SlideShare a Scribd company logo
1 of 18
Download to read offline
คำอธิบำยรำยวิชำเพิ่มเติม
รหัสวิชำ I30201 ชื่อวิชำ กำรศึกษำค้นคว้ำและสร้ำงองค์ควำมรู้
(Research and Knowledge Formation)
ชั้นมัธยมศึกษำปีที่ 5 จำนวน 1 หน่วยกิต เวลำเรียน 2 คำบ/สัปดำห์
ครูผู้สอน นำยสมัย เสือแซมเสริม
คำอธิบำยรำยวิชำ
ศึกษำ วิเคราะห์ ฝึกทักษะตั้งประเด็นปัญหา/ตั้งคาถามเกี่ยวกับ สถานการณ์ปัจจุบันและสังคมโลก ตั้งสมมติฐานและ
ให้เหตุผลที่สนับสนุนหรือโต้แย้งประเด็นความรู้ โดยใช้ความรู้จากศาสตร์สาขาต่าง ๆ และมีทฤษฎีรองรับ ออกแบบวางแผน
รวบรวมข้อมูล ค้นคว้าแสวงหาความรู้เกี่ยวกับสมมติฐานที่ตั้งไว้จากแหล่งเรียนรู้ทั้งปฐมภูมิและทุติยภูมิ และสารสนเทศ อย่างมี
ประสิทธิภาพและพิจารณาความน่าเชื่อถือของแหล่งเรียนรู้อย่างมีวิจารณญาณ
เพื่อให้ได้ข้อมูลที่ครบถ้วนสมบูรณ์ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้วิธีการที่เหมาะสม สังเคราะห์สรุปองค์ความรู้และร่วมกัน มี
กระบวนการกลุ่มในการวิพากษ์แลกเปลี่ยนความคิดเห็น โดยใช้ความรู้จากสาขาวิชาต่าง ๆ เสนอแนวคิด วิธีการแก้ปัญหาอย่าง
เป็นระบบด้วยกระบวนการคิด กระบวนการแก้ปัญหา กระบวนการปฏิบัติ
เพื่อให้เกิดทักษะในการค้นคว้าแสวงหาความรู้ สังเคราะห์สรุป อภิปรายผลเปรียบเทียบเชื่อมโยงความรู้ ความเป็นมา
ของศาสตร์ เข้าใจหลักการและวิธีคิดในสิ่งที่ศึกษา เห็นประโยชน์และคุณค่าของการศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง
ผลกำรเรียนรู้
1. ตั้งประเด็นปัญหาจากสถานการณ์ปัจจุบันและสังคมโลก
2. ตั้งสมมติฐานและให้เหตุผลที่สนับสนุนหรือโต้แย้งประเด็นความรู้ โดยใช้ความรู้จากศาสตร์สาขาต่าง ๆ และมี
ทฤษฎีรองรับ
3. ออกแบบ วางแผน ใช้กระบวนการรวบรวมข้อมูลอย่างมีประสิทธิภาพ
4. ศึกษาค้นคว้า แสวงหาความรู้เกี่ยวกับประเด็นที่เลือกจากแหล่งเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพ
5. ตรวจสอบความน่าเชื่อถือของแหล่งที่มาของข้อมูลได้
6. วิเคราะห์ข้อค้นพบด้วยสถิติที่เหมาะสม
7. สังเคราะห์สรุปองค์ความรู้ด้วยกระบวนการกลุ่ม
8. เสนอแนวคิด การแก้ปัญหาอย่างเป็นระบบด้วยองค์ความรู้จากการค้นพบ
กำรศึกษำและสร้ำงองค์ควำมรู้
จากหลักการและเหตุผลของการจัดโรงเรียนมาตรฐานสากล ได้กล่าวว่า สาหรับความพร้อมในการเข้าสู่ศตวรรษที่ 21
และศักยภาพในการแข่งขันในเวทีโลกของแต่ละประเทศ ประเทศที่จะอยู่รอดได้หรือคงความได้เปรียบก็คือประเทศที่มีอำนำจ
ทำงควำมรู้และเป็นสังคมแห่งกำรเรียนรู้ ซึ่งในยุคโลกไร้พรมแดนคนต่างชาติจะเข้ามาทางาน และประกอบอาชีพในประเทศ
ไทยมากขึ้นขณะเดียวกันคนไทยก็มีโอกาสไปทางานและประกอบอาชีพในต่างประเทศมากขึ้นด้วยเช่นกัน
สังคมไทยในอนาคตจะเป็นสังคมฐานความรู้ ที่การเรียนรู้และนวัตกรรมเป็นปัจจัยสาคัญในการพัฒนา จึงมีความ
จาเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องส่งเสริมและสร้างสภาพการณ์ เพื่อให้คนไทยทุกคนมีสิทธิและความเสมอภาคในการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง
ตลอดชีวิต
กำรศึกษำ คืออะไร
การศึกษา ตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พุทธศักราช 2542 ให้ความหมายว่า กระบวนการเรียนรู้เพื่อความ
เจริญงอกงาม ของบุคคลและสังคมโดยการถ่ายทอดความรู้ การฝึก การอบรม การสืบสานทางวัฒนธรรม การสร้างสรรค์จรรโลง
ความก้าวหน้าทางวิชาการ การสร้างองค์ความรู้อันเกิดจากการจัดสภาพแวดล้อม สังคม การเรียนรู้และปัจจัยเกื้อหนุนให้บุคคล
เรียนรู้อย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต
ควำมรู้ คืออะไร
ความรู้ ตามพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542 คือ “สิ่งที่สั่งสมมาจากการศึกษาเล่าเรียน การค้นคว้า หรือ
ประสบการณ์ รวมทั้งความสามารถเชิงปฏิบัติและทักษะ ความเข้าใจ หรือสารสนเทศที่ได้รับมาจากประสบการณ์ สิ่งที่ได้รับมา
จากการได้ยิน ได้ฟัง การคิด หรือการปฏิบัติองค์วิชาในแต่ละสาขา” ซึ่งทักษะประสบการณ์นั้น ไม่ได้มีอยู่ในตาราแต่เกิดจากการ
ลงมือปฏิบัติ ดังนั้น ความรู้จะเกิดได้ด้วยการลงมือปฏิบัติ
วิธีกำรรับควำมรู้ของมนุษย์
การรับรู้ความรู้ของมนุษย์มี 4 ทาง ประกอบด้วย
1. วิธีการสร้างความรู้จากการสัมผัสรับรู้
2. สร้างความรู้จากการใช้ภาษา
3. สร้างความรู้จากการให้เหตุผล
4. การสร้างความรู้จากสิ่งที่เป็นอารมณ์
องค์ควำมรู้ คืออะไร
องค์ความรู้ คือ สารสนเทศที่สามารถนาไปใช้ในการแก้ปัญหา หรือตัดสินใจในการดาเนินงานให้ประสบความสาเร็จได้ดังนั้น
องค์ความรู้จึงจาเป็นต้องอาศัยประสบการณ์ในการเรียนรู้ที่จะแกะสารสนเทศมาใช้ในการแก้ปัญหาซึ่งขึ้นกับการฝึกฝน และ
มุมมองในการเลือกสารสนเทศไปใช้
กำรจัดกำรควำมรู้
การจัดการความรู้ หรือ Knowledge Management คือ การรวบรวมความรู้ที่มีอยู่กระจัดกระจายในองค์กรมาจัดระบบ และ
พัฒนาให้มีความทันสมัยอยู่เสมอ โดยจัดช่องทางการเข้าถึงความรู้ให้สะดวก รวดเร็ว และทั่วถึงเพื่อให้บุคลากรนาความรู้ ไป
พัฒนาการปฏิบัติให้มีประสิทธิภาพสูงสุด
ประเภทขององค์ควำมรู้
แบ่งได้เป็น 2 ประเภท ดังนี้
1. องค์ความรู้ที่สามารถอธิบายได้เป็นองค์ความรู้ซึ่งทาความเข้าใจได้จากการฟัง การอธิบาย การอ่านและ
นาไปใช้ปฏิบัติ โดยจัดไว้อย่างมีแบบแผนมีโครงสร้างและอธิบายกระบวนการวิธี ขั้นตอนที่สามารถนาไปใช้ได้
2. องค์ความรู้ที่ไม่สามารถอธิบายได้หรืออธิบายได้ยาก เป็นองค์ความรู้ที่อธิบายได้ยากหรือในบางครั้งไม่
สามารถอธิบายว่าเกิดความรู้ เหล่านั้นได้อย่างไร ไม่มีแบบแผน โครงสร้างแน่ชัด มักเกิดขึ้นกับตัวบุคคล ผลของการถ่ายทอด
ขึ้นอยู่กับผู้ถ่ายทอดและผู้รับเป็นสาคัญ
แหล่งกำเนิดขององค์ควำมรู้
1. ความรู้ที่ได้รับการถ่ายทอดจากบุคคลอื่น
2. ความรู้เกิดจากประสบการณ์การทางาน
3. ความรู้ที่ได้จากการวิจัยทดลอง
4. ความรู้จากการประดิษฐ์คิดค้นสิ่งใหม่ ๆ
5. ความรู้ที่มีปรากฏอยู่ในแหล่งความรู้ภายนอกองค์กรและองค์กรได้นามาใช้
กระบวนกำรในกำรจัดกำรควำมรู้
กระบวนการจัดการความรู้ (Knowledge Management) เป็นกระบวนการที่จะช่วยให้เกิดพัฒนาการของความรู้ หรือ
การจัดการความรู้ที่จะเกิดขึ้นภายในองค์กร มีทั้งหมด 7 ขั้นตอน คือ
1. การบ่งชี้ความรู้
2. การสร้างและแสวงหาความรู้
3. การจัดความรู้ให้เป็นระบบ
4. การประมวลและกลั่นกรองความรู้
5. การเข้าถึงความรู้
6. การแบ่งปันแลกเปลี่ยนความรู้
7. การเรียนรู้
องค์ประกอบสำคัญของกำรจัดกำรควำมรู้ (Knowledge Process)
1. คน
2. เทคโนโลยี
3. กระบวนการความรู้
ความรู้เป็นปัจจัยสาคัญยิ่งในการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ให้มีศักยภาพ มีความสามารถในการพัฒนาตนเอง พัฒนา
สังคม และประเทศให้เจริญก้าวหน้า ในปัจจุบันมีความเปลี่ยนแปลงด้านข้อมูล ข่าวสาร ความรู้อย่างรวดเร็ว อีกทั้งมีความรู้
เกิดขึ้นเป็นจานวนมาก สังคมปัจจุบันเรียกได้ว่าเป็นสังคมฐานความรู้ (Knowledge-based society) จึงต้องใช้ความรู้ในการ
ขับเคลื่อนองค์กร และพัฒนาอย่างต่อเนื่องเพื่อสร้างศักยภาพในการแข่งขันให้องค์กรอยู่รอด
กำรตั้งประเด็นคำถำม
กำรตั้งประเด็นปัญหำและกำรตั้งคำถำม
การคิดหัวข้อหรือการกาหนด “ชื่อเรื่อง” ของปัญหาที่จะทาการศึกษาค้นคว้าเป็นขั้นตอนที่สาคัญที่สุดของการค้นคว้า
อิสระ ซึ่งการคิด
หัวข้อ หรือ “ชื่อเรื่อง” มีหลักเกณฑ์ดังนี้
1. คิดหัวข้อ และเลือก “ชื่อเรื่อง” ด้วยตนเอง
2. คิดหัวข้อ หรือ “ชื่อเรื่อง” จากประเด็นปัญหา ข้อสงสัย คาถาม หรือเรื่องที่อยากรู้อยากเห็นเกี่ยวกับสิ่งต่าง ๆ ของ
ตนเอง
3. คิดหัวข้อ หรือ “ชื่อเรื่อง”ให้มีความเฉพาะเจาะจงและชัดเจน โดยต้องระบุชัดว่าจะค้นคว้าอะไร
4. หากเป็นเรื่องแปลกใหม่ หรือมีแนวการศึกษาทดลองที่แปลกใหม่ ต้องเป็นสิ่งซึ่งแสดงออกถึงความคิดริเริ่ม
สร้างสรรค์ด้วย
5. คานึงถึงเป็นประโยชน์ของเรื่องที่จะศึกษาค้นคว้า และเป็นการเพิ่มคุณค่าของผลงงานการค้นคว้าอิสระมากยิ่งขึ้น
แหล่งที่มำของชื่อเรื่อง
“ชื่อเรื่อง” ในการค้นคว้าอิสระอาจมีที่มาจากแหล่งต่างๆ ดังต่อไปนี้
1. จากการอ่านสื่อสิ่งพิมพ์ต่างๆ เช่น ตารา หนังสือพิมพ์วารสาร เอกสารเผยแพร่ เป็นต้นไม่เฉพาะแต่เรื่องราวทาง
วิทยาศาสตร์เท่านั้น
2. จากการไปเยี่ยมชมสถานที่ต่างๆ เช่น วนอุทยาน สวนสัตว์พิพิธภัณฑ์ โรงงานอุตสาหกรรม สถานที่เพาะเลี้ยงพืช
และสัตว์หน่วยงานวิจัย ห้องปฏิบัติ เป็นต้น
3. จากการฟังบรรยายทางวิชาการ การฟังและชมรายการวิทยุโทรทัศน์
4. จากกิจกรรมการเรียนการสอนในโรงเรียน
5. จากงานอดิเรกของนักเรียนเอง
6. จากการเข้าชมนิทรรศการ หรืองานประกวดโครงงานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
7. จากการศึกษาโครงงานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีที่มีผู้อื่นทาไว้แล้ว
8. จากการสนทนากับครู อาจารย์เพื่อนๆ หรือบุคคลอื่นๆ
9. จากการสังเกตปรากฏการณ์ต่างๆ รอบตัว
องค์ประกอบของชื่อเรื่อง
“ชื่อเรื่อง” ที่ถูกต้องตามหลักวิชาการจะต้องมีองค์ประกอบสาคัญครบทั้ง 3 ส่วน คือ วิทยวิธี, เป้าหมาย และตัวแปร/
เครื่องมือ
1. วิทยวิธี หมายถึง วิธีการที่ใช้ดาเนินการในการศึกษาค้นคว้าเกี่ยวกับเรื่องที่สนใจ ซึ่งต้องเขียนขึ้นต้นชื่อเรื่องเสมอ
คาที่แสดงวิทยวิธีมีอยู่ด้วยกันทั้งสิ้น 6 คา คือ
การสารวจ
การศึกษา
การพัฒนา
การประเมิน
การเปรียบเทียบ
ความสัมพันธ์ระหว่าง
2. เป้ ำหมำย หมายถึง จุดประสงค์สุดท้ายอันเป็นปลายทางของการค้นคว้าอิสระเกี่ยวกับประเด็นปัญหาหัวข้อ หรือชื่อ
เรื่องนั้นๆ
3. ตัวแปร หรือเครื่องมือ
3.1 ตัวแปร หมายถึง สิ่งที่มีอิทธิพล ผล หรือสิ่งที่อาจก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงของการทดลอง
3.2 เครื่องมือ หมายถึง วัสดุ อุปกรณ์ที่ใช้ในการดาเนินการศึกษาค้นคว้า
ตัวอย่างชื่อเรื่องที่มีองค์ประกอบครบทั้ง 3 ส่วน เช่น
“การสารวจปริมาณแมลงศัตรูพืชในนาข้าวจังหวัดสุพรรณบุรีที่ใช้ยันต์กันเพลี้ย”
“การศึกษาวิธีการสกัดเย็นน้ามันมะพร้าว”
“การพัฒนาเว็บบล็อก (WebBblog) ด้วย Wordpress เรื่อง ประเภทของคอมพิวเตอร์”
“การประเมินความเสี่ยงด้านความปลอดภัยในการใช้บริการรถไฟฟ้าใต้ดิน”
“การเปรียบเทียบประสิทธิภาพในการไล่ยุงระหว่างสารสกัดเปลือกส้มกับสารสกัดตะไคร้หอม”
“ความสัมพันธ์ระหว่างหญ้าแฝกกับการเพิ่มผลผลิตในพื้นที่สูง”
ข้อควรคำนึงในกำรกำหนดชื่อเรื่อง
ข้อควรคานึงที่พึงพิจารณาประกอบการคิดหัวข้อ หรือกาหนด “ชื่อเรื่อง” ที่จะศึกษาค้นคว้ามีดังนี้
1. เป็นเรื่องที่มีความรู้ ทักษะการใช้อุปกรณ์พื้นฐาน และมีทักษะในเทคนิควิธีอย่างเพียงพอ
2. มีแหล่งความรู้อย่างเพียงพอที่จะค้นคว้าหรือขอคาปรึกษา
3. วัสดุ อุปกรณ์ที่จาเป็นสามารถจัดหา หรือจัดทาขึ้นเองได้
4. มีระยะเวลาเพียงพอที่จะทาการค้นคว้าในเรื่องนั้นๆ
5. มีครู อาจารย์หรือผู้ทรงคุณวุฒิรับเป็นที่ปรึกษา
6. มีความปลอดภัย
7. มีงบประมาณเพียงพอ
กำรตั้งสมมติฐำน
กำรตั้งสมมติฐำน เป็นการคาดคะเนคาตอบของปัญหาอย่างมีเหตุผล หรือ การบ่งบอกความสัมพันธ์ของตัวแปรอย่าง
น้อย ๒ ตัว
ก่อนที่จะทาการทดลองจริง โดยอาศัยทักษะการสังเกต ประสบการณ์ ความรู้เดิม เป็นพื้นฐาน
กำรตั้งสมมติฐำน เป็นขั้นตอนของการคาดคะเนหรือคาดเดาคาตอบของปัญหา การคาดเดาคาตอบมีประโยชน์ในการ
กาหนดทิศทางการหาข้อมูล เพื่อตรวจสอบปัญหา เป็นการคาดเดาคาตอบอย่างมีเหตุมีผล ผู้จัดทาควรตั้งสมมติฐานหลังจากที่ได้
ศึกษาทฤษฎี เอกสารต่าง ๆ ตลอดจนงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง จนมีแนวความคิดเพียงพอที่จะคาดเดา โดยอาศัยเหตุผลเหล่านั้นได้อย่าง
สมเหตุสมผล
ประเภทของสมมติฐำน
สมมติฐานแบ่งได้เป็น 2 ประเภทคือ
1. สมมติฐานเชิงบรรยาย (Descriptive hypothesis) เป็นสมมติฐานที่เขียนคาดเดา คาตอบอยู่ในรูปของการบรรยาย
หรืออธิบายความสัมพันธ์ของตัวแปรที่ศึกษา สมมติฐานประเภทนี้ใช้ในการ
เขียนรายงานการวิจัย หรือเรียกว่าสมมติฐานการวิจัย (Research hypothesis) ตัวอย่างสมมติฐานการวิจัย
- ผู้ที่สูบบุหรี่เป็นโรคมากกว่าผู้ที่ไม่สูบบุหรี่
- การสูบบุหรี่ มีความสัมพันธ์ทางบวก กับ การเป็นมะเร็งในปอด
- กลิ่นใบตะไคร้กาจัดแมลงสาบได้ดีกว่ากลิ่นใบมะกรูด
- การลดน้าหนักด้วยวิธีควบคุมอาหารร่วมกับการออกกาลังกายช่วยลดน้าหนักได้ดีกว่าการควบคุมอาหาร
อย่างเดียว
2. สมมติฐานเชิงสถิติ (Statistical hypothesis) เป็นสมมติฐานที่ เขียนคาดเดาคาตอบของ อยู่ในรูปของความสัมพันธ์
หรือความแตกต่างของตัวแปร ในรูปของโครงสร้างทางคณิตศาสตร์ ซึ่งใช้สัญลักษณ์แทนค่าพารามิเตอร์ (Parameter) สมมติฐาน
ประเภทนี้ ใช้ในการทดสอบทางสถิติ ความจริงที่ค้นพบเป็นความจริงที่มีโอกาสที่จะเกิดขึ้นบ่อย ๆ หรือมีโอกาสที่จะเป็นจริง
มาก ซึ่งตรวจสอบโดยอาศัยหลักความน่าจะเป็น (Probability) ในทางสถิติสัญลักษณ์ของค่าพารามิเตอร์ ที่ใช้เขียนในสมมติฐาน
ทางสถิติได้แก่
u แทน ค่าคะแนนเฉลี่ย
O แทน ค่าความแปรปรวน
O แทน ค่าความเบี่ยงเบนมาตรฐาน
V แทน ค่าสหสัมพันธ์ระหว่างตัวแปร
สมมติฐานเชิงสถิตินั้น แบ่งได้เป็น 2 ประเภทคือ
1. สมมติฐานเป็นกลาง (Null hypothesis) เป็นสมมติฐานที่มีลักษณะเป็นเงื่อนไขหรือข้อตกลงเบื้องต้นที่ยอมรับก่อน
มีลักษณะเงื่อนไขที่เท่ากันหรือเป็นกลาง เช่น
Ho : μ1 = μ2
Ho : O1 = O2
2. สมมติฐานไม่เป็นกลางหรือ สมมติฐานทางเลือก (Alternative hypothesis) เป็นสมมติฐานอื่นที่ไม่ใช่สมมติ ฐานเป็น
กลาง ใช้เพื่อรองรับการสรุปผล เมื่อนักวิจัยปฏิเสธสมมติฐานที่เป็นกลาง การเขียนสมมติฐานไม่เป็นกลางนี้ สามารถเขียนได้2
ลักษณะคือ
2.1 สมมติฐานที่มีทิศทาง คือสมมติ ฐานที่เขียนแสดงถึง ความสัมพันธ์หรือความแตกต่างของตัวแปรไปใน
ทิศทางใดทิศทางหนึ่ง ซึ่งอาจจะเป็นไปในทางบวกหรือทางลบ เช่น
Hi : μ1 > μ2
Hi : μ1 < μ2
Hi : ผู้ที่สูบบุหรี่ เป็นโรคมะเร็งใน ปอดมากกว่าผู้ที่ไม่สูบบุหรี่
Hi : ผู้ที่ไม่สูบบุหรี่ เป็นโรคมะเร็ง ในปอดน้อยกว่าผู้ที่สูบบุหรี่
2.2 สมมติฐานทีไม่มีทิศทาง คือ สมมติฐานที่เขียนแสดงถึงความสัมพันธ์หรือความแตกต่างของตัวแปรที่ไม่
บอกว่าความสัมพันธ์จะเป็นไปในทิศทางใด เช่น
Hi : μ1 = μ2
Hi : ผู้ที่สูบบุหรี่ เป็นโรคมะเร็งใน ปอดแตกต่างกับผู้ที่ไม่สูบบุหรี่
ข้อแนะนำในกำรเขียนสมมติฐำน
1. เขียนอยู่ในรูป ประโยคบอกเล่า
2. เขียนหลังจากได้ศึกษา เอกสาร งานวิจัยมามากเพียงพอ
3. เลือกใช้คาหรือข้อความ ที่รัดกุม ไม่ฟุ่มเฟือย
4. มีสมมติฐานให้ครอบคลุม สอด คล้องกับจุดมุ่งหมายของการวิจัย
5. สมมติฐานแต่ละข้อเขียนเพื่อตอบ คาถามเพียงคาถามเดียว
ลักษณะของสมมติฐำนที่ดี
1. ใช้ภาษาง่ายสื่อความหมาย
2. สอดคล้องกับจุดมุ่งหมายของการวิจัยและสภาพความเป็นจริง
3. เป็นข้อความบ่งบอกความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรต้นกับตัวแปรตาม
4. สมเหตุสมผลตามหลักทฤษฎีหรือ ความรู้พื้นฐาน
5. สามารถตรวจสอบได้ด้วยข้อมูล และหลักฐาน
6. สมมติฐานที่ดีจะเป็นคาตอบที่คิดไว้ล่วงหน้าก่อนการทดลอง
7. อาจมีมากกว่า ๑ สมมติฐานก็ได้
8. ใช้เป็นแนวทางการออกแบบการทดลอง
9. การทดลองเป็นการพิสูจน์สมมุติฐานว่าถูกหรือผิด ผลที่ออกมาจะถูกหรือผิดก็ได้. (อาจใช้คาว่า ยอมรับ หรือ ไม่
ยอมรับสมมติฐานนั้นๆ)
ประโยชน์ของกำรตั้งสมมติฐำน
1. ช่วยจากัดขอบเขตของการวิจัยและการเก็บรวบรวมข้อมูลให้ชัดเจนและตรงจุดที่ต้องการศึกษา
2. ช่วยแนะแนวทางการวางแผนการวิจัยในการเลือกใช้กลุ่มตัวอย่าง เครื่องมือการเก็บข้อมูล และสถิติที่ใช้ในการ
วิเคราะห์ข้อมูล
3. ช่วยให้เห็นภาพที่จะศึกษาได้ชัดเจน เพราะสมมติฐานจะช่วยชี้บอกถึงตัวแปรเหตุ ตัวแปรผล ความสัมพันธ์หรือ
ความแตกต่างของตัวแปร
4. เป็นแนวทางในการลงสรุปผลการ วิจัย หลังจากการวิเคราะห์ข้อมูล ซึ่งจะสรุปในลักษณะของ คัดค้านหรือ
สนับสนุน สมมติฐาน
จำนวนสมมติฐำน
โครงการวิจัยหนึ่งอาจมีสมมติฐาน เพียงข้อเดียวหรือหลายข้อก็ได้ขึ้นอยู่กับวัตถุประสงค์หรือเป้ าหมายในการวิจัยที่
กาหนดไว้ตัวแปรที่ปรากฏในสมมติฐานข้อใด ข้อหนึ่งแล้ว ยังสามารถนาไปใช้เป็นตัวแปรในสมมติฐานข้ออื่นอีกได้
นอกจากนั้นแล้วยังสามารถเปลี่ยนแปลงสถานภาพของตัวแปรอิสระ เป็นตัวแปรตาม หรือในทางตรงข้ามได้สมมติฐานทุกข้อ
จะต้องมุ่งไปในทางที่จะให้ได้มา ซึ่งคาตอบต่อปัญหาการวิจัยตามที่กาหนดไว้ในกรอบแนวคิด
ตัวแปร
ตัวแปร (variables) หมายถึง คุณสมบัติหรือคุณลักษณะ หรือปรากฏการณ์ของสิ่งต่าง ๆ ที่ต้องการจะศึกษาหาความ
จริง ซึ่งอาจจะเป็นสิ่งที่มีชีวิตหรือไม่มีชีวิตก็ได้เช่น คน วัตถุสิ่งของสัตว์พืช ครอบครัว ขนาดธุรกิจ หรือเหตุการณ์ต่าง ๆ เป็น
ต้น ตัวแปรจะต้องมีค่าเปลี่ยนได้อย่างน้อยตั้งแต่ 2 ค่าขึ้นไป เช่น คน (เพศ อายุการศึกษา รายได้) เพศ สามารถแปรได้เป็นหญิง
และชาย,อายุสามารถแปรได้เป็นกลุ่มตามที่กาหนด เช่น ต่ากว่า 20 ปี, 20 – 29 ปี30 – 39 ปี และ 40 ปีขึ้นไป, ขนาดธุรกิจ อาจ
แปรได้เป็น ธุรกิจขนาดเล็ก ธุรกิจขนาดกลาง และธุรกิจขนาดใหญ่ เป็นต้น
คุณสมบัติของสิ่งใดก็ตาม ถ้าเป็นได้อย่างเดียวคุณสมบัตินั้นก็ไม่เป็นตัวแปร เช่น ความสูงของคน ถ้าทุกคนสูงเท่ากัน
หมด ความสูงก็จะไม่เป็นตัวแปรหรือรายได้ของผู้บริโภค ถ้ารายได้เท่ากันหมดก็ไม่เป็นตัวแปร เป็นต้น
ตัวแปรที่เกี่ยวข้องกับการทดลองทางวิทยาศาสตร์มีอยู่๓ ประเภท ได้แก่
ตัวแปรต้น (ตัวแปรอิสระ , ตัวแปรเหตุ) เป็นตัวแปรเหตุที่ทาให้เกิดผลต่างๆ หรือ ตัวแปรที่เราต้องการศึกษา
หรือ ทดลองดูว่าเป็นสาเหตุที่ทาให้เกิดผลตามที่เราสังเกตใช่หรือไม่
ตัวแปรตำม (ตัวแปรไม่อิสระ , ตัวแปรผล) เป็นตัวแปรที่เกิดมาจากตัวแปรเหตุ เมื่อตัวแปรเหตุเปลี่ยนแปลง
ตัวแปรตามก็จะเปลี่ยนแปลงตามไปด้วย
ตัวแปรควบคุม เป็นตัวแปรอื่นๆ มากมาย (นอกจากตัวแปรเหตุ) ที่อาจส่งผลต่อการทดลอง ทาให้ผลการ
ทดลองคลาดเคลื่อนไป เราจึงจาเป็นต้องทาการควบคุมให้เหมือนๆ กันเสียก่อน
ในความเป็นจริง จะมีตัวแปรหลายๆ ตัวที่มีผลต่อตัวแปรที่ศึกษา แต่ในการทดลองผู้ทาการทดลองจะต้องเลือกตัวแปร
ที่สาคัญที่สุดเพียงตัวเดียวมาศึกษา ดังนั้นจึงต้องทาการควบคุมตัวแปรอื่นๆ เพื่อไม่ให้เกิดผลแทรกซ้อนต่อตัวแปรตาม ตัวแปรที่
เราต้องควบคุมเรียกว่า “ตัวแปรควบคุม”
สรุปว่า โครงงานแบบทดลองจะต้องมีการระบุตัวแปร 3 ประเภท ออกมาเสียก่อน ดังนี้
1) ตัวแปรต้น คือ สาเหตุหรือเหตุของการทดลอง
2) ตัวแปรตาม คือ ผลที่เกิดขึ้น หรือผลที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลง
3) ตัวแปรควบคุม คือ สิ่งที่ต้องควบคุมให้เหมือนๆกัน
ตัวอย่าง ในความเป็นจริง (ตามธรรมชาติ) อธิบายการเจริญเติบโตของต้นไม้ว่า“ต้นไม้เจริญเติบโตได้ดีจะต้อง รดน้า
พรวนดิน ใส่ปุ๋ ย และ ตั้งไว้ในที่มีแสงแดด”ระบุตัวแปรต่างๆ ได้ดังนี้
ตัวแปรตาม คือ การเจริญเติบโตของต้นไม้
ตัวแปรต้น คือ การรดน้า พรวนดิน แสงแดด
คาอธิบาย การรดน้า พรวนดิน และ แสงแดด ส่งผลต่อ การเจริญเติบโตของต้นไม้
กำรระบุตัวแปรควบคุม
ถ้าต้องการศึกษาว่า ตัวแปรต้นตัวใด ระหว่าง การรดน้า พรวนดิน แสงแดด จะส่งผลต่อการเจริญเติบโตของต้นไม้
มากกว่ากัน เราต้องศึกษาทีละตัวแปรต้น โดยทาการควบคุมตัวแปรต้นอื่นๆ อีก 2 ตัว เช่น เราต้องการศึกษาเฉพาะตัวแปร “การ
รดน้า” ว่าจะมีผลต่อการเจริญเติบโตของต้นไม้มากน้อยเพียงใด เราก็ต้องออกแบบการทดลองโดยการควบคุมตัวแปรอีก 2 ตัว
คือ พรวนดิน และ แสงแดด โดยให้ต้นไม้ที่ทาการทดลองทั้งหมดได้รับการพรวนดิน และ แสงแดด ในปริมาณที่เท่ากัน หรือถ้า
ไม่ให้ก็ไม่ให้เหมือนๆ กัน การพรวนดิน และ แสงแดด เรียกว่าตัวแปรควบคุม
กำรรวบรวมข้อมูล
การเก็บรวบรวมข้อมูล เป็นขั้นตอนหนึ่งของกระบวนการทางสถิติที่มีความสาคัญ เพื่อให้ได้มาซึ่งข้อมูลที่ตอบสนอง
วัตถุประสงค์และ
สอดคล้องกับกรอบแนวความคิดสมมุติฐาน เทคนิคการวัด และการวิเคราะห์ข้อมูล
กำรเก็บข้อมูล คือ การเก็บข้อมูลขึ้นมาใหม่การรวบรวมข้อมูล หมายถึง การนาเอาข้อมูลต่างๆที่ผู้อื่นได้เก็บไว้แล้ว
หรือรายงานไว้ในเอกสารต่างๆ มาทาการศึกษาวิเคราะห์ต่อ
ประเภทของข้อมูล
ข้อมูล หมายถึง ข้อเท็จจริงเกี่ยวกับตัวแปรที่สารวจโดยใช้วิธีการวัดแบบใดแบบหนึ่ง โดยทั่วไปจาแนกตามลักษณะ
ของข้อมูลได้เป็น 2 ประเภท คือ
1. ข้อมูลเชิงปริมาณ คือ ข้อมูลที่เป็นตัวเลขหรือนามาให้รหัสเป็นตัวเลข ซึ่งสามารถนาไปใช้วิเคราะห์ทางสถิติได้
2. ข้อมูลเชิงคุณภาพ คือ ข้อมูลที่ไม่ใช่ตัวเลข ไม่ได้มีการให้รหัสตัวเลขที่จะนาไปวิเคราะห์ทางสถิติ แต่เป็นข้อความ
หรือข้อสนเทศ
แหล่งที่มำของข้อมูล
แหล่งข้อมูลที่สาคัญ ได้แก่ บุคคล เช่น ผู้ให้สัมภาษณ์ ผู้กรอกแบบสอบถาม บุคคลที่ถูกสังเกต เอกสารทุกประเภท
และข้อมูลสถิติจากหน่วยงาน รวมไปถึง ภาพถ่าย แผนที่ แผนภูมิ หรือแม้แต่วัตถุ สิ่งของ ก็ถือเป็นแหล่งข้อมูลได้ทั้งสิ้น
โดยทั่วไปสามารถจัดประเภทข้อมูลตามแหล่งที่มาได้2 ประเภท คือ
1. ข้อมูลปฐมภูมิ คือ ข้อมูลที่เก็บขึ้นมาใหม่เพื่อ ตอบสนองวัตถุประสงค์การวิจัยในเรื่องนั้นๆ โดยเฉพาะ การเลือกใช้
ข้อมูลแบบปฐมภูมิจะสามารถเลือกเก็บข้อมูลได้ตรงตามความต้องการและสอดคล้องกับวัตถุประสงค์ตลอดจนเทคนิคการ
วิเคราะห์ แต่มีข้อเสียตรงที่สิ้นเปลืองเวลา ค่าใช้จ่าย และอาจมีคุณภาพไม่ดีพอ หากเกิดความผิดพลาดในการเก็บข้อมูลภาคสนาม
2. ข้อมูลทุติยภูมิ คือ ข้อมูลต่างๆ ที่มีผู้เก็บหรือรวบรวมไว้ก่อนแล้ว เพียงแต่นักวิจัยนาข้อมูลเหล่านั้นมาศึกษาใหม่
เช่น ข้อมูลสามะโนประชากร สถิติจากหน่วยงาน และเอกสารทุกประเภท ช่วยให้ประหยัดค่าใช้จ่าย ไม่ต้องเสียเวลากับการเก็บ
ข้อมูลใหม่ และสามารถศึกษาย้อนหลังได้ทาให้ทราบถึงการเปลี่ยนแปลงและแนวโน้มการเปลี่ยนแปลงของปรากฏการณ์ที่
ศึกษา แต่จะมีข้อจากัดในเรื่องความครบถ้วนสมบูรณ์ เนื่องจากบางครั้งข้อมูลที่มีอยู่แล้วไม่ตรงตามวัตถุประสงค์ของเรื่องที่
ศึกษา และปัญหาเรื่องความ น่าเชื่อถือของข้อมูล ก่อนจะนาไปใช้จึงต้องมีการปรับปรุงแก้ไขข้อมูลและเก็บข้อมูลเพิ่มเติมจาก
แหล่งอื่นในบางส่วนที่ไม่สมบูรณ์
วิธีกำรเก็บรวบรวมข้อมูล
อาจแบ่งเป็นวิธีการใหญ่ๆ ได้3 วิธี คือ
1. การสังเกตการณ์ ทั้งการสังเกตการณ์แบบมีส่วนร่วมและการสังเกตการณ์แบบไม่มีส่วนร่วม หรืออาจจะแบ่งเป็น
การสังเกตการณ์แบบมีโครงสร้าง และการสังเกตการณ์แบบไม่มีโครงสร้าง
2. การสัมภาษณ์ นิยมมากในทางสังคมศาสตร์ โดยเฉพาะการสัมภาษณ์โดยใช้แบบสอบถาม การสัมภาษณ์แบบ
เจาะลึก หรืออาจจะจาแนกเป็นการสัมภาษณ์เป็นรายบุคคล และการสัมภาษณ์เป็นกลุ่ม เช่น เทคนิคการสนทนากลุ่ม ซึ่งนิยมใช้
กันมาก
3. การรวบรวมข้อมูลจากเอกสาร เช่น หนังสือ รายงานวิจัย วิทยานิพนธ์ บทความ สิ่งพิมพ์ต่างๆ เป็นต้น
ขั้นตอนกำรเก็บรวบรวมข้อมูล
1. กาหนดข้อมูลและตัวชี้วัด
2. กาหนดแหล่งข้อมูล
3. เลือกกลุ่มตัวอย่าง
4. เลือกวิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล
5. นาเครื่องมือรวบรวมข้อมูลไปทดลองใช้
6. ลงมือเก็บรวบรวมข้อมูล
ประเภทของเครื่องมือรวบรวมข้อมูล
ตัวอย่างเช่น แบบทดสอบ แบบสอบถาม แบบสัมภาษณ์ แบบประเมินค่าและมาตรวัดเจตคติ และแบบวัดอื่นๆ
กำรวิเครำะห์ข้อมูล
ข้อมูลที่เก็บรวบรวมมาได้ถ้าเป็นข้อมูลเชิงปริมาณ จะนาข้อมูลมามาหาค่าสถิติต่างๆ เพื่อตอบปัญหาการวิจัยหรือเพื่อ
ทดสอบสมมุติฐาน
การวิเคราะห์ข้อมูลขั้นแรก จะคานวณหาค่าสถิติจากข้อมูลของกลุ่มตัวอย่างก่อนที่เราเรียกว่าสถิติบรรยาย
ขั้นต่อมา จะใช้สถิติอ้างอิงเพื่อสรุปคาตอบไปยังประชากร กรณีข้อมูลเชิงคุณภาพการวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อ
ตอบปัญหาการวิจัยจะใช้วิธีการสรุปความหรือสังเคราะห์ข้อความ เสร็จแล้วจึงนาผลการวิเคราะห์ข้อมูลมา
เสนอในรายงานการวิจัย
กำรวิเครำะห์ข้อมูล มี 2 แบบ คือ
1. การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ หมายถึงการใช้วิธีการทางสถิติบรรยายและสถิติอ้างอิงเพื่อตอบประเด็นปัญหาการ
วิจัย หรือทดสอบสมมุติฐานการวิจัยให้ครบทุกข้อ สถิติบรรยายที่ใช้กันมากในการวิจัยได้แก่ ร้อยละ การวัดแนวโน้มเข้าสู่
ส่วนกลาง การวัดการกระจาย และการวัดความสัมพันธ์ ส่วนสถิติอ้างอิงจะมี 2 ประเภท ได้แก่ สถิติประมาณค่า และสถิติ
ทดสอบสมมุติฐาน
2. การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพ หมายถึงการใช้วิธีการสรุปความหรือสังเคราะห์ข้อความที่เป็นข้อมูลเชิงคุณภาพเพื่อ
ตอบประเด็นปัญหาการวิจัย หรือทดสอบสมมุติฐานการวิจัยให้ครบทุกข้อ
กำรสังเครำะห์ข้อมูล
การสังเคราะห์ เป็นกระบวนบูรณาการปัจจัยต่างๆ ตั้งแต่สองปัจจัยขึ้นไปซึ่งอาจเป็นได้ทั้งคน สัตว์สิ่งของรวมทั้ง
เหตุการณ์และสิ่งที่อยู่ใน
รูปของแนวคิดเข้ามาเป็นองค์ประกอบร่วมกันเพื่อให้เกิดสิ่งใหม่หรือเกิดปรากฏการใหม่ที่อาจเรียกได้ว่าเป็นการบูรณาภาพ โดย
ปัจจัยหรือองค์ประกอบต่างๆ ที่เข้ามาสู่กระบวนบูรณาการในการสังเคราะห์นั้นบางปัจจัยอาจจะได้ผ่านการวิเคราะห์แยกแยะ
สืบค้นมาก่อนแล้วขณะที่บางปัจจัยก็อาจจะยังไม่ได้ผ่านการวิเคราะห์แยกแยะสืบค้นมาก่อน สภาวะรูปของปัจจัยและ
องค์ประกอบต่างๆที่นามาเป็นปัจจัยและองค์ประกอบในการสังเคราะห์นั้นอาจเป็นไปได้ทั้งแบบรูปธรรมและนามธรรม ซึ่ง
บูรณภาพที่เป็นปรากฏการณ์ใหม่หรือสิ่งใหม่อันเกิดขึ้นจากการสังเคราะห์นั้นก็เป็นไปได้ทั้งแบบรูปธรรมและนามธรรมเช่นกัน
ควำมหมำยของกำรคิดสังเครำะห์
กำรคิดสังเครำะห์ หมายถึงความสามารถในการคิดที่ดึงองค์ประกอบต่าง ๆ มาหลอมรวมกันภายใต้โครงร่างใหม่อย่าง
เหมาะสม เพื่อให้เกิดสิ่งใหม่ที่มีลักษณะเฉพาะแตกต่างไปจากเดิม
การคิดสังเคราะห์ครอบคลุมถึงการค้นคว้า รวบรวมข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับเรื่องที่จะคิดซึ่งมีมากหรือกระจายกันอยู่มาหลอมรวมกัน
คนที่คิดสังเคราะห์ได้เร็วกว่าย่อมได้เปรียบกว่าคนที่สังเคราะห์ไม่ได้ซึ่งจะทาให้เข้าใจและเห็นภาพรวมของสิ่งนั้นได้มากกว่า
ประเภทกำรคิดสังเครำะห์
การคิดสังเคราะห์แบ่งเป็น 2 ลักษณะ คือ
1. การคิดสังเคราะห์เพื่อสร้างสิ่งใหม่ เช่น ประดิษฐ์สิ่งของเครื่องใช้อุปกรณ์ต่าง ๆ ตามต้องการ
2. การคิดสังเคราะห์เพื่อสร้างแนวคิดใหม่ เป็นการพัฒนาและคิดค้นแนวคิดใหม่ ถ้าเราสามารถคิดสังเคราะห์ได้ดี จะ
ทาให้พัฒนาความคิดหรือสิ่งใหม่ ๆ ที่เป็นประโยชน์ต่อสังคม
ควำมสำคัญของกำรคิดสังเครำะห์
การคิดสังเคราะห์มีความสาคัญอย่างมากในกระบวนการคิด เนื่องจากช่วยจัดระบบข้อมูลให้มีความชัดเจนในประเด็น
และเป็นระเบียบมากขึ้น ทาให้มีข้อมูลที่จาเป็นครบถ้วน ซึ่งมีความสาคัญดังนี้
1. ช่วยให้หาทางออกของปัญหาโดยไม่ต้องเริ่มจากศูนย์เราสามารถนาสิ่งที่คนอื่นคิดหรือปฏิบัติมาแล้วมาใช้
ประโยชน์ได้ทั้งที่เกี่ยวข้องโดยตรงและโดยอ้อม นามาผสมผสานกันเป็นทางออกในการแก้ปัญหา
2. ช่วยให้มีความเข้าใจที่คมชัดและครบถ้วนเกี่ยวกับเรื่องต่าง ๆ แต่เดิมเรามักจะหาทางออกของปัญหาโดยการ
เลียนแบบหรือลองผิดลองถูก ทางที่ดีกว่าและปลอดภัยกว่าคือการใช้การคิดสังเคราะห์เข้ามาช่วยสรุปความรู้ที่กระจัดกระจาย ให้
เข้าใจเรื่องได้คมชัดและครบถ้ว
3. ช่วยขยายขอบเขตความสามารถของสมองในการพยายามสืบเสาะแสวงหาข้อมูลเพิ่มเติมจากแหล่งต่าง ๆ ภายนอก
นามาสังเคราะห์เข้าด้วยกันเพื่อได้แนวทางแก้ปัญหาที่มีความสมบูรณ์ครบถ้วน สามารถนามาใช้ได้จริง และประสบความสาเร็จ
4. ข้อมูลที่สังเคราะห์จะเป็นประโยชน์ในการคิดต่อยอดความรู้ ทาให้ไม่เสียเวลาเริ่มต้นใหม่ คิดต่อยอดได้ทันที
นาไปสู่การพัฒนาสิ่งใหม่ ๆ ที่มีประโยชน์
5. ช่วยให้เกิดการสร้างสรรค์สิ่งใหม่ เพราะมีส่วนสาคัญที่ทาให้เกิดสิ่งใหม่ ๆ อย่างต่อเนื่องจากการสร้างสรรค์ที่ไม่
หยุดยั้งของมนุษย์
ขั้นตอนกำรสังเครำะห์
1. กำหนดหัวเรื่องและจุดประสงค์ที่จะสังเคราะห์ให้ชัดเจนว่าต้องการสังเคราะห์เพื่อให้เกิดบูรณาภาพหรือ
ปรากฏการณ์ใหม่ในรูปแบบใด เช่นเพื่อให้เกิดผลผลิต เพื่อให้เกิดข้อสรุป หรือ เพื่อให้เกิดการทานายเหตุการณ์ในอนาคตโดย
กาหนดวัตถุประสงค์ให้ชัดเจนด้วยว่าจะสังเคราะห์เพื่อนาผลการสังเคราะห์ที่ได้ไปดาเนินการในสิ่งใดต่อ
2. จัดเตรียมปัจจัยและองค์ประกอบต่างๆที่จะนาเข้าสู่กระบวนการสังเคราะห์ซึ่งอาจเป็นคน สัตว์สิ่งของ หรือเป็น
ประเด็นนามธรรมต่างๆ คัดกรอง คัดเลือกให้ได้ข้อมูลหรือปัจจัยวัตถุดิบต่างๆที่มีคุณภาพเพื่อนาสู่กระบวนการสังเคราะห์
3. สังเครำะห์ปัจจัยและองค์ประกอบต่างๆที่เตรียมไว้ตามจุดประสงค์ที่กาหนด โดยให้กระบวนการสังเคราะห์มุ่งที่
การนาปรากฏการใหม่หรือบูรณาภาพที่ได้จากการสังเคราะห์ไปใช้ให้เกิดประโยชน์ตามที่ได้กาหนดไว้ในวัตถุประสงค์ของการ
สังเคราะห์.
4. ตรวจสอบและประเมินผลการสังเคราะห์ที่ได้ว่าน่าจะมีความแม่นยา ความเที่ยง และความเป็นไปได้มากน้อย
เพียงใดเพื่อเตรียมนาไปใช้ตามวัตถุประสงค์
4.1ผลการสังเคราะห์ที่มีคุณภาพ มีความแม่นยาน่าเชื่อถือและมีความเป็นไปได้สูง สามารถนาผลของการ
สังเคราะห์ดาเนินการนาไปใช้ในขั้นต่อไปได้ตามวัตถุประสงค์
4.2 ผลของการสังเคราะห์ที่ไม่มีคุณภาพ ให้นาผลของการสังเคราะห์นั้นเข้าสู่กระบวนการวิเคราะห์เพื่อ
ดาเนินการแยกแยะตรวจสอบหาที่มาของปัจจัยและองค์ประกอบต่างๆที่ได้นาเข้าสู่กระบวนการสังเคราะห์ รวมทั้งตรวจสอบ
คุณภาพของผู้ทาการสังเคราะห์เพื่อสืบค้นหาที่มาและเหตุปัจจัยที่ทาให้ผลของการการสังเคราะห์เป็นผลการสังเคราะห์ที่ไม่มี
คุณภาพ และเมื่อวิเคราะห์หาเหตุปัจจัยต่างๆนั้นได้แล้วให้แก้ไขปรับปรุงหรือเปลี่ยนแปลงเพื่อพัฒนาข้อมูลหรือองค์ประกอบ
ปัจจัยต่างๆนั้นให้มีคุณภาพต่อไปเพื่อนาเข้าสู่กระบวนการสังเคราะห์ใหม่อีกครั้งหนึ่ง
5. นำผลกำรสังเครำะห์ไปใช้ประโยชน์ตามจุดมุ่งหมายโดยจะนาเสนอต่อสาธารณะหรือเก็บเป็นข้อมูลสังเคราะห์
ส่วนตัวก็แล้วแต่จุดประสงค์ของผู้ทาการสังเคราะห์ เช่น สังเคราะห์สถานการณ์ปัจจุบันเพื่อนาไปใช้ประกอบการคาดเดาโอกาส
ของเหตุการณ์ที่อาจจะเกิดขึ้นได้ในอนาคต
ตัวบ่งชี้กำรคิดสังเครำะห์
1. สามารถกาหนดวัตถุประสงค์ของสิ่งใหม่ที่ต้องการสังเคราะห์
2. สามารถวิเคราะห์ส่วนประกอบหรือข้อมูลที่ต้องการสังเคราะห์
3. สามารถเลือกข้อมูลที่เหมาะสมกับวัตถุประสงค์ที่ต้องการสังเคราะห์
4. สามารถสร้างกรอบแนวคิดตามวัตถุประสงค์ที่กาหนด
5. สามารถสร้างสิ่งใหม่ได้ตามวัตถุประสงค์และกรอบแนวคิดที่กาหนด
6. สามารถตรวจสอบความถูกต้องตามหลักเกณฑ์ได้อย่างตรงประเด็น
7. สามารถนาสิ่งที่สังเคราะห์ไปใช้ประโยชน์ได้
ตัวอย่ำงคำถำมหรือคำสั่งที่ต้องใช้กำรคิดสังเครำะห์
1. จากที่เรียนมาแล้วเกี่ยวกับ "เสือไม่ทิ้งลาย" ให้นักเรียนวาดภาพที่แสดงความสอดคล้องกับข้อความดังกล่าว
2. เขียนสรุปสาระสาคัญของสิ่งที่เรียนเป็นแผนผังความคิด
3. ให้ร่วมกันจัดทาโครงงานจากเรื่องที่เรียนมาแล้ว 1 เรื่อง
4. จากเนื้อหาที่เรียน นักเรียนคิดว่าควรปฏิบัติตามใคร เพราะเหตุใด
5. ให้ออกแบบสิ่งของต่าง ๆ จากวัสดุที่มีอยู่
6. ให้แต่งคาประพันธ์ บทกลอน โคลง ที่เกี่ยวกับเรื่องที่เรียน
7. ให้ประดิษฐ์สิ่งของจากวัสดุธรรมชาติให้ใช้ประโยชน์ได้มากที่สุด
กำรพัฒนำนักคิดสังเครำะห์
การคิดสังเคราะห์เป็นสิ่งที่มีอยู่ในตัวมนุษย์และสามารถส่งเสริมได้โดยฝึกดังนี้
1. ไม่พอใจสิ่งเดิม ชอบถามหาสิ่งใหม่ ชอบแสวงหา ชอบการเปลี่ยนแปลง
2. ไม่นิ่งเฉย ชอบสะสมข้อมูล ทาให้มีวัตถุดิบทางความคิดมากเพียงพอที่จะนาไปใช้ในการสังเคราะห์สิ่งต่าง ๆ
3. มีความเข้าใจและมองเห็นความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งต่าง ๆ นามาเชื่อมโยงอย่างสมเหตุและสมผล
4. ไม่แปลกแยก ชอบผสมผสาน การผสมผสานองค์ประกอบหรือความคิดที่ดูเหมือนขัดแย้งกันเข้าด้วยกัน โดย
ผสมผสานอย่างกลมเกลียว และเชื่อมโยงอย่างสมเหตุสมผล
6. ไม่คลุมเครือ ชอบความคมชัดในประเด็น เข้าใจว่าแนวความคิดหนึ่งประกอบด้วยประเด็นหลักหรือประเด็นรอง
อะไรบ้าง ฝึกจับประเด็นบทความ หนังสือ หนังสือพิมพ์
7. ไม่ลาเอียง ชอบวางตนเป็นกลาง ไม่อคติต่อข้อมูลที่ได้ต้องแยกความรู้สึกออกจากข้อเท็จจริง
8. ไม่ยุ่งเหยิง ชอบระบบระเบียบ
9. ไม่ท้อถอย มีความมานะพากเพียร
กำรอภิปรำยผล
การสรุปองค์ความรู้ เป็นการทาเพื่อหาข้อความรู้และข้อความจริงจากตัวเลขหรือข้อมูลเชิงคุณภาพ ตลอดจน
กระบวนการทางสถิติที่ได้
โดยมีหลักในการแปลผลและการสรุปผลข้อมูลคือ จะต้องแปลผลและสรุปผลให้อยู่ภำยในขอบเขตของข้อมูล และจุดมุ่งหมำย
ของกำรวิจัยเป็นหลัก ไม่ควรจะแปลผลหรือให้ข้อสรุปที่บิดเบือนไปจากข้อเท็จจริง หรือใช้อคติส่วนตัวเข้าไปเกี่ยวข้องด้วย และ
สาหรับกำรอภิปรำยผล เป็นขั้นตอนที่ผู้วิจัยต้องนาหลักการ ทฤษฎี กฎเกณฑ์ ตลอดจนผลการวิจัยมาเป็นแนวทางในการอภิปราย
ผล ส่วนกำรเสนอข้อเสนอแนะเป็นการชี้แนวทางการนาผลการวิจัยไปใช้และเสนอปัญหาวิจัยว่า ควรจะทาเรื่องใดต่อไป
หลักกำรกำรแปลผล กำรสรุปผล กำรอภิปรำยผลและข้อเสนอแนะ
หลังจากนักวิจัยได้วิเคราะห์ผลข้อมูลจากการเก็บรวบรวมเป็นข้อมูลทางสถิติแล้ว ขั้นต่อไปก็คือการนาเสนอข้อมูลใน
รูปแบบต่างๆ เช่น เสนอเป็นรูปกราฟเส้น กราฟแท่ง กราฟวงกลม รูปตาราง หรือในรูปบทความ เพื่อการแปลผลข้อมูล รวมถึง
อภิปรายผลและข้อเสนอแนะต่อไป
หลักในกำรแปลควำมหมำยของข้อมูล
การแปลผลจัดว่าเป็นขั้นตอนสาคัญมากสาหรับการวิจัย เพราะเป็นการกล่าวถึงข้อความจริงที่ค้นพบ ซึ่งมีหลักในการ
แปลความหมายข้อมูลดังนี้ คือ
1. จะต้องแปลผลอยู่ภายในขอบเขตของข้อมูล จุดมุ่งหมายการวิจัย และประชากรที่ศึกษา
2. พยายามแปลความหมายของผลการวิเคราะห์ให้สอดคล้องกับข้อจากัดของข้อมูลและสถิติ และพยายามใช้ภาษาที่
ง่าย แจ่มชัด และรัดกุม
3. การแปลความหมายข้อมูลจะต้องให้สัมพันธ์กับผลการวิเคราะห์ข้อมูล และจะต้องตรงกับความหมายของค่าสถิติที่
ได้ด้วย
4. การแปลความหมายข้อมูลจะต้องไม่มีอคติ ใช้ความรู้สึกส่วนตัวหรือพยายามตีความบิดเบือนไปจากข้อเท็จจริง
เพื่อให้เป็นไปตามสมมติฐานที่ตั้งไว้และควรจัดทาด้วยความรอบคอบ
5. การใช้ค่าเฉลี่ยต่างๆ ในการวิเคราะห์ข้อมูล ต้องยอมรับว่าค่าเฉลี่ยเป็นเพียงแนวโน้มแบบหนึ่งเท่านั้น ไม่ใช่ตัวแทน
ที่ดีของประชากร หรือตัวแทนที่แท้จริงเสมอไป ดังนั้นควรใช้อย่างระมัดระวัง ยิ่งค่ากระจายของข้อมูลมีมาก การแปล
ความหมายข้อมูลอาจผิดพลาดได้ง่าย
ข้อพกพร่องหรือควำมผิดพลำดที่อำจจะเกิดขึ้นในกำรวิเครำะห์และแปลผลข้อมูล
1. การคิดคานวณค่าสถิติผิดพลาด
2. ใช้กระบวนการทางสถิติ หรือเลือกใช้สถิติไม่เหมาะสม
3. การแปลผลที่ใช้ความรู้สึกส่วนตัวเข้าไปเกี่ยวข้องด้วย
4. การสมมติค่าสถิติขึ้นเอง เพื่อการแปลความได้ตามสมมติฐานที่ตั้งไว้
5. ละเลยในข้อจากัดหรือขอบเขตของการวิจัย
6. มีความสับสนในการแก้ปัญหาและข้อเท็จจริงที่ค้นพบ
7. ผู้วิจัยขาดจินตนาการ หรือความคิดสร้างสรรค์
8. การแปลความหมายโดยการใช้เหตุผลผิด
หลักในกำรสรุปผลกำรวิจัย
1. การสรุปผลต้องขึ้นอยู่กับข้อมูลที่ได้เป็นสาคัญ
2. การสรุปต้องสอดคล้องกับข้อเท็จจริง หลักการต่างๆ ของธรรมชาติ
3. การสรุปต้องจากัดภายในขอบเขตของปัญหา และความรู้ที่ได้รับจริงๆ ไม่กล่าวอ้างถึงเหตุอื่นๆ ซึ่งไม่ใช่ผลการวิจัย
4. การลงสรุปนั้นเป็นการกล่าวแต่เพียงสั้นๆ รัดกุมตามปัญหาการวิจัย
5. การสรุปผลต้องเป็นคาตอบที่เกี่ยวข้องและสัมพันธ์กับปัญหาวิจัย
6. การสรุปผลเป็นเรื่องของการค้นพบข้อเท็จจริง ไม่รวมทัศนคติ หรือความคิดเห็นส่วนตัวเข้าไปเกี่ยวข้องด้วย
7. การสรุปผลข้อมูลควรเป็นผลเนื่องมาจากการคิดไตร่ตรองอย่างรอบคอบจากข้อมูลและข้อเท็จจริงที่ได้
หลักกำรอภิปรำยผล
การอภิปรายผลเป็นขั้นตอนที่ผู้วิจัยจะทาภายหลังจากการสรุปผลการวิจัย หรือข้อค้นพบของการวิจัยของตนแล้ว โดย
การนาหลักเหตุผล ทฤษฎี กฎเกณฑ์ต่างๆ ตลอดจนผลการวิจัยของผู้อื่นมาวิพากษ์วิจารณ์ผลการวิจัยของตน ซึ่งอาจกระทาได้
ดังนี้
1. ศึกษาทฤษฎี กฎเกณฑ์หลักเหตุผลต่างๆ ตลอดจนผลการวิจัยของผู้อื่นเพื่อนามาเป็นแนวทางในการอภิปรายผล ซึ่ง
ส่วนหนึ่งผู้วิจัยอาจจะศึกษามาแล้ว ในขั้นตอนการศึกษาเอกสารและการวิจัยที่เกี่ยวข้อง
2. พิจารณาผลการวิจัยสอดคล้องหรือขัดแย้งกับสมมติฐาน และผลการวิจัยของผู้ใดบ้าง
3. พิจารณาขอบเขตและข้อจากัดของการวิจัย เพื่อให้การอภิปรายผลอยู่ในขอบเขตของการวิจัย
4. วิพากษ์วิจารณ์หรือให้เหตุผลที่ผลการวิจัยนั้น สอดคล้องหรือขัดแย้งกับสมมติฐานที่ตั้งไว้ตลอดจนเหตุผลที่
ผลการวิจัยสอดคล้องหรือขัดแย้งกับผลการวิจัยของผู้อื่น โดยใช้ทฤษฎีเหตุผลและผลการวิจัยของผู้อื่นมาเป็นแนวทางในการ
อภิปรายในกรณีผลการวิจัยสอดคล้องกับสมมติฐานมาเป็นแนวทางในการอภิปรายได้เลย
หลักกำรเขียนข้อเสนอแนะ
การใช้ข้อเสนอแนะ เป็นขั้นตอนสุดท้ายที่ผู้วิจัยจะกระทาในกระบวนการวิจัยแต่ละเรื่องโดยผู้วิจัยจะชี้แนะแนว
ทางการนาผลการวิจัยไปใช้ประโยชน์ และแนวทางในการวิจัยต่อไป
โดยทั่วไป การให้ข้อเสนอแนะของการวิจัยจะประกอบด้วยส่วนต่างๆ ดังนี้
จุดอ่อน ข้อบกพร่อง หรือข้อจากัดของการวิจัย หรือทั้งข้อเสนอแนะในการแก้ปัญหาเพื่อให้ผู้อ่านได้พิจารณา
ประกอบการตัดสินใจว่า จะเชื่อผลการวิจัยนั้นได้เพียงใด และยังเป็นข้อเตือนในแก่ผู้ที่จะทาการวิจัยในเรื่องทานองเดียวกัน ใน
กรณีที่ทาการวิจัยที่ไม่มีจุดอ่อนหรือข้อบกพร่องใดๆ ก็จะไม่มีส่วนนี้
แนวทางในการนาผลการวิจัยไปใช้กล่าวคือ ผลการวิจัยควรจะนาไปใช้ประโยชน์กับใคร ในเรื่องใดและมีแนวทาง
ในการใช้อย่างไร
แนวทางในการทาวิจัยต่อไป กล่าวคือ จากปัญหาที่ผู้วิจัยได้ทาแล้ว สามารถทาการวิจัยเรื่องใดต่อไปได้อีก ซึ่งเรื่องที่จะ
เสนอควรเป็นเรื่องใหม่ที่น่าสนใจ และสามารถปฏิบัติตามได้จริงๆ
กล่าวโดยสรุปก็คือ การแปลผลข้อมูลก็เพื่อการหาข้อสรุปของข้อมูล เพื่อข้อความรู้และข้อความจริงจากตัวเลข และ
กระบวนการทางสถิติที่ได้โดยมีหลักในการแปลผลและการสรุปผลข้อมูล คือจะต้องแปลผลอยู่ภายในขอบเขตของข้อมูล และ
จุดมุ่งหมายของการวิจัยเป็นหลัก ไม่ควรจะแปลผลหรือให้ข้อสรุปที่บิดเบือนไปจากข้อเท็จจริง หรือใช้อคติส่วนตัวเข้าไป
เกี่ยวข้องด้วย และสาหรับการอภิปรายผล เป็นขั้นตอนที่ผู้วิจัยของนาหลักการ ทฤษฎี กฎเกณฑ์ ตลอดจนผลการวิจัยมาเป็น
แนวทางในการอภิปรายผล ส่วนการเสนอข้อเสนอแนะเป็นการชี้แนวทางการนาผลการวิจัยไปใช้และเสนอปัญหาการวิจัยว่า
ควรจะทาเรื่องใดต่อไป
กำรนำเสนอผลงำน
การนาเสนอ ถือเป็นทักษะที่จาเป็นของคนทางานทั้งในสังคมธุรกิจ และงานราชการ ที่จะเป็นส่วนหนึ่งนาไปสู่
ความสาเร็จในหน้าที่การงาน
การที่จะประสบความสาเร็จในการนาเสนอที่ดี ผู้นาเสนอจะต้องมีความเข้าใจในความหมาย ความสาคัญของการนาเสนอ ต้อง
เป็นผู้ที่รู้รูปแบบ ขั้นตอนของการนาเสนอ รู้ลักษณะของการนาเสนอที่ดี เสริมสร้างคุณสมบัติ ลักษณะของตัวตน รวมถึงพัฒนา
ทักษะที่เป็นตัวตนเป็นเอกลักษณ์ในการนาเสนออย่างมีประสิทธิภาพ
กำรนำเสนอ(Presenting)
เป็นศาสตร์(วิธีการ)ของการสื่อสาร(Communication) ซึ่งเป็นกระบวนการถ่ายทอด สาร(message) จากฝ่ายหนึ่งที่
เรียกว่าผู้ส่งสาร(sender)ไปสู่อีกฝ่ายหนึ่งที่เรียกว่า ผู้รับสาร(receiver) โดยผ่านช่องทานของ สื่อ(channel)
ควำมหมำยของคำว่ำ กำรนำเสนอ
การนาเสนอ คือ กระบวนการ วิธีการ เพื่อให้รู้ ให้ทราบ ให้เข้าใจ ในกิจกรรมขององค์กร ของสถาบัน ของหน่วยงาน
ได้อย่างชัดเจน
การนาเสนอ คือ การถ่ายทอดเนื้อหา สาระที่ผสมผสานกันระหว่าง ศิลปะการพูด กับ การแสดงข้อมูล ในรูปแบบต่างๆ
ผ่านสื่อและอุปกรณ์ได้อย่างเหมาะสม
ลักษณะและรูปแบบกำรนำเสนอ รูปแบบการนาเสนอ(ที่นิยมใช้) มี 3วิธีการ คือ
1. มี ผู้นาเสนอ และใช้เอกสารประกอบ(Handout)เป็นส่วนร่วมในการนาเสนอ
2. มี ผู้นาเสนอ ใช้วัสดุ-อุปกรณ์เครื่องฉาย เป็นสื่อ และมี เอกสารประกอบ เป็นส่วนร่วม
3. จัดเป็น Display ในรูปของนิทรรศการ ที่ใช้Post line เป็นเส้นนาทาง และ(อาจ)มี เอกสารประกอบ เป็นส่วนร่วม
ประเภทของสื่อนำเสนอ
1. สื่อเพื่อการนาเสนอโครงการ(กิจกรรม)
2. สื่อเพื่อสรุปโครงการ(กิจกรรม)
3. สื่อเพื่อการประชาสัมพันธ์
4. สื่อประกอบการบรรยาย
องค์ประกอบของสื่อนำเสนอ
หากจะแบ่งสื่อนาเสนอออกเป็นส่วนๆ ควรประกอบด้วย 3 ส่วน คือ
1. ส่วนนาเรื่อง Beginning
2. ส่วนเนื้อหาMiddle
3. ส่วนท้ายเรื่อง End
โดยในการนาเสนอนั้น จะแบ่งทั้ง 3 ส่วน อัตราส่วน ส่วนนาเรื่องและส่วนท้ายเรื่อง รวมกัน 20-25% ส่วนเนื้อหา 75-
80%
1.สื่อเพื่อกำรนำเสนอโครงกำร(กิจกรรม) จะมีโครงสร้าง โดยย่อ ดังนี้
1. ส่วนนำเรื่อง Beginning บอกชื่อเรื่อง บอกวัตถุประสงค์ของโครงการ รวมถึงสาระสาคัญของโครงการ
2. ส่วนเนื้อหำ Middleส่วนนี้จะบอกในส่วนขององค์ประกอบหรือขั้นตอนของกิจกรรมหลักๆของโครงการ
3. ส่วนท้ำยเรื่อง Endส่วนนี้เป็นส่วนที่แสดงให้ผู้ฟังรับทราบว่าสิ้นโครงการนี้ จะได้อะไร
2.สื่อเพื่อสรุปโครงกำร(กิจกรรม) จะมีโครงสร้าง โดยย่อ ดังนี้
1. ส่วนนำเรื่อง Beginning บอกชื่อเรื่อง รวมถึงต้องบอกความเป็นมาของโครงการ
2. ส่วนเนื้อหำ Middleส่วนนี้จะสรุปขั้นตอนของการดาเนินการของโครงการ
3. ส่วนท้ำยเรื่อง Endส่วนนี้เป็นส่วนสรุปผล ประเด็นปัญหา อุปสรรค ข้อจากัดในการดาเนินการ และข้อเสนอแนะที่
ผู้ดาเนินการเห็นว่าควรนาเสนอ
3.สื่อเพื่อกำรประชำสัมพันธ์ จะมีโครงสร้าง โดยย่อ ดังนี้
1. ส่วนนำเรื่อง Beginning เป็นส่วนเริ่มต้นที่จะมีชื่อเรื่องหรือไม่ก็ได้โดยปกติจะเป็นสื่อแนะนาหน่วยงาน ซึ่งอาจจะเริ่ม
ด้วยสภาพ บริบท บทบาทหน้าที่หรือภารกิจหลักในภาพรวม ของหน่วยงาน
2. ส่วนเนื้อหำ Middleส่วนนี้อาจเป็นส่วนการนาเสนอโครงสร้าง อธิบายภารกิจ กิจกรรมที่ดาเนินการ
3. ส่วนท้ำยเรื่อง Endส่วนแสดงถึงผลงานที่ดีเด่น อาจจะปิดท้ายด้วยคาขวัญหรือปรัชญา ขององค์กร
4. สื่อประกอบกำรบรรยำย จะมีโครงสร้าง โดยย่อ ดังนี้
1. ส่วนนำเรื่อง Beginning บอกชื่อเรื่อง และหัวข้อเรื่องต่างๆที่จะบรรยายหรือที่จะนาเสนอ
2. ส่วนเนื้อหำ Middleส่วนนี้เป็นส่วนนาเสนอเนื้อหา ซึ่งจะต้องนาเสนออย่างเป็นขั้นเป็นตอน พร้อมทั้งมีตัวอย่างแทรก
3. ส่วนท้ำยเรื่อง Endส่วนนี้เป็นส่วนสรุปประเด็นที่สาคัญของเนื้อหา รวมถึงเป็นช่วงการตอบปัญหา ซักถาม
สื่อทั้ง 4 ดังที่กล่าวในข้างต้น จะมีจุดประสงค์ในการนาไปใช้2 สถานะ
1.Self media presenting เป็นสื่อที่นาเสนอเรื่องราวด้วยตัวของมันเอง ในลักษณะแบบต่อเนื่อง คล้ายวิดีทัศนื หรือ
ภาพยนตร์ โปรแกรมนาเสนอแบบนี้ ที่นิยมใช้ก็มีหลายโปรแกรม อาทิ
2.Benefit media presenting เป็นสื่อที่ใช้ประกอบการบรรยายหรือการนาเสนอ ซึ่งโปรแกรมนาเสนอประเภทนี้ที่นิยมใช้
มากที่สุดก็คือ PowerPoint

More Related Content

What's hot

แนะนำอุปกรณ์ห้องปฏิบัติการวิทย์
แนะนำอุปกรณ์ห้องปฏิบัติการวิทย์แนะนำอุปกรณ์ห้องปฏิบัติการวิทย์
แนะนำอุปกรณ์ห้องปฏิบัติการวิทย์Jariya Jaiyot
 
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้DuangdenSandee
 
การสะท้อนของแสง
การสะท้อนของแสงการสะท้อนของแสง
การสะท้อนของแสงPonpirun Homsuwan
 
ตัวอย่างโครงงานชนะเลิศ
ตัวอย่างโครงงานชนะเลิศตัวอย่างโครงงานชนะเลิศ
ตัวอย่างโครงงานชนะเลิศsariya25
 
บท2 ยีนเเละโครโมโซม
บท2 ยีนเเละโครโมโซมบท2 ยีนเเละโครโมโซม
บท2 ยีนเเละโครโมโซมWichai Likitponrak
 
1กำหนดการสอนพรพนาวิทย์เพิ่มเติม 1 57 พ.ค
1กำหนดการสอนพรพนาวิทย์เพิ่มเติม 1 57  พ.ค1กำหนดการสอนพรพนาวิทย์เพิ่มเติม 1 57  พ.ค
1กำหนดการสอนพรพนาวิทย์เพิ่มเติม 1 57 พ.คkrupornpana55
 
การสอนแบบจัดมโนมติล่วงหน้า
การสอนแบบจัดมโนมติล่วงหน้าการสอนแบบจัดมโนมติล่วงหน้า
การสอนแบบจัดมโนมติล่วงหน้าDueansc
 
รูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณี
รูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณีรูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณี
รูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณีParichart Ampon
 
แบบประเมินงานนำเสนอในรูปแบบออนไลน์
แบบประเมินงานนำเสนอในรูปแบบออนไลน์แบบประเมินงานนำเสนอในรูปแบบออนไลน์
แบบประเมินงานนำเสนอในรูปแบบออนไลน์kruood
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการจำแนกสาร ชุดที่ 1 การแยกสารด้วยวิธีการกรอง
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการจำแนกสาร ชุดที่ 1 การแยกสารด้วยวิธีการกรองชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการจำแนกสาร ชุดที่ 1 การแยกสารด้วยวิธีการกรอง
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการจำแนกสาร ชุดที่ 1 การแยกสารด้วยวิธีการกรองชลธิกาญจน์ จินาจันทร์
 
หินอัคนี หินแปร หินตะกอน
หินอัคนี หินแปร หินตะกอนหินอัคนี หินแปร หินตะกอน
หินอัคนี หินแปร หินตะกอนwebsite22556
 
หนังสือเล่มเล็กประกอบการศึกษาเรียนรู้ด้านโครงสร้างอวัยวะสืบพันธุ์ของพืชดอกตัว...
หนังสือเล่มเล็กประกอบการศึกษาเรียนรู้ด้านโครงสร้างอวัยวะสืบพันธุ์ของพืชดอกตัว...หนังสือเล่มเล็กประกอบการศึกษาเรียนรู้ด้านโครงสร้างอวัยวะสืบพันธุ์ของพืชดอกตัว...
หนังสือเล่มเล็กประกอบการศึกษาเรียนรู้ด้านโครงสร้างอวัยวะสืบพันธุ์ของพืชดอกตัว...KalyakornWongchalard
 
คุณลักษณะของครูที่ดี
คุณลักษณะของครูที่ดีคุณลักษณะของครูที่ดี
คุณลักษณะของครูที่ดีniralai
 
เรียงความชนะเลิศ เนื่องในวันแม่แห่งชาติ
เรียงความชนะเลิศ เนื่องในวันแม่แห่งชาติเรียงความชนะเลิศ เนื่องในวันแม่แห่งชาติ
เรียงความชนะเลิศ เนื่องในวันแม่แห่งชาติDuangjai Boonmeeprasert
 
แผนการเรียนรู้ที่ 1
แผนการเรียนรู้ที่ 1แผนการเรียนรู้ที่ 1
แผนการเรียนรู้ที่ 1krusu01
 
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสAomiko Wipaporn
 

What's hot (20)

แนะนำอุปกรณ์ห้องปฏิบัติการวิทย์
แนะนำอุปกรณ์ห้องปฏิบัติการวิทย์แนะนำอุปกรณ์ห้องปฏิบัติการวิทย์
แนะนำอุปกรณ์ห้องปฏิบัติการวิทย์
 
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้
 
การสะท้อนของแสง
การสะท้อนของแสงการสะท้อนของแสง
การสะท้อนของแสง
 
ตัวอย่างโครงงานชนะเลิศ
ตัวอย่างโครงงานชนะเลิศตัวอย่างโครงงานชนะเลิศ
ตัวอย่างโครงงานชนะเลิศ
 
บท2 ยีนเเละโครโมโซม
บท2 ยีนเเละโครโมโซมบท2 ยีนเเละโครโมโซม
บท2 ยีนเเละโครโมโซม
 
1กำหนดการสอนพรพนาวิทย์เพิ่มเติม 1 57 พ.ค
1กำหนดการสอนพรพนาวิทย์เพิ่มเติม 1 57  พ.ค1กำหนดการสอนพรพนาวิทย์เพิ่มเติม 1 57  พ.ค
1กำหนดการสอนพรพนาวิทย์เพิ่มเติม 1 57 พ.ค
 
การสอนแบบจัดมโนมติล่วงหน้า
การสอนแบบจัดมโนมติล่วงหน้าการสอนแบบจัดมโนมติล่วงหน้า
การสอนแบบจัดมโนมติล่วงหน้า
 
รูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณี
รูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณีรูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณี
รูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณี
 
แบบประเมินงานนำเสนอในรูปแบบออนไลน์
แบบประเมินงานนำเสนอในรูปแบบออนไลน์แบบประเมินงานนำเสนอในรูปแบบออนไลน์
แบบประเมินงานนำเสนอในรูปแบบออนไลน์
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการจำแนกสาร ชุดที่ 1 การแยกสารด้วยวิธีการกรอง
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการจำแนกสาร ชุดที่ 1 การแยกสารด้วยวิธีการกรองชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการจำแนกสาร ชุดที่ 1 การแยกสารด้วยวิธีการกรอง
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการจำแนกสาร ชุดที่ 1 การแยกสารด้วยวิธีการกรอง
 
ใบงานกฎหมาย
ใบงานกฎหมายใบงานกฎหมาย
ใบงานกฎหมาย
 
หินอัคนี หินแปร หินตะกอน
หินอัคนี หินแปร หินตะกอนหินอัคนี หินแปร หินตะกอน
หินอัคนี หินแปร หินตะกอน
 
หน่วย 3
หน่วย 3 หน่วย 3
หน่วย 3
 
สรุปวิทยาศาสตร์พื้นฐาน
สรุปวิทยาศาสตร์พื้นฐานสรุปวิทยาศาสตร์พื้นฐาน
สรุปวิทยาศาสตร์พื้นฐาน
 
หนังสือเล่มเล็กประกอบการศึกษาเรียนรู้ด้านโครงสร้างอวัยวะสืบพันธุ์ของพืชดอกตัว...
หนังสือเล่มเล็กประกอบการศึกษาเรียนรู้ด้านโครงสร้างอวัยวะสืบพันธุ์ของพืชดอกตัว...หนังสือเล่มเล็กประกอบการศึกษาเรียนรู้ด้านโครงสร้างอวัยวะสืบพันธุ์ของพืชดอกตัว...
หนังสือเล่มเล็กประกอบการศึกษาเรียนรู้ด้านโครงสร้างอวัยวะสืบพันธุ์ของพืชดอกตัว...
 
คุณลักษณะของครูที่ดี
คุณลักษณะของครูที่ดีคุณลักษณะของครูที่ดี
คุณลักษณะของครูที่ดี
 
เรียงความชนะเลิศ เนื่องในวันแม่แห่งชาติ
เรียงความชนะเลิศ เนื่องในวันแม่แห่งชาติเรียงความชนะเลิศ เนื่องในวันแม่แห่งชาติ
เรียงความชนะเลิศ เนื่องในวันแม่แห่งชาติ
 
แผนการเรียนรู้ที่ 1
แผนการเรียนรู้ที่ 1แผนการเรียนรู้ที่ 1
แผนการเรียนรู้ที่ 1
 
การนำความร้อน
การนำความร้อนการนำความร้อน
การนำความร้อน
 
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
 

Similar to เนื้อหารายวิชาเพิ่มเติม Is

การกำหนดประเด็นปัญหาในการวิจัย
การกำหนดประเด็นปัญหาในการวิจัยการกำหนดประเด็นปัญหาในการวิจัย
การกำหนดประเด็นปัญหาในการวิจัยอรุณศรี
 
การกำหนดประเด็นปัญหาในการวิจัย
การกำหนดประเด็นปัญหาในการวิจัยการกำหนดประเด็นปัญหาในการวิจัย
การกำหนดประเด็นปัญหาในการวิจัยอรุณศรี
 
ความสำคัญของการคิด
ความสำคัญของการคิดความสำคัญของการคิด
ความสำคัญของการคิดSudaratJanthathep
 
Cแนะแนว
CแนะแนวCแนะแนว
Cแนะแนวyutict
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่noiiso_M2
 
ใบงาน2
ใบงาน2ใบงาน2
ใบงาน2powe1234
 
การตั้งชื่อหัวข้อวิจัยชั้นเรียน
การตั้งชื่อหัวข้อวิจัยชั้นเรียนการตั้งชื่อหัวข้อวิจัยชั้นเรียน
การตั้งชื่อหัวข้อวิจัยชั้นเรียนPrachyanun Nilsook
 
การจัดการการเรียนรู้
การจัดการการเรียนรู้การจัดการการเรียนรู้
การจัดการการเรียนรู้uncasanova
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่panggoo
 
สัปดาห์ที่ 1 การเรียนทฤษฎีสังคมวิทยา
สัปดาห์ที่ 1 การเรียนทฤษฎีสังคมวิทยาสัปดาห์ที่ 1 การเรียนทฤษฎีสังคมวิทยา
สัปดาห์ที่ 1 การเรียนทฤษฎีสังคมวิทยาSani Satjachaliao
 
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่Ailada_oa
 
ทฤษฎีและการประยุกต์ใช้
ทฤษฎีและการประยุกต์ใช้ทฤษฎีและการประยุกต์ใช้
ทฤษฎีและการประยุกต์ใช้Pimpichcha Thammawonng
 
วิเคราะห์ผู้เรียน
วิเคราะห์ผู้เรียนวิเคราะห์ผู้เรียน
วิเคราะห์ผู้เรียนguestabb00
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slidesharepaewwaew
 

Similar to เนื้อหารายวิชาเพิ่มเติม Is (20)

การกำหนดประเด็นปัญหาในการวิจัย
การกำหนดประเด็นปัญหาในการวิจัยการกำหนดประเด็นปัญหาในการวิจัย
การกำหนดประเด็นปัญหาในการวิจัย
 
การกำหนดประเด็นปัญหาในการวิจัย
การกำหนดประเด็นปัญหาในการวิจัยการกำหนดประเด็นปัญหาในการวิจัย
การกำหนดประเด็นปัญหาในการวิจัย
 
I30201 2-แผนการสอน
I30201 2-แผนการสอนI30201 2-แผนการสอน
I30201 2-แผนการสอน
 
ความสำคัญของการคิด
ความสำคัญของการคิดความสำคัญของการคิด
ความสำคัญของการคิด
 
Cแนะแนว
CแนะแนวCแนะแนว
Cแนะแนว
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
ใบงาน2
ใบงาน2ใบงาน2
ใบงาน2
 
Ch6 cognitive weapons 201700
Ch6 cognitive weapons 201700Ch6 cognitive weapons 201700
Ch6 cognitive weapons 201700
 
การตั้งชื่อหัวข้อวิจัยชั้นเรียน
การตั้งชื่อหัวข้อวิจัยชั้นเรียนการตั้งชื่อหัวข้อวิจัยชั้นเรียน
การตั้งชื่อหัวข้อวิจัยชั้นเรียน
 
Is5 ลงมือเขียน
Is5 ลงมือเขียนIs5 ลงมือเขียน
Is5 ลงมือเขียน
 
การจัดการการเรียนรู้
การจัดการการเรียนรู้การจัดการการเรียนรู้
การจัดการการเรียนรู้
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 
สัปดาห์ที่ 1 การเรียนทฤษฎีสังคมวิทยา
สัปดาห์ที่ 1 การเรียนทฤษฎีสังคมวิทยาสัปดาห์ที่ 1 การเรียนทฤษฎีสังคมวิทยา
สัปดาห์ที่ 1 การเรียนทฤษฎีสังคมวิทยา
 
การวิจัยในชั้นเรียน
การวิจัยในชั้นเรียนการวิจัยในชั้นเรียน
การวิจัยในชั้นเรียน
 
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่
 
ทฤษฎีและการประยุกต์ใช้
ทฤษฎีและการประยุกต์ใช้ทฤษฎีและการประยุกต์ใช้
ทฤษฎีและการประยุกต์ใช้
 
วิเคราะห์ผู้เรียน
วิเคราะห์ผู้เรียนวิเคราะห์ผู้เรียน
วิเคราะห์ผู้เรียน
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slideshare
 

More from samaitiger

โปรแกรมฟุตซอลลีก58
โปรแกรมฟุตซอลลีก58โปรแกรมฟุตซอลลีก58
โปรแกรมฟุตซอลลีก58samaitiger
 
โปรแกรมการแข่งขันฟุตบอลเยาวชนและประชาชน ประจำปี-2558
โปรแกรมการแข่งขันฟุตบอลเยาวชนและประชาชน ประจำปี-2558โปรแกรมการแข่งขันฟุตบอลเยาวชนและประชาชน ประจำปี-2558
โปรแกรมการแข่งขันฟุตบอลเยาวชนและประชาชน ประจำปี-2558samaitiger
 
ทีมฟุตซอลม่วงไข่พิทยาคม ชุดควิกจูเนียร์ฟุตซอล2545
ทีมฟุตซอลม่วงไข่พิทยาคม ชุดควิกจูเนียร์ฟุตซอล2545ทีมฟุตซอลม่วงไข่พิทยาคม ชุดควิกจูเนียร์ฟุตซอล2545
ทีมฟุตซอลม่วงไข่พิทยาคม ชุดควิกจูเนียร์ฟุตซอล2545samaitiger
 
แชมป์บอลหญิง2546
แชมป์บอลหญิง2546แชมป์บอลหญิง2546
แชมป์บอลหญิง2546samaitiger
 
แชมป์ฟุตบอลประชาชนถ้วย ข พิษณุโลก ปี 2527
แชมป์ฟุตบอลประชาชนถ้วย ข พิษณุโลก ปี 2527แชมป์ฟุตบอลประชาชนถ้วย ข พิษณุโลก ปี 2527
แชมป์ฟุตบอลประชาชนถ้วย ข พิษณุโลก ปี 2527samaitiger
 
ระเบียบการแข่งขันกีฬาวันนิทรรศการวิชาการ57
ระเบียบการแข่งขันกีฬาวันนิทรรศการวิชาการ57ระเบียบการแข่งขันกีฬาวันนิทรรศการวิชาการ57
ระเบียบการแข่งขันกีฬาวันนิทรรศการวิชาการ57samaitiger
 
กติกาบาสเกตบอล
กติกาบาสเกตบอลกติกาบาสเกตบอล
กติกาบาสเกตบอลsamaitiger
 
โปรแกรมการแข่งขันฟุตซอลม่วงไข่พรีเมียร์ลีก ครั้งที่ 10 ประจำปี2557
โปรแกรมการแข่งขันฟุตซอลม่วงไข่พรีเมียร์ลีก ครั้งที่ 10 ประจำปี2557โปรแกรมการแข่งขันฟุตซอลม่วงไข่พรีเมียร์ลีก ครั้งที่ 10 ประจำปี2557
โปรแกรมการแข่งขันฟุตซอลม่วงไข่พรีเมียร์ลีก ครั้งที่ 10 ประจำปี2557samaitiger
 
โปรแกรมการแข่งขันฟุตซอลม่วงไข่พรีเมียร์ลีก ครั้งที่ 10 ประจำปี2557
โปรแกรมการแข่งขันฟุตซอลม่วงไข่พรีเมียร์ลีก ครั้งที่ 10 ประจำปี2557โปรแกรมการแข่งขันฟุตซอลม่วงไข่พรีเมียร์ลีก ครั้งที่ 10 ประจำปี2557
โปรแกรมการแข่งขันฟุตซอลม่วงไข่พรีเมียร์ลีก ครั้งที่ 10 ประจำปี2557samaitiger
 
กติกาฟุตบอล
กติกาฟุตบอลกติกาฟุตบอล
กติกาฟุตบอลsamaitiger
 
นำเสนองานครูสมัย
นำเสนองานครูสมัยนำเสนองานครูสมัย
นำเสนองานครูสมัยsamaitiger
 

More from samaitiger (11)

โปรแกรมฟุตซอลลีก58
โปรแกรมฟุตซอลลีก58โปรแกรมฟุตซอลลีก58
โปรแกรมฟุตซอลลีก58
 
โปรแกรมการแข่งขันฟุตบอลเยาวชนและประชาชน ประจำปี-2558
โปรแกรมการแข่งขันฟุตบอลเยาวชนและประชาชน ประจำปี-2558โปรแกรมการแข่งขันฟุตบอลเยาวชนและประชาชน ประจำปี-2558
โปรแกรมการแข่งขันฟุตบอลเยาวชนและประชาชน ประจำปี-2558
 
ทีมฟุตซอลม่วงไข่พิทยาคม ชุดควิกจูเนียร์ฟุตซอล2545
ทีมฟุตซอลม่วงไข่พิทยาคม ชุดควิกจูเนียร์ฟุตซอล2545ทีมฟุตซอลม่วงไข่พิทยาคม ชุดควิกจูเนียร์ฟุตซอล2545
ทีมฟุตซอลม่วงไข่พิทยาคม ชุดควิกจูเนียร์ฟุตซอล2545
 
แชมป์บอลหญิง2546
แชมป์บอลหญิง2546แชมป์บอลหญิง2546
แชมป์บอลหญิง2546
 
แชมป์ฟุตบอลประชาชนถ้วย ข พิษณุโลก ปี 2527
แชมป์ฟุตบอลประชาชนถ้วย ข พิษณุโลก ปี 2527แชมป์ฟุตบอลประชาชนถ้วย ข พิษณุโลก ปี 2527
แชมป์ฟุตบอลประชาชนถ้วย ข พิษณุโลก ปี 2527
 
ระเบียบการแข่งขันกีฬาวันนิทรรศการวิชาการ57
ระเบียบการแข่งขันกีฬาวันนิทรรศการวิชาการ57ระเบียบการแข่งขันกีฬาวันนิทรรศการวิชาการ57
ระเบียบการแข่งขันกีฬาวันนิทรรศการวิชาการ57
 
กติกาบาสเกตบอล
กติกาบาสเกตบอลกติกาบาสเกตบอล
กติกาบาสเกตบอล
 
โปรแกรมการแข่งขันฟุตซอลม่วงไข่พรีเมียร์ลีก ครั้งที่ 10 ประจำปี2557
โปรแกรมการแข่งขันฟุตซอลม่วงไข่พรีเมียร์ลีก ครั้งที่ 10 ประจำปี2557โปรแกรมการแข่งขันฟุตซอลม่วงไข่พรีเมียร์ลีก ครั้งที่ 10 ประจำปี2557
โปรแกรมการแข่งขันฟุตซอลม่วงไข่พรีเมียร์ลีก ครั้งที่ 10 ประจำปี2557
 
โปรแกรมการแข่งขันฟุตซอลม่วงไข่พรีเมียร์ลีก ครั้งที่ 10 ประจำปี2557
โปรแกรมการแข่งขันฟุตซอลม่วงไข่พรีเมียร์ลีก ครั้งที่ 10 ประจำปี2557โปรแกรมการแข่งขันฟุตซอลม่วงไข่พรีเมียร์ลีก ครั้งที่ 10 ประจำปี2557
โปรแกรมการแข่งขันฟุตซอลม่วงไข่พรีเมียร์ลีก ครั้งที่ 10 ประจำปี2557
 
กติกาฟุตบอล
กติกาฟุตบอลกติกาฟุตบอล
กติกาฟุตบอล
 
นำเสนองานครูสมัย
นำเสนองานครูสมัยนำเสนองานครูสมัย
นำเสนองานครูสมัย
 

เนื้อหารายวิชาเพิ่มเติม Is

  • 1. คำอธิบำยรำยวิชำเพิ่มเติม รหัสวิชำ I30201 ชื่อวิชำ กำรศึกษำค้นคว้ำและสร้ำงองค์ควำมรู้ (Research and Knowledge Formation) ชั้นมัธยมศึกษำปีที่ 5 จำนวน 1 หน่วยกิต เวลำเรียน 2 คำบ/สัปดำห์ ครูผู้สอน นำยสมัย เสือแซมเสริม คำอธิบำยรำยวิชำ ศึกษำ วิเคราะห์ ฝึกทักษะตั้งประเด็นปัญหา/ตั้งคาถามเกี่ยวกับ สถานการณ์ปัจจุบันและสังคมโลก ตั้งสมมติฐานและ ให้เหตุผลที่สนับสนุนหรือโต้แย้งประเด็นความรู้ โดยใช้ความรู้จากศาสตร์สาขาต่าง ๆ และมีทฤษฎีรองรับ ออกแบบวางแผน รวบรวมข้อมูล ค้นคว้าแสวงหาความรู้เกี่ยวกับสมมติฐานที่ตั้งไว้จากแหล่งเรียนรู้ทั้งปฐมภูมิและทุติยภูมิ และสารสนเทศ อย่างมี ประสิทธิภาพและพิจารณาความน่าเชื่อถือของแหล่งเรียนรู้อย่างมีวิจารณญาณ เพื่อให้ได้ข้อมูลที่ครบถ้วนสมบูรณ์ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้วิธีการที่เหมาะสม สังเคราะห์สรุปองค์ความรู้และร่วมกัน มี กระบวนการกลุ่มในการวิพากษ์แลกเปลี่ยนความคิดเห็น โดยใช้ความรู้จากสาขาวิชาต่าง ๆ เสนอแนวคิด วิธีการแก้ปัญหาอย่าง เป็นระบบด้วยกระบวนการคิด กระบวนการแก้ปัญหา กระบวนการปฏิบัติ เพื่อให้เกิดทักษะในการค้นคว้าแสวงหาความรู้ สังเคราะห์สรุป อภิปรายผลเปรียบเทียบเชื่อมโยงความรู้ ความเป็นมา ของศาสตร์ เข้าใจหลักการและวิธีคิดในสิ่งที่ศึกษา เห็นประโยชน์และคุณค่าของการศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง ผลกำรเรียนรู้ 1. ตั้งประเด็นปัญหาจากสถานการณ์ปัจจุบันและสังคมโลก 2. ตั้งสมมติฐานและให้เหตุผลที่สนับสนุนหรือโต้แย้งประเด็นความรู้ โดยใช้ความรู้จากศาสตร์สาขาต่าง ๆ และมี ทฤษฎีรองรับ 3. ออกแบบ วางแผน ใช้กระบวนการรวบรวมข้อมูลอย่างมีประสิทธิภาพ 4. ศึกษาค้นคว้า แสวงหาความรู้เกี่ยวกับประเด็นที่เลือกจากแหล่งเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพ 5. ตรวจสอบความน่าเชื่อถือของแหล่งที่มาของข้อมูลได้ 6. วิเคราะห์ข้อค้นพบด้วยสถิติที่เหมาะสม 7. สังเคราะห์สรุปองค์ความรู้ด้วยกระบวนการกลุ่ม 8. เสนอแนวคิด การแก้ปัญหาอย่างเป็นระบบด้วยองค์ความรู้จากการค้นพบ
  • 2. กำรศึกษำและสร้ำงองค์ควำมรู้ จากหลักการและเหตุผลของการจัดโรงเรียนมาตรฐานสากล ได้กล่าวว่า สาหรับความพร้อมในการเข้าสู่ศตวรรษที่ 21 และศักยภาพในการแข่งขันในเวทีโลกของแต่ละประเทศ ประเทศที่จะอยู่รอดได้หรือคงความได้เปรียบก็คือประเทศที่มีอำนำจ ทำงควำมรู้และเป็นสังคมแห่งกำรเรียนรู้ ซึ่งในยุคโลกไร้พรมแดนคนต่างชาติจะเข้ามาทางาน และประกอบอาชีพในประเทศ ไทยมากขึ้นขณะเดียวกันคนไทยก็มีโอกาสไปทางานและประกอบอาชีพในต่างประเทศมากขึ้นด้วยเช่นกัน สังคมไทยในอนาคตจะเป็นสังคมฐานความรู้ ที่การเรียนรู้และนวัตกรรมเป็นปัจจัยสาคัญในการพัฒนา จึงมีความ จาเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องส่งเสริมและสร้างสภาพการณ์ เพื่อให้คนไทยทุกคนมีสิทธิและความเสมอภาคในการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง ตลอดชีวิต กำรศึกษำ คืออะไร การศึกษา ตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พุทธศักราช 2542 ให้ความหมายว่า กระบวนการเรียนรู้เพื่อความ เจริญงอกงาม ของบุคคลและสังคมโดยการถ่ายทอดความรู้ การฝึก การอบรม การสืบสานทางวัฒนธรรม การสร้างสรรค์จรรโลง ความก้าวหน้าทางวิชาการ การสร้างองค์ความรู้อันเกิดจากการจัดสภาพแวดล้อม สังคม การเรียนรู้และปัจจัยเกื้อหนุนให้บุคคล เรียนรู้อย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต ควำมรู้ คืออะไร ความรู้ ตามพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542 คือ “สิ่งที่สั่งสมมาจากการศึกษาเล่าเรียน การค้นคว้า หรือ ประสบการณ์ รวมทั้งความสามารถเชิงปฏิบัติและทักษะ ความเข้าใจ หรือสารสนเทศที่ได้รับมาจากประสบการณ์ สิ่งที่ได้รับมา จากการได้ยิน ได้ฟัง การคิด หรือการปฏิบัติองค์วิชาในแต่ละสาขา” ซึ่งทักษะประสบการณ์นั้น ไม่ได้มีอยู่ในตาราแต่เกิดจากการ ลงมือปฏิบัติ ดังนั้น ความรู้จะเกิดได้ด้วยการลงมือปฏิบัติ วิธีกำรรับควำมรู้ของมนุษย์ การรับรู้ความรู้ของมนุษย์มี 4 ทาง ประกอบด้วย 1. วิธีการสร้างความรู้จากการสัมผัสรับรู้ 2. สร้างความรู้จากการใช้ภาษา 3. สร้างความรู้จากการให้เหตุผล 4. การสร้างความรู้จากสิ่งที่เป็นอารมณ์ องค์ควำมรู้ คืออะไร องค์ความรู้ คือ สารสนเทศที่สามารถนาไปใช้ในการแก้ปัญหา หรือตัดสินใจในการดาเนินงานให้ประสบความสาเร็จได้ดังนั้น องค์ความรู้จึงจาเป็นต้องอาศัยประสบการณ์ในการเรียนรู้ที่จะแกะสารสนเทศมาใช้ในการแก้ปัญหาซึ่งขึ้นกับการฝึกฝน และ มุมมองในการเลือกสารสนเทศไปใช้
  • 3. กำรจัดกำรควำมรู้ การจัดการความรู้ หรือ Knowledge Management คือ การรวบรวมความรู้ที่มีอยู่กระจัดกระจายในองค์กรมาจัดระบบ และ พัฒนาให้มีความทันสมัยอยู่เสมอ โดยจัดช่องทางการเข้าถึงความรู้ให้สะดวก รวดเร็ว และทั่วถึงเพื่อให้บุคลากรนาความรู้ ไป พัฒนาการปฏิบัติให้มีประสิทธิภาพสูงสุด ประเภทขององค์ควำมรู้ แบ่งได้เป็น 2 ประเภท ดังนี้ 1. องค์ความรู้ที่สามารถอธิบายได้เป็นองค์ความรู้ซึ่งทาความเข้าใจได้จากการฟัง การอธิบาย การอ่านและ นาไปใช้ปฏิบัติ โดยจัดไว้อย่างมีแบบแผนมีโครงสร้างและอธิบายกระบวนการวิธี ขั้นตอนที่สามารถนาไปใช้ได้ 2. องค์ความรู้ที่ไม่สามารถอธิบายได้หรืออธิบายได้ยาก เป็นองค์ความรู้ที่อธิบายได้ยากหรือในบางครั้งไม่ สามารถอธิบายว่าเกิดความรู้ เหล่านั้นได้อย่างไร ไม่มีแบบแผน โครงสร้างแน่ชัด มักเกิดขึ้นกับตัวบุคคล ผลของการถ่ายทอด ขึ้นอยู่กับผู้ถ่ายทอดและผู้รับเป็นสาคัญ แหล่งกำเนิดขององค์ควำมรู้ 1. ความรู้ที่ได้รับการถ่ายทอดจากบุคคลอื่น 2. ความรู้เกิดจากประสบการณ์การทางาน 3. ความรู้ที่ได้จากการวิจัยทดลอง 4. ความรู้จากการประดิษฐ์คิดค้นสิ่งใหม่ ๆ 5. ความรู้ที่มีปรากฏอยู่ในแหล่งความรู้ภายนอกองค์กรและองค์กรได้นามาใช้ กระบวนกำรในกำรจัดกำรควำมรู้ กระบวนการจัดการความรู้ (Knowledge Management) เป็นกระบวนการที่จะช่วยให้เกิดพัฒนาการของความรู้ หรือ การจัดการความรู้ที่จะเกิดขึ้นภายในองค์กร มีทั้งหมด 7 ขั้นตอน คือ 1. การบ่งชี้ความรู้ 2. การสร้างและแสวงหาความรู้ 3. การจัดความรู้ให้เป็นระบบ 4. การประมวลและกลั่นกรองความรู้ 5. การเข้าถึงความรู้ 6. การแบ่งปันแลกเปลี่ยนความรู้
  • 4. 7. การเรียนรู้ องค์ประกอบสำคัญของกำรจัดกำรควำมรู้ (Knowledge Process) 1. คน 2. เทคโนโลยี 3. กระบวนการความรู้ ความรู้เป็นปัจจัยสาคัญยิ่งในการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ให้มีศักยภาพ มีความสามารถในการพัฒนาตนเอง พัฒนา สังคม และประเทศให้เจริญก้าวหน้า ในปัจจุบันมีความเปลี่ยนแปลงด้านข้อมูล ข่าวสาร ความรู้อย่างรวดเร็ว อีกทั้งมีความรู้ เกิดขึ้นเป็นจานวนมาก สังคมปัจจุบันเรียกได้ว่าเป็นสังคมฐานความรู้ (Knowledge-based society) จึงต้องใช้ความรู้ในการ ขับเคลื่อนองค์กร และพัฒนาอย่างต่อเนื่องเพื่อสร้างศักยภาพในการแข่งขันให้องค์กรอยู่รอด กำรตั้งประเด็นคำถำม กำรตั้งประเด็นปัญหำและกำรตั้งคำถำม การคิดหัวข้อหรือการกาหนด “ชื่อเรื่อง” ของปัญหาที่จะทาการศึกษาค้นคว้าเป็นขั้นตอนที่สาคัญที่สุดของการค้นคว้า อิสระ ซึ่งการคิด หัวข้อ หรือ “ชื่อเรื่อง” มีหลักเกณฑ์ดังนี้ 1. คิดหัวข้อ และเลือก “ชื่อเรื่อง” ด้วยตนเอง 2. คิดหัวข้อ หรือ “ชื่อเรื่อง” จากประเด็นปัญหา ข้อสงสัย คาถาม หรือเรื่องที่อยากรู้อยากเห็นเกี่ยวกับสิ่งต่าง ๆ ของ ตนเอง 3. คิดหัวข้อ หรือ “ชื่อเรื่อง”ให้มีความเฉพาะเจาะจงและชัดเจน โดยต้องระบุชัดว่าจะค้นคว้าอะไร 4. หากเป็นเรื่องแปลกใหม่ หรือมีแนวการศึกษาทดลองที่แปลกใหม่ ต้องเป็นสิ่งซึ่งแสดงออกถึงความคิดริเริ่ม สร้างสรรค์ด้วย 5. คานึงถึงเป็นประโยชน์ของเรื่องที่จะศึกษาค้นคว้า และเป็นการเพิ่มคุณค่าของผลงงานการค้นคว้าอิสระมากยิ่งขึ้น แหล่งที่มำของชื่อเรื่อง “ชื่อเรื่อง” ในการค้นคว้าอิสระอาจมีที่มาจากแหล่งต่างๆ ดังต่อไปนี้ 1. จากการอ่านสื่อสิ่งพิมพ์ต่างๆ เช่น ตารา หนังสือพิมพ์วารสาร เอกสารเผยแพร่ เป็นต้นไม่เฉพาะแต่เรื่องราวทาง วิทยาศาสตร์เท่านั้น 2. จากการไปเยี่ยมชมสถานที่ต่างๆ เช่น วนอุทยาน สวนสัตว์พิพิธภัณฑ์ โรงงานอุตสาหกรรม สถานที่เพาะเลี้ยงพืช และสัตว์หน่วยงานวิจัย ห้องปฏิบัติ เป็นต้น 3. จากการฟังบรรยายทางวิชาการ การฟังและชมรายการวิทยุโทรทัศน์ 4. จากกิจกรรมการเรียนการสอนในโรงเรียน
  • 5. 5. จากงานอดิเรกของนักเรียนเอง 6. จากการเข้าชมนิทรรศการ หรืองานประกวดโครงงานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 7. จากการศึกษาโครงงานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีที่มีผู้อื่นทาไว้แล้ว 8. จากการสนทนากับครู อาจารย์เพื่อนๆ หรือบุคคลอื่นๆ 9. จากการสังเกตปรากฏการณ์ต่างๆ รอบตัว องค์ประกอบของชื่อเรื่อง “ชื่อเรื่อง” ที่ถูกต้องตามหลักวิชาการจะต้องมีองค์ประกอบสาคัญครบทั้ง 3 ส่วน คือ วิทยวิธี, เป้าหมาย และตัวแปร/ เครื่องมือ 1. วิทยวิธี หมายถึง วิธีการที่ใช้ดาเนินการในการศึกษาค้นคว้าเกี่ยวกับเรื่องที่สนใจ ซึ่งต้องเขียนขึ้นต้นชื่อเรื่องเสมอ คาที่แสดงวิทยวิธีมีอยู่ด้วยกันทั้งสิ้น 6 คา คือ การสารวจ การศึกษา การพัฒนา การประเมิน การเปรียบเทียบ ความสัมพันธ์ระหว่าง 2. เป้ ำหมำย หมายถึง จุดประสงค์สุดท้ายอันเป็นปลายทางของการค้นคว้าอิสระเกี่ยวกับประเด็นปัญหาหัวข้อ หรือชื่อ เรื่องนั้นๆ 3. ตัวแปร หรือเครื่องมือ 3.1 ตัวแปร หมายถึง สิ่งที่มีอิทธิพล ผล หรือสิ่งที่อาจก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงของการทดลอง 3.2 เครื่องมือ หมายถึง วัสดุ อุปกรณ์ที่ใช้ในการดาเนินการศึกษาค้นคว้า ตัวอย่างชื่อเรื่องที่มีองค์ประกอบครบทั้ง 3 ส่วน เช่น “การสารวจปริมาณแมลงศัตรูพืชในนาข้าวจังหวัดสุพรรณบุรีที่ใช้ยันต์กันเพลี้ย” “การศึกษาวิธีการสกัดเย็นน้ามันมะพร้าว” “การพัฒนาเว็บบล็อก (WebBblog) ด้วย Wordpress เรื่อง ประเภทของคอมพิวเตอร์” “การประเมินความเสี่ยงด้านความปลอดภัยในการใช้บริการรถไฟฟ้าใต้ดิน” “การเปรียบเทียบประสิทธิภาพในการไล่ยุงระหว่างสารสกัดเปลือกส้มกับสารสกัดตะไคร้หอม” “ความสัมพันธ์ระหว่างหญ้าแฝกกับการเพิ่มผลผลิตในพื้นที่สูง” ข้อควรคำนึงในกำรกำหนดชื่อเรื่อง ข้อควรคานึงที่พึงพิจารณาประกอบการคิดหัวข้อ หรือกาหนด “ชื่อเรื่อง” ที่จะศึกษาค้นคว้ามีดังนี้ 1. เป็นเรื่องที่มีความรู้ ทักษะการใช้อุปกรณ์พื้นฐาน และมีทักษะในเทคนิควิธีอย่างเพียงพอ 2. มีแหล่งความรู้อย่างเพียงพอที่จะค้นคว้าหรือขอคาปรึกษา
  • 6. 3. วัสดุ อุปกรณ์ที่จาเป็นสามารถจัดหา หรือจัดทาขึ้นเองได้ 4. มีระยะเวลาเพียงพอที่จะทาการค้นคว้าในเรื่องนั้นๆ 5. มีครู อาจารย์หรือผู้ทรงคุณวุฒิรับเป็นที่ปรึกษา 6. มีความปลอดภัย 7. มีงบประมาณเพียงพอ กำรตั้งสมมติฐำน กำรตั้งสมมติฐำน เป็นการคาดคะเนคาตอบของปัญหาอย่างมีเหตุผล หรือ การบ่งบอกความสัมพันธ์ของตัวแปรอย่าง น้อย ๒ ตัว ก่อนที่จะทาการทดลองจริง โดยอาศัยทักษะการสังเกต ประสบการณ์ ความรู้เดิม เป็นพื้นฐาน กำรตั้งสมมติฐำน เป็นขั้นตอนของการคาดคะเนหรือคาดเดาคาตอบของปัญหา การคาดเดาคาตอบมีประโยชน์ในการ กาหนดทิศทางการหาข้อมูล เพื่อตรวจสอบปัญหา เป็นการคาดเดาคาตอบอย่างมีเหตุมีผล ผู้จัดทาควรตั้งสมมติฐานหลังจากที่ได้ ศึกษาทฤษฎี เอกสารต่าง ๆ ตลอดจนงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง จนมีแนวความคิดเพียงพอที่จะคาดเดา โดยอาศัยเหตุผลเหล่านั้นได้อย่าง สมเหตุสมผล ประเภทของสมมติฐำน สมมติฐานแบ่งได้เป็น 2 ประเภทคือ 1. สมมติฐานเชิงบรรยาย (Descriptive hypothesis) เป็นสมมติฐานที่เขียนคาดเดา คาตอบอยู่ในรูปของการบรรยาย หรืออธิบายความสัมพันธ์ของตัวแปรที่ศึกษา สมมติฐานประเภทนี้ใช้ในการ เขียนรายงานการวิจัย หรือเรียกว่าสมมติฐานการวิจัย (Research hypothesis) ตัวอย่างสมมติฐานการวิจัย - ผู้ที่สูบบุหรี่เป็นโรคมากกว่าผู้ที่ไม่สูบบุหรี่ - การสูบบุหรี่ มีความสัมพันธ์ทางบวก กับ การเป็นมะเร็งในปอด - กลิ่นใบตะไคร้กาจัดแมลงสาบได้ดีกว่ากลิ่นใบมะกรูด - การลดน้าหนักด้วยวิธีควบคุมอาหารร่วมกับการออกกาลังกายช่วยลดน้าหนักได้ดีกว่าการควบคุมอาหาร อย่างเดียว 2. สมมติฐานเชิงสถิติ (Statistical hypothesis) เป็นสมมติฐานที่ เขียนคาดเดาคาตอบของ อยู่ในรูปของความสัมพันธ์ หรือความแตกต่างของตัวแปร ในรูปของโครงสร้างทางคณิตศาสตร์ ซึ่งใช้สัญลักษณ์แทนค่าพารามิเตอร์ (Parameter) สมมติฐาน ประเภทนี้ ใช้ในการทดสอบทางสถิติ ความจริงที่ค้นพบเป็นความจริงที่มีโอกาสที่จะเกิดขึ้นบ่อย ๆ หรือมีโอกาสที่จะเป็นจริง มาก ซึ่งตรวจสอบโดยอาศัยหลักความน่าจะเป็น (Probability) ในทางสถิติสัญลักษณ์ของค่าพารามิเตอร์ ที่ใช้เขียนในสมมติฐาน ทางสถิติได้แก่ u แทน ค่าคะแนนเฉลี่ย O แทน ค่าความแปรปรวน O แทน ค่าความเบี่ยงเบนมาตรฐาน V แทน ค่าสหสัมพันธ์ระหว่างตัวแปร
  • 7. สมมติฐานเชิงสถิตินั้น แบ่งได้เป็น 2 ประเภทคือ 1. สมมติฐานเป็นกลาง (Null hypothesis) เป็นสมมติฐานที่มีลักษณะเป็นเงื่อนไขหรือข้อตกลงเบื้องต้นที่ยอมรับก่อน มีลักษณะเงื่อนไขที่เท่ากันหรือเป็นกลาง เช่น Ho : μ1 = μ2 Ho : O1 = O2 2. สมมติฐานไม่เป็นกลางหรือ สมมติฐานทางเลือก (Alternative hypothesis) เป็นสมมติฐานอื่นที่ไม่ใช่สมมติ ฐานเป็น กลาง ใช้เพื่อรองรับการสรุปผล เมื่อนักวิจัยปฏิเสธสมมติฐานที่เป็นกลาง การเขียนสมมติฐานไม่เป็นกลางนี้ สามารถเขียนได้2 ลักษณะคือ 2.1 สมมติฐานที่มีทิศทาง คือสมมติ ฐานที่เขียนแสดงถึง ความสัมพันธ์หรือความแตกต่างของตัวแปรไปใน ทิศทางใดทิศทางหนึ่ง ซึ่งอาจจะเป็นไปในทางบวกหรือทางลบ เช่น Hi : μ1 > μ2 Hi : μ1 < μ2 Hi : ผู้ที่สูบบุหรี่ เป็นโรคมะเร็งใน ปอดมากกว่าผู้ที่ไม่สูบบุหรี่ Hi : ผู้ที่ไม่สูบบุหรี่ เป็นโรคมะเร็ง ในปอดน้อยกว่าผู้ที่สูบบุหรี่ 2.2 สมมติฐานทีไม่มีทิศทาง คือ สมมติฐานที่เขียนแสดงถึงความสัมพันธ์หรือความแตกต่างของตัวแปรที่ไม่ บอกว่าความสัมพันธ์จะเป็นไปในทิศทางใด เช่น Hi : μ1 = μ2 Hi : ผู้ที่สูบบุหรี่ เป็นโรคมะเร็งใน ปอดแตกต่างกับผู้ที่ไม่สูบบุหรี่ ข้อแนะนำในกำรเขียนสมมติฐำน 1. เขียนอยู่ในรูป ประโยคบอกเล่า 2. เขียนหลังจากได้ศึกษา เอกสาร งานวิจัยมามากเพียงพอ 3. เลือกใช้คาหรือข้อความ ที่รัดกุม ไม่ฟุ่มเฟือย 4. มีสมมติฐานให้ครอบคลุม สอด คล้องกับจุดมุ่งหมายของการวิจัย 5. สมมติฐานแต่ละข้อเขียนเพื่อตอบ คาถามเพียงคาถามเดียว ลักษณะของสมมติฐำนที่ดี 1. ใช้ภาษาง่ายสื่อความหมาย 2. สอดคล้องกับจุดมุ่งหมายของการวิจัยและสภาพความเป็นจริง 3. เป็นข้อความบ่งบอกความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรต้นกับตัวแปรตาม 4. สมเหตุสมผลตามหลักทฤษฎีหรือ ความรู้พื้นฐาน 5. สามารถตรวจสอบได้ด้วยข้อมูล และหลักฐาน
  • 8. 6. สมมติฐานที่ดีจะเป็นคาตอบที่คิดไว้ล่วงหน้าก่อนการทดลอง 7. อาจมีมากกว่า ๑ สมมติฐานก็ได้ 8. ใช้เป็นแนวทางการออกแบบการทดลอง 9. การทดลองเป็นการพิสูจน์สมมุติฐานว่าถูกหรือผิด ผลที่ออกมาจะถูกหรือผิดก็ได้. (อาจใช้คาว่า ยอมรับ หรือ ไม่ ยอมรับสมมติฐานนั้นๆ) ประโยชน์ของกำรตั้งสมมติฐำน 1. ช่วยจากัดขอบเขตของการวิจัยและการเก็บรวบรวมข้อมูลให้ชัดเจนและตรงจุดที่ต้องการศึกษา 2. ช่วยแนะแนวทางการวางแผนการวิจัยในการเลือกใช้กลุ่มตัวอย่าง เครื่องมือการเก็บข้อมูล และสถิติที่ใช้ในการ วิเคราะห์ข้อมูล 3. ช่วยให้เห็นภาพที่จะศึกษาได้ชัดเจน เพราะสมมติฐานจะช่วยชี้บอกถึงตัวแปรเหตุ ตัวแปรผล ความสัมพันธ์หรือ ความแตกต่างของตัวแปร 4. เป็นแนวทางในการลงสรุปผลการ วิจัย หลังจากการวิเคราะห์ข้อมูล ซึ่งจะสรุปในลักษณะของ คัดค้านหรือ สนับสนุน สมมติฐาน จำนวนสมมติฐำน โครงการวิจัยหนึ่งอาจมีสมมติฐาน เพียงข้อเดียวหรือหลายข้อก็ได้ขึ้นอยู่กับวัตถุประสงค์หรือเป้ าหมายในการวิจัยที่ กาหนดไว้ตัวแปรที่ปรากฏในสมมติฐานข้อใด ข้อหนึ่งแล้ว ยังสามารถนาไปใช้เป็นตัวแปรในสมมติฐานข้ออื่นอีกได้ นอกจากนั้นแล้วยังสามารถเปลี่ยนแปลงสถานภาพของตัวแปรอิสระ เป็นตัวแปรตาม หรือในทางตรงข้ามได้สมมติฐานทุกข้อ จะต้องมุ่งไปในทางที่จะให้ได้มา ซึ่งคาตอบต่อปัญหาการวิจัยตามที่กาหนดไว้ในกรอบแนวคิด ตัวแปร ตัวแปร (variables) หมายถึง คุณสมบัติหรือคุณลักษณะ หรือปรากฏการณ์ของสิ่งต่าง ๆ ที่ต้องการจะศึกษาหาความ จริง ซึ่งอาจจะเป็นสิ่งที่มีชีวิตหรือไม่มีชีวิตก็ได้เช่น คน วัตถุสิ่งของสัตว์พืช ครอบครัว ขนาดธุรกิจ หรือเหตุการณ์ต่าง ๆ เป็น ต้น ตัวแปรจะต้องมีค่าเปลี่ยนได้อย่างน้อยตั้งแต่ 2 ค่าขึ้นไป เช่น คน (เพศ อายุการศึกษา รายได้) เพศ สามารถแปรได้เป็นหญิง และชาย,อายุสามารถแปรได้เป็นกลุ่มตามที่กาหนด เช่น ต่ากว่า 20 ปี, 20 – 29 ปี30 – 39 ปี และ 40 ปีขึ้นไป, ขนาดธุรกิจ อาจ แปรได้เป็น ธุรกิจขนาดเล็ก ธุรกิจขนาดกลาง และธุรกิจขนาดใหญ่ เป็นต้น คุณสมบัติของสิ่งใดก็ตาม ถ้าเป็นได้อย่างเดียวคุณสมบัตินั้นก็ไม่เป็นตัวแปร เช่น ความสูงของคน ถ้าทุกคนสูงเท่ากัน หมด ความสูงก็จะไม่เป็นตัวแปรหรือรายได้ของผู้บริโภค ถ้ารายได้เท่ากันหมดก็ไม่เป็นตัวแปร เป็นต้น ตัวแปรที่เกี่ยวข้องกับการทดลองทางวิทยาศาสตร์มีอยู่๓ ประเภท ได้แก่ ตัวแปรต้น (ตัวแปรอิสระ , ตัวแปรเหตุ) เป็นตัวแปรเหตุที่ทาให้เกิดผลต่างๆ หรือ ตัวแปรที่เราต้องการศึกษา หรือ ทดลองดูว่าเป็นสาเหตุที่ทาให้เกิดผลตามที่เราสังเกตใช่หรือไม่ ตัวแปรตำม (ตัวแปรไม่อิสระ , ตัวแปรผล) เป็นตัวแปรที่เกิดมาจากตัวแปรเหตุ เมื่อตัวแปรเหตุเปลี่ยนแปลง ตัวแปรตามก็จะเปลี่ยนแปลงตามไปด้วย
  • 9. ตัวแปรควบคุม เป็นตัวแปรอื่นๆ มากมาย (นอกจากตัวแปรเหตุ) ที่อาจส่งผลต่อการทดลอง ทาให้ผลการ ทดลองคลาดเคลื่อนไป เราจึงจาเป็นต้องทาการควบคุมให้เหมือนๆ กันเสียก่อน ในความเป็นจริง จะมีตัวแปรหลายๆ ตัวที่มีผลต่อตัวแปรที่ศึกษา แต่ในการทดลองผู้ทาการทดลองจะต้องเลือกตัวแปร ที่สาคัญที่สุดเพียงตัวเดียวมาศึกษา ดังนั้นจึงต้องทาการควบคุมตัวแปรอื่นๆ เพื่อไม่ให้เกิดผลแทรกซ้อนต่อตัวแปรตาม ตัวแปรที่ เราต้องควบคุมเรียกว่า “ตัวแปรควบคุม” สรุปว่า โครงงานแบบทดลองจะต้องมีการระบุตัวแปร 3 ประเภท ออกมาเสียก่อน ดังนี้ 1) ตัวแปรต้น คือ สาเหตุหรือเหตุของการทดลอง 2) ตัวแปรตาม คือ ผลที่เกิดขึ้น หรือผลที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลง 3) ตัวแปรควบคุม คือ สิ่งที่ต้องควบคุมให้เหมือนๆกัน ตัวอย่าง ในความเป็นจริง (ตามธรรมชาติ) อธิบายการเจริญเติบโตของต้นไม้ว่า“ต้นไม้เจริญเติบโตได้ดีจะต้อง รดน้า พรวนดิน ใส่ปุ๋ ย และ ตั้งไว้ในที่มีแสงแดด”ระบุตัวแปรต่างๆ ได้ดังนี้ ตัวแปรตาม คือ การเจริญเติบโตของต้นไม้ ตัวแปรต้น คือ การรดน้า พรวนดิน แสงแดด คาอธิบาย การรดน้า พรวนดิน และ แสงแดด ส่งผลต่อ การเจริญเติบโตของต้นไม้ กำรระบุตัวแปรควบคุม ถ้าต้องการศึกษาว่า ตัวแปรต้นตัวใด ระหว่าง การรดน้า พรวนดิน แสงแดด จะส่งผลต่อการเจริญเติบโตของต้นไม้ มากกว่ากัน เราต้องศึกษาทีละตัวแปรต้น โดยทาการควบคุมตัวแปรต้นอื่นๆ อีก 2 ตัว เช่น เราต้องการศึกษาเฉพาะตัวแปร “การ รดน้า” ว่าจะมีผลต่อการเจริญเติบโตของต้นไม้มากน้อยเพียงใด เราก็ต้องออกแบบการทดลองโดยการควบคุมตัวแปรอีก 2 ตัว คือ พรวนดิน และ แสงแดด โดยให้ต้นไม้ที่ทาการทดลองทั้งหมดได้รับการพรวนดิน และ แสงแดด ในปริมาณที่เท่ากัน หรือถ้า ไม่ให้ก็ไม่ให้เหมือนๆ กัน การพรวนดิน และ แสงแดด เรียกว่าตัวแปรควบคุม กำรรวบรวมข้อมูล การเก็บรวบรวมข้อมูล เป็นขั้นตอนหนึ่งของกระบวนการทางสถิติที่มีความสาคัญ เพื่อให้ได้มาซึ่งข้อมูลที่ตอบสนอง วัตถุประสงค์และ สอดคล้องกับกรอบแนวความคิดสมมุติฐาน เทคนิคการวัด และการวิเคราะห์ข้อมูล กำรเก็บข้อมูล คือ การเก็บข้อมูลขึ้นมาใหม่การรวบรวมข้อมูล หมายถึง การนาเอาข้อมูลต่างๆที่ผู้อื่นได้เก็บไว้แล้ว หรือรายงานไว้ในเอกสารต่างๆ มาทาการศึกษาวิเคราะห์ต่อ ประเภทของข้อมูล ข้อมูล หมายถึง ข้อเท็จจริงเกี่ยวกับตัวแปรที่สารวจโดยใช้วิธีการวัดแบบใดแบบหนึ่ง โดยทั่วไปจาแนกตามลักษณะ ของข้อมูลได้เป็น 2 ประเภท คือ 1. ข้อมูลเชิงปริมาณ คือ ข้อมูลที่เป็นตัวเลขหรือนามาให้รหัสเป็นตัวเลข ซึ่งสามารถนาไปใช้วิเคราะห์ทางสถิติได้
  • 10. 2. ข้อมูลเชิงคุณภาพ คือ ข้อมูลที่ไม่ใช่ตัวเลข ไม่ได้มีการให้รหัสตัวเลขที่จะนาไปวิเคราะห์ทางสถิติ แต่เป็นข้อความ หรือข้อสนเทศ แหล่งที่มำของข้อมูล แหล่งข้อมูลที่สาคัญ ได้แก่ บุคคล เช่น ผู้ให้สัมภาษณ์ ผู้กรอกแบบสอบถาม บุคคลที่ถูกสังเกต เอกสารทุกประเภท และข้อมูลสถิติจากหน่วยงาน รวมไปถึง ภาพถ่าย แผนที่ แผนภูมิ หรือแม้แต่วัตถุ สิ่งของ ก็ถือเป็นแหล่งข้อมูลได้ทั้งสิ้น โดยทั่วไปสามารถจัดประเภทข้อมูลตามแหล่งที่มาได้2 ประเภท คือ 1. ข้อมูลปฐมภูมิ คือ ข้อมูลที่เก็บขึ้นมาใหม่เพื่อ ตอบสนองวัตถุประสงค์การวิจัยในเรื่องนั้นๆ โดยเฉพาะ การเลือกใช้ ข้อมูลแบบปฐมภูมิจะสามารถเลือกเก็บข้อมูลได้ตรงตามความต้องการและสอดคล้องกับวัตถุประสงค์ตลอดจนเทคนิคการ วิเคราะห์ แต่มีข้อเสียตรงที่สิ้นเปลืองเวลา ค่าใช้จ่าย และอาจมีคุณภาพไม่ดีพอ หากเกิดความผิดพลาดในการเก็บข้อมูลภาคสนาม 2. ข้อมูลทุติยภูมิ คือ ข้อมูลต่างๆ ที่มีผู้เก็บหรือรวบรวมไว้ก่อนแล้ว เพียงแต่นักวิจัยนาข้อมูลเหล่านั้นมาศึกษาใหม่ เช่น ข้อมูลสามะโนประชากร สถิติจากหน่วยงาน และเอกสารทุกประเภท ช่วยให้ประหยัดค่าใช้จ่าย ไม่ต้องเสียเวลากับการเก็บ ข้อมูลใหม่ และสามารถศึกษาย้อนหลังได้ทาให้ทราบถึงการเปลี่ยนแปลงและแนวโน้มการเปลี่ยนแปลงของปรากฏการณ์ที่ ศึกษา แต่จะมีข้อจากัดในเรื่องความครบถ้วนสมบูรณ์ เนื่องจากบางครั้งข้อมูลที่มีอยู่แล้วไม่ตรงตามวัตถุประสงค์ของเรื่องที่ ศึกษา และปัญหาเรื่องความ น่าเชื่อถือของข้อมูล ก่อนจะนาไปใช้จึงต้องมีการปรับปรุงแก้ไขข้อมูลและเก็บข้อมูลเพิ่มเติมจาก แหล่งอื่นในบางส่วนที่ไม่สมบูรณ์ วิธีกำรเก็บรวบรวมข้อมูล อาจแบ่งเป็นวิธีการใหญ่ๆ ได้3 วิธี คือ 1. การสังเกตการณ์ ทั้งการสังเกตการณ์แบบมีส่วนร่วมและการสังเกตการณ์แบบไม่มีส่วนร่วม หรืออาจจะแบ่งเป็น การสังเกตการณ์แบบมีโครงสร้าง และการสังเกตการณ์แบบไม่มีโครงสร้าง 2. การสัมภาษณ์ นิยมมากในทางสังคมศาสตร์ โดยเฉพาะการสัมภาษณ์โดยใช้แบบสอบถาม การสัมภาษณ์แบบ เจาะลึก หรืออาจจะจาแนกเป็นการสัมภาษณ์เป็นรายบุคคล และการสัมภาษณ์เป็นกลุ่ม เช่น เทคนิคการสนทนากลุ่ม ซึ่งนิยมใช้ กันมาก 3. การรวบรวมข้อมูลจากเอกสาร เช่น หนังสือ รายงานวิจัย วิทยานิพนธ์ บทความ สิ่งพิมพ์ต่างๆ เป็นต้น ขั้นตอนกำรเก็บรวบรวมข้อมูล 1. กาหนดข้อมูลและตัวชี้วัด 2. กาหนดแหล่งข้อมูล 3. เลือกกลุ่มตัวอย่าง 4. เลือกวิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล 5. นาเครื่องมือรวบรวมข้อมูลไปทดลองใช้ 6. ลงมือเก็บรวบรวมข้อมูล ประเภทของเครื่องมือรวบรวมข้อมูล ตัวอย่างเช่น แบบทดสอบ แบบสอบถาม แบบสัมภาษณ์ แบบประเมินค่าและมาตรวัดเจตคติ และแบบวัดอื่นๆ กำรวิเครำะห์ข้อมูล
  • 11. ข้อมูลที่เก็บรวบรวมมาได้ถ้าเป็นข้อมูลเชิงปริมาณ จะนาข้อมูลมามาหาค่าสถิติต่างๆ เพื่อตอบปัญหาการวิจัยหรือเพื่อ ทดสอบสมมุติฐาน การวิเคราะห์ข้อมูลขั้นแรก จะคานวณหาค่าสถิติจากข้อมูลของกลุ่มตัวอย่างก่อนที่เราเรียกว่าสถิติบรรยาย ขั้นต่อมา จะใช้สถิติอ้างอิงเพื่อสรุปคาตอบไปยังประชากร กรณีข้อมูลเชิงคุณภาพการวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อ ตอบปัญหาการวิจัยจะใช้วิธีการสรุปความหรือสังเคราะห์ข้อความ เสร็จแล้วจึงนาผลการวิเคราะห์ข้อมูลมา เสนอในรายงานการวิจัย กำรวิเครำะห์ข้อมูล มี 2 แบบ คือ 1. การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ หมายถึงการใช้วิธีการทางสถิติบรรยายและสถิติอ้างอิงเพื่อตอบประเด็นปัญหาการ วิจัย หรือทดสอบสมมุติฐานการวิจัยให้ครบทุกข้อ สถิติบรรยายที่ใช้กันมากในการวิจัยได้แก่ ร้อยละ การวัดแนวโน้มเข้าสู่ ส่วนกลาง การวัดการกระจาย และการวัดความสัมพันธ์ ส่วนสถิติอ้างอิงจะมี 2 ประเภท ได้แก่ สถิติประมาณค่า และสถิติ ทดสอบสมมุติฐาน 2. การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพ หมายถึงการใช้วิธีการสรุปความหรือสังเคราะห์ข้อความที่เป็นข้อมูลเชิงคุณภาพเพื่อ ตอบประเด็นปัญหาการวิจัย หรือทดสอบสมมุติฐานการวิจัยให้ครบทุกข้อ กำรสังเครำะห์ข้อมูล การสังเคราะห์ เป็นกระบวนบูรณาการปัจจัยต่างๆ ตั้งแต่สองปัจจัยขึ้นไปซึ่งอาจเป็นได้ทั้งคน สัตว์สิ่งของรวมทั้ง เหตุการณ์และสิ่งที่อยู่ใน รูปของแนวคิดเข้ามาเป็นองค์ประกอบร่วมกันเพื่อให้เกิดสิ่งใหม่หรือเกิดปรากฏการใหม่ที่อาจเรียกได้ว่าเป็นการบูรณาภาพ โดย ปัจจัยหรือองค์ประกอบต่างๆ ที่เข้ามาสู่กระบวนบูรณาการในการสังเคราะห์นั้นบางปัจจัยอาจจะได้ผ่านการวิเคราะห์แยกแยะ สืบค้นมาก่อนแล้วขณะที่บางปัจจัยก็อาจจะยังไม่ได้ผ่านการวิเคราะห์แยกแยะสืบค้นมาก่อน สภาวะรูปของปัจจัยและ องค์ประกอบต่างๆที่นามาเป็นปัจจัยและองค์ประกอบในการสังเคราะห์นั้นอาจเป็นไปได้ทั้งแบบรูปธรรมและนามธรรม ซึ่ง บูรณภาพที่เป็นปรากฏการณ์ใหม่หรือสิ่งใหม่อันเกิดขึ้นจากการสังเคราะห์นั้นก็เป็นไปได้ทั้งแบบรูปธรรมและนามธรรมเช่นกัน ควำมหมำยของกำรคิดสังเครำะห์ กำรคิดสังเครำะห์ หมายถึงความสามารถในการคิดที่ดึงองค์ประกอบต่าง ๆ มาหลอมรวมกันภายใต้โครงร่างใหม่อย่าง เหมาะสม เพื่อให้เกิดสิ่งใหม่ที่มีลักษณะเฉพาะแตกต่างไปจากเดิม การคิดสังเคราะห์ครอบคลุมถึงการค้นคว้า รวบรวมข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับเรื่องที่จะคิดซึ่งมีมากหรือกระจายกันอยู่มาหลอมรวมกัน คนที่คิดสังเคราะห์ได้เร็วกว่าย่อมได้เปรียบกว่าคนที่สังเคราะห์ไม่ได้ซึ่งจะทาให้เข้าใจและเห็นภาพรวมของสิ่งนั้นได้มากกว่า ประเภทกำรคิดสังเครำะห์ การคิดสังเคราะห์แบ่งเป็น 2 ลักษณะ คือ 1. การคิดสังเคราะห์เพื่อสร้างสิ่งใหม่ เช่น ประดิษฐ์สิ่งของเครื่องใช้อุปกรณ์ต่าง ๆ ตามต้องการ 2. การคิดสังเคราะห์เพื่อสร้างแนวคิดใหม่ เป็นการพัฒนาและคิดค้นแนวคิดใหม่ ถ้าเราสามารถคิดสังเคราะห์ได้ดี จะ ทาให้พัฒนาความคิดหรือสิ่งใหม่ ๆ ที่เป็นประโยชน์ต่อสังคม
  • 12. ควำมสำคัญของกำรคิดสังเครำะห์ การคิดสังเคราะห์มีความสาคัญอย่างมากในกระบวนการคิด เนื่องจากช่วยจัดระบบข้อมูลให้มีความชัดเจนในประเด็น และเป็นระเบียบมากขึ้น ทาให้มีข้อมูลที่จาเป็นครบถ้วน ซึ่งมีความสาคัญดังนี้ 1. ช่วยให้หาทางออกของปัญหาโดยไม่ต้องเริ่มจากศูนย์เราสามารถนาสิ่งที่คนอื่นคิดหรือปฏิบัติมาแล้วมาใช้ ประโยชน์ได้ทั้งที่เกี่ยวข้องโดยตรงและโดยอ้อม นามาผสมผสานกันเป็นทางออกในการแก้ปัญหา 2. ช่วยให้มีความเข้าใจที่คมชัดและครบถ้วนเกี่ยวกับเรื่องต่าง ๆ แต่เดิมเรามักจะหาทางออกของปัญหาโดยการ เลียนแบบหรือลองผิดลองถูก ทางที่ดีกว่าและปลอดภัยกว่าคือการใช้การคิดสังเคราะห์เข้ามาช่วยสรุปความรู้ที่กระจัดกระจาย ให้ เข้าใจเรื่องได้คมชัดและครบถ้ว 3. ช่วยขยายขอบเขตความสามารถของสมองในการพยายามสืบเสาะแสวงหาข้อมูลเพิ่มเติมจากแหล่งต่าง ๆ ภายนอก นามาสังเคราะห์เข้าด้วยกันเพื่อได้แนวทางแก้ปัญหาที่มีความสมบูรณ์ครบถ้วน สามารถนามาใช้ได้จริง และประสบความสาเร็จ 4. ข้อมูลที่สังเคราะห์จะเป็นประโยชน์ในการคิดต่อยอดความรู้ ทาให้ไม่เสียเวลาเริ่มต้นใหม่ คิดต่อยอดได้ทันที นาไปสู่การพัฒนาสิ่งใหม่ ๆ ที่มีประโยชน์ 5. ช่วยให้เกิดการสร้างสรรค์สิ่งใหม่ เพราะมีส่วนสาคัญที่ทาให้เกิดสิ่งใหม่ ๆ อย่างต่อเนื่องจากการสร้างสรรค์ที่ไม่ หยุดยั้งของมนุษย์ ขั้นตอนกำรสังเครำะห์ 1. กำหนดหัวเรื่องและจุดประสงค์ที่จะสังเคราะห์ให้ชัดเจนว่าต้องการสังเคราะห์เพื่อให้เกิดบูรณาภาพหรือ ปรากฏการณ์ใหม่ในรูปแบบใด เช่นเพื่อให้เกิดผลผลิต เพื่อให้เกิดข้อสรุป หรือ เพื่อให้เกิดการทานายเหตุการณ์ในอนาคตโดย กาหนดวัตถุประสงค์ให้ชัดเจนด้วยว่าจะสังเคราะห์เพื่อนาผลการสังเคราะห์ที่ได้ไปดาเนินการในสิ่งใดต่อ 2. จัดเตรียมปัจจัยและองค์ประกอบต่างๆที่จะนาเข้าสู่กระบวนการสังเคราะห์ซึ่งอาจเป็นคน สัตว์สิ่งของ หรือเป็น ประเด็นนามธรรมต่างๆ คัดกรอง คัดเลือกให้ได้ข้อมูลหรือปัจจัยวัตถุดิบต่างๆที่มีคุณภาพเพื่อนาสู่กระบวนการสังเคราะห์ 3. สังเครำะห์ปัจจัยและองค์ประกอบต่างๆที่เตรียมไว้ตามจุดประสงค์ที่กาหนด โดยให้กระบวนการสังเคราะห์มุ่งที่ การนาปรากฏการใหม่หรือบูรณาภาพที่ได้จากการสังเคราะห์ไปใช้ให้เกิดประโยชน์ตามที่ได้กาหนดไว้ในวัตถุประสงค์ของการ สังเคราะห์. 4. ตรวจสอบและประเมินผลการสังเคราะห์ที่ได้ว่าน่าจะมีความแม่นยา ความเที่ยง และความเป็นไปได้มากน้อย เพียงใดเพื่อเตรียมนาไปใช้ตามวัตถุประสงค์ 4.1ผลการสังเคราะห์ที่มีคุณภาพ มีความแม่นยาน่าเชื่อถือและมีความเป็นไปได้สูง สามารถนาผลของการ สังเคราะห์ดาเนินการนาไปใช้ในขั้นต่อไปได้ตามวัตถุประสงค์ 4.2 ผลของการสังเคราะห์ที่ไม่มีคุณภาพ ให้นาผลของการสังเคราะห์นั้นเข้าสู่กระบวนการวิเคราะห์เพื่อ ดาเนินการแยกแยะตรวจสอบหาที่มาของปัจจัยและองค์ประกอบต่างๆที่ได้นาเข้าสู่กระบวนการสังเคราะห์ รวมทั้งตรวจสอบ คุณภาพของผู้ทาการสังเคราะห์เพื่อสืบค้นหาที่มาและเหตุปัจจัยที่ทาให้ผลของการการสังเคราะห์เป็นผลการสังเคราะห์ที่ไม่มี
  • 13. คุณภาพ และเมื่อวิเคราะห์หาเหตุปัจจัยต่างๆนั้นได้แล้วให้แก้ไขปรับปรุงหรือเปลี่ยนแปลงเพื่อพัฒนาข้อมูลหรือองค์ประกอบ ปัจจัยต่างๆนั้นให้มีคุณภาพต่อไปเพื่อนาเข้าสู่กระบวนการสังเคราะห์ใหม่อีกครั้งหนึ่ง 5. นำผลกำรสังเครำะห์ไปใช้ประโยชน์ตามจุดมุ่งหมายโดยจะนาเสนอต่อสาธารณะหรือเก็บเป็นข้อมูลสังเคราะห์ ส่วนตัวก็แล้วแต่จุดประสงค์ของผู้ทาการสังเคราะห์ เช่น สังเคราะห์สถานการณ์ปัจจุบันเพื่อนาไปใช้ประกอบการคาดเดาโอกาส ของเหตุการณ์ที่อาจจะเกิดขึ้นได้ในอนาคต ตัวบ่งชี้กำรคิดสังเครำะห์ 1. สามารถกาหนดวัตถุประสงค์ของสิ่งใหม่ที่ต้องการสังเคราะห์ 2. สามารถวิเคราะห์ส่วนประกอบหรือข้อมูลที่ต้องการสังเคราะห์ 3. สามารถเลือกข้อมูลที่เหมาะสมกับวัตถุประสงค์ที่ต้องการสังเคราะห์ 4. สามารถสร้างกรอบแนวคิดตามวัตถุประสงค์ที่กาหนด 5. สามารถสร้างสิ่งใหม่ได้ตามวัตถุประสงค์และกรอบแนวคิดที่กาหนด 6. สามารถตรวจสอบความถูกต้องตามหลักเกณฑ์ได้อย่างตรงประเด็น 7. สามารถนาสิ่งที่สังเคราะห์ไปใช้ประโยชน์ได้ ตัวอย่ำงคำถำมหรือคำสั่งที่ต้องใช้กำรคิดสังเครำะห์ 1. จากที่เรียนมาแล้วเกี่ยวกับ "เสือไม่ทิ้งลาย" ให้นักเรียนวาดภาพที่แสดงความสอดคล้องกับข้อความดังกล่าว 2. เขียนสรุปสาระสาคัญของสิ่งที่เรียนเป็นแผนผังความคิด 3. ให้ร่วมกันจัดทาโครงงานจากเรื่องที่เรียนมาแล้ว 1 เรื่อง 4. จากเนื้อหาที่เรียน นักเรียนคิดว่าควรปฏิบัติตามใคร เพราะเหตุใด 5. ให้ออกแบบสิ่งของต่าง ๆ จากวัสดุที่มีอยู่ 6. ให้แต่งคาประพันธ์ บทกลอน โคลง ที่เกี่ยวกับเรื่องที่เรียน 7. ให้ประดิษฐ์สิ่งของจากวัสดุธรรมชาติให้ใช้ประโยชน์ได้มากที่สุด กำรพัฒนำนักคิดสังเครำะห์ การคิดสังเคราะห์เป็นสิ่งที่มีอยู่ในตัวมนุษย์และสามารถส่งเสริมได้โดยฝึกดังนี้ 1. ไม่พอใจสิ่งเดิม ชอบถามหาสิ่งใหม่ ชอบแสวงหา ชอบการเปลี่ยนแปลง 2. ไม่นิ่งเฉย ชอบสะสมข้อมูล ทาให้มีวัตถุดิบทางความคิดมากเพียงพอที่จะนาไปใช้ในการสังเคราะห์สิ่งต่าง ๆ 3. มีความเข้าใจและมองเห็นความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งต่าง ๆ นามาเชื่อมโยงอย่างสมเหตุและสมผล 4. ไม่แปลกแยก ชอบผสมผสาน การผสมผสานองค์ประกอบหรือความคิดที่ดูเหมือนขัดแย้งกันเข้าด้วยกัน โดย ผสมผสานอย่างกลมเกลียว และเชื่อมโยงอย่างสมเหตุสมผล 6. ไม่คลุมเครือ ชอบความคมชัดในประเด็น เข้าใจว่าแนวความคิดหนึ่งประกอบด้วยประเด็นหลักหรือประเด็นรอง อะไรบ้าง ฝึกจับประเด็นบทความ หนังสือ หนังสือพิมพ์ 7. ไม่ลาเอียง ชอบวางตนเป็นกลาง ไม่อคติต่อข้อมูลที่ได้ต้องแยกความรู้สึกออกจากข้อเท็จจริง 8. ไม่ยุ่งเหยิง ชอบระบบระเบียบ 9. ไม่ท้อถอย มีความมานะพากเพียร
  • 14. กำรอภิปรำยผล การสรุปองค์ความรู้ เป็นการทาเพื่อหาข้อความรู้และข้อความจริงจากตัวเลขหรือข้อมูลเชิงคุณภาพ ตลอดจน กระบวนการทางสถิติที่ได้ โดยมีหลักในการแปลผลและการสรุปผลข้อมูลคือ จะต้องแปลผลและสรุปผลให้อยู่ภำยในขอบเขตของข้อมูล และจุดมุ่งหมำย ของกำรวิจัยเป็นหลัก ไม่ควรจะแปลผลหรือให้ข้อสรุปที่บิดเบือนไปจากข้อเท็จจริง หรือใช้อคติส่วนตัวเข้าไปเกี่ยวข้องด้วย และ สาหรับกำรอภิปรำยผล เป็นขั้นตอนที่ผู้วิจัยต้องนาหลักการ ทฤษฎี กฎเกณฑ์ ตลอดจนผลการวิจัยมาเป็นแนวทางในการอภิปราย ผล ส่วนกำรเสนอข้อเสนอแนะเป็นการชี้แนวทางการนาผลการวิจัยไปใช้และเสนอปัญหาวิจัยว่า ควรจะทาเรื่องใดต่อไป หลักกำรกำรแปลผล กำรสรุปผล กำรอภิปรำยผลและข้อเสนอแนะ หลังจากนักวิจัยได้วิเคราะห์ผลข้อมูลจากการเก็บรวบรวมเป็นข้อมูลทางสถิติแล้ว ขั้นต่อไปก็คือการนาเสนอข้อมูลใน รูปแบบต่างๆ เช่น เสนอเป็นรูปกราฟเส้น กราฟแท่ง กราฟวงกลม รูปตาราง หรือในรูปบทความ เพื่อการแปลผลข้อมูล รวมถึง อภิปรายผลและข้อเสนอแนะต่อไป หลักในกำรแปลควำมหมำยของข้อมูล การแปลผลจัดว่าเป็นขั้นตอนสาคัญมากสาหรับการวิจัย เพราะเป็นการกล่าวถึงข้อความจริงที่ค้นพบ ซึ่งมีหลักในการ แปลความหมายข้อมูลดังนี้ คือ 1. จะต้องแปลผลอยู่ภายในขอบเขตของข้อมูล จุดมุ่งหมายการวิจัย และประชากรที่ศึกษา 2. พยายามแปลความหมายของผลการวิเคราะห์ให้สอดคล้องกับข้อจากัดของข้อมูลและสถิติ และพยายามใช้ภาษาที่ ง่าย แจ่มชัด และรัดกุม 3. การแปลความหมายข้อมูลจะต้องให้สัมพันธ์กับผลการวิเคราะห์ข้อมูล และจะต้องตรงกับความหมายของค่าสถิติที่ ได้ด้วย 4. การแปลความหมายข้อมูลจะต้องไม่มีอคติ ใช้ความรู้สึกส่วนตัวหรือพยายามตีความบิดเบือนไปจากข้อเท็จจริง เพื่อให้เป็นไปตามสมมติฐานที่ตั้งไว้และควรจัดทาด้วยความรอบคอบ 5. การใช้ค่าเฉลี่ยต่างๆ ในการวิเคราะห์ข้อมูล ต้องยอมรับว่าค่าเฉลี่ยเป็นเพียงแนวโน้มแบบหนึ่งเท่านั้น ไม่ใช่ตัวแทน ที่ดีของประชากร หรือตัวแทนที่แท้จริงเสมอไป ดังนั้นควรใช้อย่างระมัดระวัง ยิ่งค่ากระจายของข้อมูลมีมาก การแปล ความหมายข้อมูลอาจผิดพลาดได้ง่าย ข้อพกพร่องหรือควำมผิดพลำดที่อำจจะเกิดขึ้นในกำรวิเครำะห์และแปลผลข้อมูล 1. การคิดคานวณค่าสถิติผิดพลาด 2. ใช้กระบวนการทางสถิติ หรือเลือกใช้สถิติไม่เหมาะสม 3. การแปลผลที่ใช้ความรู้สึกส่วนตัวเข้าไปเกี่ยวข้องด้วย 4. การสมมติค่าสถิติขึ้นเอง เพื่อการแปลความได้ตามสมมติฐานที่ตั้งไว้ 5. ละเลยในข้อจากัดหรือขอบเขตของการวิจัย 6. มีความสับสนในการแก้ปัญหาและข้อเท็จจริงที่ค้นพบ
  • 15. 7. ผู้วิจัยขาดจินตนาการ หรือความคิดสร้างสรรค์ 8. การแปลความหมายโดยการใช้เหตุผลผิด หลักในกำรสรุปผลกำรวิจัย 1. การสรุปผลต้องขึ้นอยู่กับข้อมูลที่ได้เป็นสาคัญ 2. การสรุปต้องสอดคล้องกับข้อเท็จจริง หลักการต่างๆ ของธรรมชาติ 3. การสรุปต้องจากัดภายในขอบเขตของปัญหา และความรู้ที่ได้รับจริงๆ ไม่กล่าวอ้างถึงเหตุอื่นๆ ซึ่งไม่ใช่ผลการวิจัย 4. การลงสรุปนั้นเป็นการกล่าวแต่เพียงสั้นๆ รัดกุมตามปัญหาการวิจัย 5. การสรุปผลต้องเป็นคาตอบที่เกี่ยวข้องและสัมพันธ์กับปัญหาวิจัย 6. การสรุปผลเป็นเรื่องของการค้นพบข้อเท็จจริง ไม่รวมทัศนคติ หรือความคิดเห็นส่วนตัวเข้าไปเกี่ยวข้องด้วย 7. การสรุปผลข้อมูลควรเป็นผลเนื่องมาจากการคิดไตร่ตรองอย่างรอบคอบจากข้อมูลและข้อเท็จจริงที่ได้ หลักกำรอภิปรำยผล การอภิปรายผลเป็นขั้นตอนที่ผู้วิจัยจะทาภายหลังจากการสรุปผลการวิจัย หรือข้อค้นพบของการวิจัยของตนแล้ว โดย การนาหลักเหตุผล ทฤษฎี กฎเกณฑ์ต่างๆ ตลอดจนผลการวิจัยของผู้อื่นมาวิพากษ์วิจารณ์ผลการวิจัยของตน ซึ่งอาจกระทาได้ ดังนี้ 1. ศึกษาทฤษฎี กฎเกณฑ์หลักเหตุผลต่างๆ ตลอดจนผลการวิจัยของผู้อื่นเพื่อนามาเป็นแนวทางในการอภิปรายผล ซึ่ง ส่วนหนึ่งผู้วิจัยอาจจะศึกษามาแล้ว ในขั้นตอนการศึกษาเอกสารและการวิจัยที่เกี่ยวข้อง 2. พิจารณาผลการวิจัยสอดคล้องหรือขัดแย้งกับสมมติฐาน และผลการวิจัยของผู้ใดบ้าง 3. พิจารณาขอบเขตและข้อจากัดของการวิจัย เพื่อให้การอภิปรายผลอยู่ในขอบเขตของการวิจัย 4. วิพากษ์วิจารณ์หรือให้เหตุผลที่ผลการวิจัยนั้น สอดคล้องหรือขัดแย้งกับสมมติฐานที่ตั้งไว้ตลอดจนเหตุผลที่ ผลการวิจัยสอดคล้องหรือขัดแย้งกับผลการวิจัยของผู้อื่น โดยใช้ทฤษฎีเหตุผลและผลการวิจัยของผู้อื่นมาเป็นแนวทางในการ อภิปรายในกรณีผลการวิจัยสอดคล้องกับสมมติฐานมาเป็นแนวทางในการอภิปรายได้เลย หลักกำรเขียนข้อเสนอแนะ การใช้ข้อเสนอแนะ เป็นขั้นตอนสุดท้ายที่ผู้วิจัยจะกระทาในกระบวนการวิจัยแต่ละเรื่องโดยผู้วิจัยจะชี้แนะแนว ทางการนาผลการวิจัยไปใช้ประโยชน์ และแนวทางในการวิจัยต่อไป โดยทั่วไป การให้ข้อเสนอแนะของการวิจัยจะประกอบด้วยส่วนต่างๆ ดังนี้ จุดอ่อน ข้อบกพร่อง หรือข้อจากัดของการวิจัย หรือทั้งข้อเสนอแนะในการแก้ปัญหาเพื่อให้ผู้อ่านได้พิจารณา ประกอบการตัดสินใจว่า จะเชื่อผลการวิจัยนั้นได้เพียงใด และยังเป็นข้อเตือนในแก่ผู้ที่จะทาการวิจัยในเรื่องทานองเดียวกัน ใน กรณีที่ทาการวิจัยที่ไม่มีจุดอ่อนหรือข้อบกพร่องใดๆ ก็จะไม่มีส่วนนี้
  • 16. แนวทางในการนาผลการวิจัยไปใช้กล่าวคือ ผลการวิจัยควรจะนาไปใช้ประโยชน์กับใคร ในเรื่องใดและมีแนวทาง ในการใช้อย่างไร แนวทางในการทาวิจัยต่อไป กล่าวคือ จากปัญหาที่ผู้วิจัยได้ทาแล้ว สามารถทาการวิจัยเรื่องใดต่อไปได้อีก ซึ่งเรื่องที่จะ เสนอควรเป็นเรื่องใหม่ที่น่าสนใจ และสามารถปฏิบัติตามได้จริงๆ กล่าวโดยสรุปก็คือ การแปลผลข้อมูลก็เพื่อการหาข้อสรุปของข้อมูล เพื่อข้อความรู้และข้อความจริงจากตัวเลข และ กระบวนการทางสถิติที่ได้โดยมีหลักในการแปลผลและการสรุปผลข้อมูล คือจะต้องแปลผลอยู่ภายในขอบเขตของข้อมูล และ จุดมุ่งหมายของการวิจัยเป็นหลัก ไม่ควรจะแปลผลหรือให้ข้อสรุปที่บิดเบือนไปจากข้อเท็จจริง หรือใช้อคติส่วนตัวเข้าไป เกี่ยวข้องด้วย และสาหรับการอภิปรายผล เป็นขั้นตอนที่ผู้วิจัยของนาหลักการ ทฤษฎี กฎเกณฑ์ ตลอดจนผลการวิจัยมาเป็น แนวทางในการอภิปรายผล ส่วนการเสนอข้อเสนอแนะเป็นการชี้แนวทางการนาผลการวิจัยไปใช้และเสนอปัญหาการวิจัยว่า ควรจะทาเรื่องใดต่อไป กำรนำเสนอผลงำน การนาเสนอ ถือเป็นทักษะที่จาเป็นของคนทางานทั้งในสังคมธุรกิจ และงานราชการ ที่จะเป็นส่วนหนึ่งนาไปสู่ ความสาเร็จในหน้าที่การงาน การที่จะประสบความสาเร็จในการนาเสนอที่ดี ผู้นาเสนอจะต้องมีความเข้าใจในความหมาย ความสาคัญของการนาเสนอ ต้อง เป็นผู้ที่รู้รูปแบบ ขั้นตอนของการนาเสนอ รู้ลักษณะของการนาเสนอที่ดี เสริมสร้างคุณสมบัติ ลักษณะของตัวตน รวมถึงพัฒนา ทักษะที่เป็นตัวตนเป็นเอกลักษณ์ในการนาเสนออย่างมีประสิทธิภาพ กำรนำเสนอ(Presenting) เป็นศาสตร์(วิธีการ)ของการสื่อสาร(Communication) ซึ่งเป็นกระบวนการถ่ายทอด สาร(message) จากฝ่ายหนึ่งที่ เรียกว่าผู้ส่งสาร(sender)ไปสู่อีกฝ่ายหนึ่งที่เรียกว่า ผู้รับสาร(receiver) โดยผ่านช่องทานของ สื่อ(channel) ควำมหมำยของคำว่ำ กำรนำเสนอ การนาเสนอ คือ กระบวนการ วิธีการ เพื่อให้รู้ ให้ทราบ ให้เข้าใจ ในกิจกรรมขององค์กร ของสถาบัน ของหน่วยงาน ได้อย่างชัดเจน การนาเสนอ คือ การถ่ายทอดเนื้อหา สาระที่ผสมผสานกันระหว่าง ศิลปะการพูด กับ การแสดงข้อมูล ในรูปแบบต่างๆ ผ่านสื่อและอุปกรณ์ได้อย่างเหมาะสม ลักษณะและรูปแบบกำรนำเสนอ รูปแบบการนาเสนอ(ที่นิยมใช้) มี 3วิธีการ คือ 1. มี ผู้นาเสนอ และใช้เอกสารประกอบ(Handout)เป็นส่วนร่วมในการนาเสนอ 2. มี ผู้นาเสนอ ใช้วัสดุ-อุปกรณ์เครื่องฉาย เป็นสื่อ และมี เอกสารประกอบ เป็นส่วนร่วม
  • 17. 3. จัดเป็น Display ในรูปของนิทรรศการ ที่ใช้Post line เป็นเส้นนาทาง และ(อาจ)มี เอกสารประกอบ เป็นส่วนร่วม ประเภทของสื่อนำเสนอ 1. สื่อเพื่อการนาเสนอโครงการ(กิจกรรม) 2. สื่อเพื่อสรุปโครงการ(กิจกรรม) 3. สื่อเพื่อการประชาสัมพันธ์ 4. สื่อประกอบการบรรยาย องค์ประกอบของสื่อนำเสนอ หากจะแบ่งสื่อนาเสนอออกเป็นส่วนๆ ควรประกอบด้วย 3 ส่วน คือ 1. ส่วนนาเรื่อง Beginning 2. ส่วนเนื้อหาMiddle 3. ส่วนท้ายเรื่อง End โดยในการนาเสนอนั้น จะแบ่งทั้ง 3 ส่วน อัตราส่วน ส่วนนาเรื่องและส่วนท้ายเรื่อง รวมกัน 20-25% ส่วนเนื้อหา 75- 80% 1.สื่อเพื่อกำรนำเสนอโครงกำร(กิจกรรม) จะมีโครงสร้าง โดยย่อ ดังนี้ 1. ส่วนนำเรื่อง Beginning บอกชื่อเรื่อง บอกวัตถุประสงค์ของโครงการ รวมถึงสาระสาคัญของโครงการ 2. ส่วนเนื้อหำ Middleส่วนนี้จะบอกในส่วนขององค์ประกอบหรือขั้นตอนของกิจกรรมหลักๆของโครงการ 3. ส่วนท้ำยเรื่อง Endส่วนนี้เป็นส่วนที่แสดงให้ผู้ฟังรับทราบว่าสิ้นโครงการนี้ จะได้อะไร 2.สื่อเพื่อสรุปโครงกำร(กิจกรรม) จะมีโครงสร้าง โดยย่อ ดังนี้ 1. ส่วนนำเรื่อง Beginning บอกชื่อเรื่อง รวมถึงต้องบอกความเป็นมาของโครงการ 2. ส่วนเนื้อหำ Middleส่วนนี้จะสรุปขั้นตอนของการดาเนินการของโครงการ 3. ส่วนท้ำยเรื่อง Endส่วนนี้เป็นส่วนสรุปผล ประเด็นปัญหา อุปสรรค ข้อจากัดในการดาเนินการ และข้อเสนอแนะที่ ผู้ดาเนินการเห็นว่าควรนาเสนอ 3.สื่อเพื่อกำรประชำสัมพันธ์ จะมีโครงสร้าง โดยย่อ ดังนี้ 1. ส่วนนำเรื่อง Beginning เป็นส่วนเริ่มต้นที่จะมีชื่อเรื่องหรือไม่ก็ได้โดยปกติจะเป็นสื่อแนะนาหน่วยงาน ซึ่งอาจจะเริ่ม ด้วยสภาพ บริบท บทบาทหน้าที่หรือภารกิจหลักในภาพรวม ของหน่วยงาน 2. ส่วนเนื้อหำ Middleส่วนนี้อาจเป็นส่วนการนาเสนอโครงสร้าง อธิบายภารกิจ กิจกรรมที่ดาเนินการ 3. ส่วนท้ำยเรื่อง Endส่วนแสดงถึงผลงานที่ดีเด่น อาจจะปิดท้ายด้วยคาขวัญหรือปรัชญา ขององค์กร 4. สื่อประกอบกำรบรรยำย จะมีโครงสร้าง โดยย่อ ดังนี้ 1. ส่วนนำเรื่อง Beginning บอกชื่อเรื่อง และหัวข้อเรื่องต่างๆที่จะบรรยายหรือที่จะนาเสนอ
  • 18. 2. ส่วนเนื้อหำ Middleส่วนนี้เป็นส่วนนาเสนอเนื้อหา ซึ่งจะต้องนาเสนออย่างเป็นขั้นเป็นตอน พร้อมทั้งมีตัวอย่างแทรก 3. ส่วนท้ำยเรื่อง Endส่วนนี้เป็นส่วนสรุปประเด็นที่สาคัญของเนื้อหา รวมถึงเป็นช่วงการตอบปัญหา ซักถาม สื่อทั้ง 4 ดังที่กล่าวในข้างต้น จะมีจุดประสงค์ในการนาไปใช้2 สถานะ 1.Self media presenting เป็นสื่อที่นาเสนอเรื่องราวด้วยตัวของมันเอง ในลักษณะแบบต่อเนื่อง คล้ายวิดีทัศนื หรือ ภาพยนตร์ โปรแกรมนาเสนอแบบนี้ ที่นิยมใช้ก็มีหลายโปรแกรม อาทิ 2.Benefit media presenting เป็นสื่อที่ใช้ประกอบการบรรยายหรือการนาเสนอ ซึ่งโปรแกรมนาเสนอประเภทนี้ที่นิยมใช้ มากที่สุดก็คือ PowerPoint