ่ ้ สงฆ์ชนเจ้าคณะ หรือผูบริหารงานราชการ หรือผูบริหารงานธุรกิจ" ั้ ้ ้ เลขานุการนันมิใช่เพียงแต่รอทํางานตามสังเท่านัน ้ ่ ้ เลขานุการจะยกร่างแผนงานเสนอผูบงคับบัญชาพิจารณาก็ยอมกระทําได้ ้ ั ่ เลขานุการเป็ นผูเก็บความลับในวงงาน ้ แม้จะเป็ นตําแหน่งช่วยเหลือผูบงคับบัญชา ก็ถอได้วาเป็ นตําแหน่งทีสาคัญ ้ ั ื ่ ่ํ เลขาธิการ ศัพท์เดิมเป็ น เลขา+อธิ+การ แปลว่า "ผูทายิงกว่าเขียน" หมายถึง "ผูสงงาน" "ผูบงคับบัญชาหน่วยงาน" ้ ํ ่ ้ ั่ ้ ั พจนานุ กรมราชบัญฑิตยสถาน ให้ความหมายว่า "ผูเป็ นหัวหน้าทํางานหนังสือโดยสิทธิ ์ขาด" โดยความ เลขาธิการ ้ เป็ นผูมอานาจเต็มในหน่วยงานนัน ๆ ้ ีํ ้ เลขานุการทางการคณะสงฆ์ ส่วนเลขานุ การในคณะสงฆ์ ตามกฎมหาเถรสมาคมฉบับที่ ๒๓ กําหนดตําแหน่งเลขานุการไว้ ๘ ตําแหน่ง
  • 3. ได้แก่ ๑. เลขานุ การเจ้าคณะใหญ่ ๒. เลขานุ การเจ้าคณะภาค ๓. เลขานุการรองเจ้าคณะภาค ๔. เลขานุ การเจ้าคณะจังหวัด ๕. เลขานุ การรองเจ้าคณะจังหวัด ๖. เลขานุ การเจ้าคณะอําเภอ ๗ .เลขานุการรองเจ้าคณะอําเภอ ๘. เลขานุ การเจ้าคณะตําบล และยังมีเลขานุ การซึงแต่งตังตามจารีต เช่น เลขานุ การสมเด็จพระสังฆราช เลขานุ การแม่กองธรรม ่ ้ สนามหลวง ซึงเลขานุ การทางคณะสงฆ์ทุกตําแหน่ง มิได้เป็ นพระสังฆาธิการ แต่เป็ นอุปกรณ์การปฏิบตงานของ ่ ั ิ พระสังฆาธิการ หรือ ผูบงคับบัญชาซึงมีความสําคัญยิง ประเภทแห่งเลขานุ การ ้ ั ่ ่ การเลขานุ การ ได้แก่การปฏิบตงานสารบรรณสนองผูบงคับบัญชา หรือตามทีผบงคับบัญชาสังการ การ ั ิ ้ ั ่ ู้ ั ่ เสนอแนะเกียวกับการปฏิบติ การรักษาความลับหรือข้อความอันไม่ควรเปิ ดเผยของหน่วยงาน การติดต่อ ่ ั ประสานงานแทนผูบงคับบัญชา การดังกล่าวนี้ เป็ นงานในหน้าทีของเลขานุการ และเป็ นงานทีมอยูในหน่วยงาน ้ ั ่ ่ ี ่ ทัวไป เช่น หน่วยงานคณะสงฆ์ หน่วยงานราชการ หน่วยงานรัฐวิสาหกิจ หน่วยงานธุรกิจ หน่วยงานรูป ่ คณะกรรมการ ดังนัน ตําแหน่งเลขานุการจึงมีมาก จนพูดถึงเลขานุการแล้วเป็ นทีทราบกันโดยทัวไป และเมือจะ ้ ่ ่ ่ กล่าวโดยประเภท เลขานุการมี ๔ ประเภท ได้แก่ ๑. เลขานุการประจําตําแหน่ง ได้แก่ เลขานุ การประจําในตําแหน่ งต่าง ๆ เช่น เลขานุการกรม เลขานุ การ เจ้าคณะใหญ่ และ เลขานุ การเจ้าคณะภาค ๒. เลขานุการส่วนตัว ได้แก่เลขานุการส่วนบุคคลหรือส่วนตัวของบุคคลใดบุคคลหนึ่ง ๓. เลขานุการกิตติมศักดิ ์ ได้แก่ เลขานุ การผูปฏิบตงานเพือเกียรติอย่างเดียวมิได้มงหวังค่าตอบแทน ้ ั ิ ่ ุ่ ๔. เลขานุการพิเศษ ได้แก่เลขานุ การผูดารงตําแหน่งอื่นอยูแล้ว แต่รบตําแหน่งเลขานุ การเพิมอีก เช่น ้ ํ ่ ั ่ เลขานุการคณะกรรมการ เลขานุการทีประชุม ่ คุณสมบัติของเลขานุการ ตามกฎมหาเถรสมาคม ฉบับที่ ๒๔ (พ.ศ.๒๕๔๑) ไม่ได้ระบุคุณสมบัตของเลขานุ การในระดับต่าง ๆ ไว้ ิ
  • 4. โดยตรง แต่กาหนดให้พระภิกษุผจะเป็ นเลขานุ การของเจ้าคณะชันนัน ๆ ต้องมีคุณสมบัตตามความในข้อ ๖ โดย ํ ู้ ้ ้ ิ อนุโลม คุณความดีเฉพาะตัวของผูจะได้รบแต่งตังเป็ นเลขานุ การ ชือว่า "คุณสมบัตของเลขานุ การ" ้ ั ้ ่ ิ เลขานุการเจ้าคณะนัน กําหนดคุณสมบัตให้อนุ โลมตามคุณสมบัตทวไปของพระสังฆาธิการ ซึงแยกเป็ น ้ ิ ิ ั่ ่ ๗ คือ ๑. มีพรรษาสมควรแก่ตาแหน่ง ํ ๒. มีความรูสมควรแกตําแหน่ง ้ ๓. มีความประพฤติเรียบร้อยตามพระธรรมวินย ั ๔. เป็ นผูฉลาดสามารถในการปกครองคณะสงฆ์ ้ ้ ี่ ิ ั่ ๕. ไม่เป็ นผูมรางการทุพพลภาพ ไร้ความสามารถ มีจตฟนเฟือนไม่สมประกอบ หรือเป็ นโรคเรือน หรือ ้ เป็ นวัณโรคในระยะอันตรายจนเป็ นทีน่ารังเกียจ ่ ๖. ไม่เคยต้องคําวินิจฉัยลงโทษในอธิกรณ์ทพงรังเกียจมาก่อน ่ี ึ ๗. ไม่เคยถูกถอดถอนหรือปลดออกจากตําแหน่งใดเพราะความผิดมาก่อน อนึ่ง ในข้อ ๔ แห่งกฎมหาเถรสมาคมฉบับนี้ หมายถึง พระสังฆาธิการทัง ๑๒ ระดับ ตังแต่เจ้าคณะใหญ่ ้ ้ ลงมาถึง ผูชวยเจ้าอาวาส เมือจะพ้นจากตําแหน่งหน้าที่ ย่อมพ้นตามความในข้อ ๓๖ แห่งกฎมหาเถรสมาคมฉบับ ้ ่ ่ นี้เท่านัน ส่วนเลขานุ การทุกระดับ ย่อมพ้นจากหน้าทีได้ ๒ กรณี ได้แก่ ้ ่ ๑. ในเมือผูแต่งตังให้พนจากหน้าที่ ่ ้ ้ ้ ๒. ผูแต่งตังพ้นจากหน้าที่ ้ ้ ข้อบกพร่องต่าง ๆ ยังมีอกมาก ล้วนแต่เป็ นอุปสรรคให้เลขานุการปฏิบตงานในหน้าทีไม่ได้ผลดี ี ั ิ ่ เท่าทีควร ่ ผูจะเป็ นเลขานุการได้ดี และจะเจริญก้าวหน้าเพราะอาศัยงานเลขานุการเป็ นพืนฐานนัน จะต้องเป็ นผูมลกษณะ ้ ้ ้ ้ ีั พิเศษ ๕ อย่าง ได้แก่ ๑. มีความคิดริเริมทีดี ่ ่ ๒. มีความเตรียมพร้อมทางจิตใจ ๓. วางตนเหมาะสม ๔. ปรารถนาความก้าวหน้า ๕. มีความแม่นยําและประณีต
  • 5. หน้ าที่ของเลขานุการ เลขานุการทางคณะสงฆ์ เป็ นตําแหน่งพิเศษตําแหน่งหนึ่ง ซึงบัญญัตไว้เพือช่วยเหลือในการปฏิบตงาน ่ ิ ่ ั ิ ของเจ้าคณะผูปกครองสงฆ์ โดยกําหนดให้มหน้าทีพร้อมกับการแต่งตัง แต่ไม่มอานาจดังเช่นเจ้าคณะ หน้าที่ ้ ี ่ ้ ีํ เลขานุการคณะสงฆ์นน บัญญัตไว้โดยสรุปว่า "ทําหน้าทีการเลขานุการ" มิได้แยกรายละเอียดแห่งหน้าทีไว้ดง ั้ ิ ่ ่ ั อํานาจหน้าทีของเจ้าคณะหรือเจ้าอาวาส ่ แต่คาว่า "การเลขานุการ" นัน เป็ นคําทีมความหมายกว้างขวาง เจ้าคณะผูบงคับบัญชามีอานาจหน้าที่ ํ ้ ่ ี ้ ั ํ ขยายกว้างเพียงใด การเลขานุการย่อมขยายตามเพียงนัน หน้าทีการเลขานุ การในการปกครอง การศาสน ้ ่ ศึกษา การศึกษาสงเคราะห์ การเผยแผ่พระพุทธศาสนา การสาธารณูปการ การสาธารณสงเคราะห์ และการ นิคหกรรม ย่อมเป็ นหน้าทีของเลขานุ การ แต่เลขานุ การปฏิบตในฐานะช่วยเหลือผูบงคับบัญชา มิได้ปฏิบตใน ่ ั ิ ้ ั ั ิ ฐานะผูบงคับบัญชา เพือสะดวกแก่การศึกษา จึงประมวลหน้าทีของเลขานุการทางคณะสงฆ์ทเี่ ห็นว่าสําคัญ ๗ ้ ั ่ ่ อย่าง ได้แก่ ๑. จัดการทุกอย่างเกียวกับงานสารบรรณ ่ ๒. รักษาผลประโยชน์และทรัพย์สนของสํานักงาน ิ ๓. ควบคุมดูแลกิจการต่าง ๆ ของสํานักงาน ๔. จัดหาอุปกรณ์การปฏิบตงาน และอุปกรณ์ทางวิชาการไว้ประจําสํานักงาน ั ิ ๕. เป็ นภาระเกียวกับการประชุม ่ ๖. ประสานกับพระสังฆาธิการและหน่วยงานหรือบุคคลผูเกียวข้อง ้ ่ ๗. ช่วยเหลือด้านสวัสดิการสังคม หน้ าที่ทวไปของเลขานุการ ั่ เลขานุ การมีหน้าทีทจะต้องปฏิบตโดยทัว ๆ ไป ดังนี้ ่ ่ี ั ิ ่ ๑. เก็บรักษาเอกสารต่าง ๆ ๒. จัดการโต้ตอบหนังสือต่าง ๆ ๓. รับนัดหมายการพบปะ และแจ้งให้ผบงคับบัญชาทราบ ู้ ั ๔. รักษาผลประโยชน์สวนตัวของผูบงคับบัญชา ่ ้ ั ๕. รักษาผลประโยชน์ของส่วนรวม, ของสํานักงาน, หรือของสถาบัน ๖. จัดทําธุรกิจต่าง ๆ ซึงเป็ นงานของสํานักงานตามทีผบงคับบัญชามอบหมาย ่ ่ ู้ ั
  • 6. ๗. รักษาความลับของทางการคณะสงฆ์ หรือตําแหน่งหน้าทีทประจําอยู่ หรือของสํานัก ่ ่ี ๘. รูจกปฏิสนถารผูมาติดต่อมิให้เก้อเขิน ้ั ั ้ ๙. จัดการดําเนินงานให้เป็ นไปด้วยดี ๑๐. ดูแล รักษาการเงิน ตลอดจนบัญชีต่าง ๆ ๑๑. จัดวางระเบียบต่าง ๆ ในสํานัก ๑๒. รักษาระเบียบวินยในการปฏิบตงานให้เป็ นไปด้วยดี ั ั ิ ๑๓. แจ้งกําหนดการประชุม ๑๔. จัดระเบียบวาระการประชุม ๑๕. ทําบันทึกรายงานการประชุม ๑๖. จัดให้ความสะดวกแก่ทประชุม ่ี ๑๗. ควบคุมดูแลกิจการของสํานักงาน ตลอดจนงานในหน้าทีอ่น ๆ ให้ดาเนินไปด้วยดี ่ ื ํ ๑๘. เป็ นสือกลางในการติดต่อประสานงาน ่ ๑๙. ทํางานด่วนให้เสร็จภายในเวลาอันรวดเร็ว ไม่ปล่อยงานให้คงค้างอากูล ั่ ๒๐. มีกาลัญญุตา รูจกกาลทีควรช้าและควรด่วน อย่าด่วนในกาลทีควรช้าอย่าชักช้าในการทีควรด่วน ้ั ่ ่ ่ ๒๑. ถ้ามีสานักงาน ควรมาทํางานก่อนเวลา จัดสิงของและโต๊ะทํางานให้เรียบร้อย ํ ่ ๒๒. คอยเอาใจใส่ผบงคับบัญชา เช่นเตือนให้ไปประชุม หรือไปพบปะกับผูทนดหมายอื่น ๆ ู้ ั ้ ่ี ั ๒๓. ถ้ามีการประชุม ก็จดการให้ความสะดวกเรียบร้อย ตลอดจนจัดเอกสารต่าง ๆ ในการประชุม ั ๒๔. จัดทําหนังสือเสนอผูบงคับบัญชา ้ ั ๒๕. จัดส่งหนังสือทีผบงคับบัญชาลงนามแล้วไปยังสถานทีต่าง ๆ หรือบุคคลนัน ๆ ่ ู้ ั ่ ้ ๒๖. พิมพ์หนังสือ หรือเอกสารอื่น ๆ ทีผบงคับบัญชาสัง่ ่ ู้ ั ๒๗. ไปทําธุระนอกสถานทีทผบงคับบัญชาสังให้ไป ่ ่ ี ู้ ั ่ ๒๘. เป็ นหูเป็ นตาแทนผูบงคับบัญชา ้ ั ๒๙. จัดทําเอกสาร หรือบัญชีต่าง ๆ ตามทีผบงคับบัญชาสัง่ ่ ู้ ั ๓๐. ช่วยเหลือผูบงคับบัญชาในเรืองส่วนตัว ้ ั ่ คุณสมบัตทวไปของเลขานุการ ิ ั่ นอกจากคุณสมบัตตามทีกล่าวไว้ในกฎมหาเถรสมาคม ฉบับที่ ๒๔ ข้อ ๖ แล้ว เลขานุ การ จะต้อง ิ ่ มีคุณสมบัตทวไป ดังนี้ ิ ั่
  • 7. ๑. มีความรูดทงทางทฤษฎีและทางปฏิบติ ้ ี ั้ ั ๒. เป็ นผูมนิสยดี เยือกเย็น ยิมแย้มแจ่มใสอยูเสมอ ้ ี ั ้ ่ ๓. เป็ นผูอดทนไม่หลีกเลียงการงาน ้ ่ ๔. เป็ นผูมบุคลิกลักษณะดี นํามาซึงศรัทธาปสาทะแก่ผได้รจก และสมาคมด้วย ้ ี ่ ู้ ู้ ั ๕. เป็ นผูรกษาความสะอาดทังกาย และการงาน ้ั ้ ๖. ต้องทํางานโดยรวดเร็วทันใจและว่องไว ๗. เป็ นผูชอบคิดค้นคว้า หมันศึกษาหาความรูเพิมเติม ้ ่ ้ ่ ๘. เป็ นผูละเอียดรอบคอบและเอาใจใส่ในกิจการงานทีทาทุกอย่างเกียวกับหน้าทีของตน ้ ่ ํ ่ ่ ๙. เป็ นผูรงาน และสถานทีต่าง ๆ ทีจะต้องติดต่อ และรูจกระเบียบการงานของสถานทีทจะต้องไป ้ ู้ ่ ่ ้ั ่ ่ี ติดต่อนันดี ้ ๑๐. เป็ นผูฉลาดหลักแหลม มีปฏิภาณ รูจกกาลเทศะ (กาลัญญุตา และปริสญญุตา) ้ ้ั ั ๑๑. เป็ นผูรจกประมาณตน (อัตตัญญุตา) ้ ู้ ั ๑๒. เป็ นผูมอาจาระ คือจรรยามารยาทดี ้ ี ๑๓. เป็ นผูมความริเริมดี ้ ี ่ ๑๔. เป็ นผูชางสังเกต ้่ ๑๕. มีความขยันหมันฝึกหัดการงานในหน้าทีจากบุคคล หรือจากหนังสือ ่ ่ ๑๖. มีความจริงใจต่องานในหน้าที่ ทําจริง และตังใจจริง เพือให้งานสําเร็จลุล่วงไปด้วยดี ้ ่ ๑๗. มีความเชือมันในตัวเอง ่ ่ ๑๘. มีความรักในงานทีทา ่ ํ ๑๙. ฉลาดในการปฏิสนถาร ั ๒๐. พยายามทํางานในหน้าที่ หรืองานพิเศษทีได้รบมอบหมายให้ดทสดเท่าทีสามารถทําได้ ่ ั ี ่ี ุ ่ ข้อบกพร่องของเลขานุการ เมือได้กล่าวถึงคุณสมบัตทวไปของเลขานุ การแล้ว ก็ควรจะได้กล่าวถึงข้อบกพร่องของเลขานุการ ่ ิ ั่ ไว้ดวย เพือกําจัดให้หมดไป หรือให้บกพร่องน้อยทีสด ได้แก่ ้ ่ ุ่ ๑. เขียนหนังสือผิด ตก ๆ หล่น ๆ หรือพิมพ์หนังสือผิดมาก ๆ ๒. เขียนหนังสือไม่เรียบร้อย ขาดวรรคตอน ใช้เครืองหมายไม่ถกต้อง ่ ู ๓. เขียนหรือพิมพ์ตวเลขเลอะเลือนอ่านยาก หรือขาดบ้าง เกินบ้าง ั
  • 8. ๔. เก็บหนังสือและเอกสารต่าง ๆ ผิดที่ ๕. มีความหลงลืมเสมอ ๆ ๖. บวก ลบ คูณ หาร เลขผิด ๗. มีนิสยสะเพร่า ไม่ได้พนิจพิเคราะห์ให้รอบคอบ ปฏิบตงานบกพร่องบ่อย ๆ ั ิ ั ิ ๘. ทํางานซํ้า ๆ ซาก ๆ เพราะผิดบ่อย ๆ ๙. ทําเอกสารหาย ๑๐. ชักช้า โอ้เอ้ อืดอาด เสียเวลา ๑๑. จิตใจเลือนลอย ไม่เอาใจใส่ต่อหน้าที่ หรือเข้าใจคําสังผิด ่ ่ ๑๒. ลงรายการต่าง ๆ ในบัญชีผด ิ ๑๓. ไม่ระมัดระวังเครืองใช้สอยต่าง ๆ ่ ๑๔. ไม่ชานาญในการใช้เครืองมือ เครืองใช้สอย เช่นเครืองพิมพ์ดด หรืออุปกรณ์อย่างอื่น ๆ ํ ่ ่ ่ ี ๑๕. ไม่รกงาน ขาดการเอาใจใส่ ทอดทิงหน้าที่ ั ้ ๑๖. ทํางานโดยปราศจากแผนการ ฯลฯ หน้าทีประจําของเลขานุการ ่ หากสํานักงานใด หรือสถาบันใด ได้วางระเบียบปฏิบตกาหนด ั ิ ํ หน้าทีเลขานุการไว้จะต้องทําเป็ นประจํา เลขานุ การต้องทําตามระเบียบปฏิบตนน ๆ โดยเคร่งครัด ่ ั ิ ั้ สํานักงานเจ้าคณะกับเลขานุ การเจ้าคณะ สํานักงานเจ้าคณะ ซึงหมายถึงทีทาการของเจ้าคณะหรือศูนย์รวมงานการคณะสงฆ์และการพระ ่ ่ ํ ศาสนาของเจ้าคณะชันนัน ๆ ย่อมมีความผูกพันกับเลขานุ การเจ้าคณะอย่างแยกไม่ขาด หากจะกําหนด ้ ้ รูปแบบ คงได้ดงนี้ ั ๑. สํานักงานเจ้าคณะใหญ่ ผูบงคับบัญชา เจ้าคณะใหญ่ ้ ั ผูทาการเลขานุการ เลขานุ การเจ้าคณะใหญ่ ้ ํ ๒. สํานักงานเจ้าคณะภาค ผูบงคับบัญชา เจ้าคณะภาค ้ ั ผูชวยผูบงคับบัญชา รองเจ้าคณะภาค ้ ่ ้ ั ผูทาการเลขานุการ เลขานุ การเจ้าคณะภาค ้ ํ
  • 9. ผูชวยผูทาการเลขานุการ เลขานุการรองเจ้าคณะภาค ้ ่ ้ ํ ๓. สํานักงานเจ้าคณะจังหวัด ผูบงคับบัญชา เจ้าคณะจังหวัด ้ ั ผูชวยผูบงคับบัญชา รองเจ้าคณะจังหวัด ้ ่ ้ ั ผูทาการเลขานุการ เลขานุการเจ้าคณะจังหวัด ้ ํ ผูชวยผูทาการเลขานุการ เลขานุการรองเจ้าคณะจังหวัด ้ ่ ้ ํ ๔. สํานักงานเจ้าคณะอําเภอ ผูบงคับบัญชา เจ้าคณะอําเภอ ้ ั ผูชวยผูบงคับบัญชา รองเจ้าคณะอําเภอ ้ ่ ้ ั ผูทาการเลขานุการ เลขานุการเจ้าคณะอําเภอ ้ ํ ผูชวยผูทาการเลขานุการ เลขานุ การรองเจ้าคณะอําเภอ ้ ่ ้ ํ ๕. สํานักงานเจ้าคณะตําบล ผูบงคับบัญชา เจ้าคณะตําบล ้ ั ผูชวยผูบงคับบัญชา รองเจ้าคณะตําบล ้ ่ ้ ั ผูทาการเลขานุการ เลขานุ การเจ้าคณะตําบล ้ ํ วิธีแต่งตังเลขานุการ ้ เลขานุ การเจ้าคณะ และ เลขานุการรองเจ้าคณะเป็ นตําแหน่งพิเศษ บัญญัตให้มขนเพือทําหน้าที่ ิ ี ้ึ ่ การเลขานุการในเขตปกครองชันนัน ๆ เป็ นตําแหน่งทีมหน้าทีอย่างชัดเจนพร้อมการแต่งตัง แต่ไม่ม ี ้ ้ ่ ี ่ ้ อํานาจใด ๆ ในกฎมหาเถรสมาคม ฉบับที่ ๒๓ (พ.ศ.๒๕๔๑) ว่าด้วยระเบียบการปกครองคณะสงฆ์ บัญญัตไว้ ๘ ตําแหน่ง คือ เลขานุการเจ้าคณะใหญ่ ิ เลขานุ การเจ้าคณะภาค เลขานุ การรองเจ้าคณะภาค เลขานุ การเจ้าคณะจังหวัด เลขานุ การรองเจ้าคณะ จังหวัด เลขานุการเจ้าคณะอําเภอ เลขานุ การรองเจ้าคณะอําเภอ และเลขานุ การเจ้าคณะตําบล โดยเจ้าคณะใหญ่มเี ลขานุการได้หนละ ๒ รูป ส่วนเจ้าคณะและรองเจ้าคณะนอกนันมีได้ตาแหน่ง ้ ํ ละ ๑ รูป การแต่งตังเลขานุ การนัน มีขอควรศึกษาดังนี้ ้ ้ ้ หลักเกณฑ์ ๑. คุณสมบัติ ต้องเป็ นพระภิกษุมคุณสมบัตตามข้อ ๖ แห่งกฎมหาเถรสมาคม ฉบับที่ ๒๔ โดย ี ิ
  • 10. อนุ โลม ๒. ผูแต่งตัง เจ้าคณะและรองเจ้าคณะชันนัน ๆ เป็ นผูแต่งตังเอง ้ ้ ้ ้ ้ ้ วิธแต่งตัง ต้องพิจารณาคัดเลือกพระภิกษุผเหมาะสมแล้วมีคาสังแต่งตัง อย่าแต่งตังด้วยวาจา เมือได้ ี ้ ู้ ํ ่ ้ ้ ่ แต่งตังแล้ว ต้องแจ้งให้ผได้รบแต่งตังและผูใต้บงคับบัญชา และรายงานผูบงคับบัญชาเหนือตน และแจ้ง ้ ู้ ั ้ ้ ั ้ ั สํานักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ ขอยกการแต่งตังเลขานุการเจ้าคณะตําบลเป็ นตัวอย่าง ้