SlideShare a Scribd company logo
กระบวนทัศน์ใหม่ของรัฐประศาสนศาสตร์
การถอดบทเรียนจากตลาดน้าชุมชนคลองลัดมะยม
สถาบันรัฐประศาสนศาสตร์
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
2
กระบวนทัศน์ใหม่ของรัฐประศาสนศาสตร์
การถอดบทเรียนจากตลาดน้าชุมชนคลองลัดมะยม
รายชื่อคณะผู้จัดท้า
1. ศ.ดร. สมบูรณ์ สุขสาราญ คณบดีสถาบันรัฐประศาสนศาสตร์
2. นายสมปอง สงวนบรรพ์ คณบดีสถาบันการทูตและการต่างประเทศ
3. นางสาวอิศรา ถาวรพิชญไชย นักศึกษาหลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต
สาขารัฐประศาสนศาสตร์
4. นางสาวเจ จันทร์ศุภฤกษ์ นักศึกษาหลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต
สาขารัฐประศาสนศาสตร์
5. นายลัทธจิตร มีรักษ์ นักศึกษาหลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต
สาขารัฐประศาสนศาสตร์
6. พลเอกสุรสิทธิ์ ถนัดทาง นักศึกษาหลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต
สาขารัฐประศาสนศาสตร์
7. นายพลัฏฐ์ ยิ้มประเสริฐ นักศึกษาหลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต
สาขารัฐประศาสนศาสตร์
8. น.ส.มิรันตี พจนสุภาณ นักศึกษาหลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต
สาขารัฐประศาสนศาสตร์
9. นายปณิธาน สุขสาราญ นักศึกษาหลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต
สาขารัฐประศาสนศาสตร์
ปก ณัฐธิดา เย็นบารุง
รูปเล่ม ณัฐธิดา เย็นบารุง
ปีที่เผยแพร่ กุมภาพันธ์ 2561
เผยแพร่โดย ศูนย์ศึกษามหานครและเมือง วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
3
บทสรุปผู้บริหาร
 กระบวนทัศน์ทางรัฐประศาสนศาสตร์เกี่ยวกับชุมชนยังมีขอบเขตที่จากัด สถาบันรัฐประศาสน
ศาสตร์ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต จึงมีแนวคิดที่จะเป็นผู้นาในการสารวจพรมแดนใหม่ของการศึกษารัฐ
ประศาสนศาสตร์ในด้านชุมชน และได้ไปศึกษาดูงานเก็บข้อมูลที่ชุมชนคลองลัดมะยม
 ชุมชนคลองลัดมะยมเดิมประกอบอาชีพเกษตรกรรม และใช้คลองเพื่อการสัญจรและการเกษตร
ต่อมามีการตัดถนนจึงทาให้การสัญจรทางน้าของชาวบ้านลดลง ประกอบอาชีพเกษตรกรรมลดลง ทาให้ชาวบ้าน
ไม่ร่วมดูแลคลอง จนก่อให้เกิดปัญหาด้านสิ่งแวดล้อม และก่อให้เกิดผลกระทบต่อเกษตรกรในชุมชนด้านเศรษฐกิจ
รวมทั้งคุณภาพชีวิตของคนในชุมชนเอง
 ต่อมาในปี 2547 นายชวน ชูจันทร์ได้ริเริ่มการฟื้นฟูคลองลัดมะยม โดยตั้งตลาดน้าโดยให้สมาชิกใน
ชุมชนนาผลผลิตที่ได้มาแลกเปลี่ยนกันจนตลาดเป็นแหล่งท่องเที่ยวใหม่ในเวลาต่อมา ทาให้สมาชิกมีรายได้จากการ
นาผลผลิตในชุมชนมาขาย หรือบริการท่องเที่ยว และคลองก็กลายเป็นทุนของชุมชน สมาชิกในชุมชนจึงกลับมา
ร่วมกันดูแลคลองจนมีสภาพดี
 เมื่อมีรายได้มากขึ้น ชุมชนได้จัดตั้งสถาบันการเงินชุมชน ซึ่งได้รับการสนับสนุนองค์ความรู้โดย
ธนาคารออมสิน ให้สมาชิกมาออมเงินร่วมกัน และนาเงินออมมาปล่อยสินเชื่อแก่สมาชิกเพื่อใช้เป็นแหล่งทุน และ
ไปจดทะเบียนเป็นสหกรณ์ เพื่อจะทาให้มีสภาพนิติบุคคลที่มีชุมชนเป็นเจ้าของร่วมกัน และมีโครงสร้างทางการ
บริหารที่ชัดเจน ไม่ขึ้นกับตัวบุคคลเพียงอย่างเดียวต่อไป
 คณะผู้ศึกษาดูงานได้ข้อสังเกตว่าชุมชนคลองลัดมะยมมีจุดเด่นคือเป็นชุมชนที่เคยได้รับผลกระทบ
จากการเปลี่ยนแปลงภายนอกแต่สามารถปรับตัวโดยใช้ชุมชนซึ่งเป็นหน่วยย่อยของสังคมมาพัฒนาร่วมไปกับระบบ
ทุนจากภายนอก และได้ประมวลปัจจัยของความสาเร็จมาได้ดังนี้
1) มีผู้นาชุมชมที่เข้มแข็งเป็นศูนย์กลาง โดยวิสัยทัศน์ที่เป็นปัจจัยความสาเร็จที่สาคัญที่สุดก็คือ
กรอบแนวคิด (Mindset) และค่านิยมที่ว่าชุมชนควรช่วยเหลือตนเองก่อน และทัศนคติที่เปิดต่อการบริหารงานใน
ลักษณะเปิด
2) มีการกาหนดเป้าหมาย (Agenda) และวัตถุประสงค์หรือค่านิยม (Core Value) ที่สอดคล้อง
กับผลประโยชน์ของชุมชนที่เป็นรูปธรรม และต้องมีการกาหนดขอบเขตความรับผิดชอบ (Shared
Responsibilities) ระหว่างสมาชิกในชุมชนให้ชัดเจน
3) มีความพยายามจะสร้างความยั่งยืนในการดาเนินงานด้วยการจดทะเบียนเป็นสหกรณ์ ซึ่งก็ยัง
ไม่แน่นอนว่ารูปแบบดังกล่าวจะเหมาะสมกับการบริหารจัดการของชุมชนคลองลัดมะยมในระยะยาวหรือไม่
4
 บทเรียนชุมชนคลองลัดมะยมสู่การเปลี่ยนกระบวนทัศน์ และข้อเสนอแนะเบืองต้น
1) การบริหารงานภาครัฐควรอยู่บนกระบวนทัศน์ใหม่ (New Paradigm)
แนวคิดการบริหารภาครัฐที่อยู่ในกระบวนทัศน์ Old Public Administration หรือการบริหาร
ที่รวมศูนย์อานาจไว้ที่ภาครัฐและสั่งมาที่ประชาชน หรือกรอบแนวคิดการบริหารแบบ New Public
Management ซึ่งมองประชาชนเป็นลูกค้าที่มาซื้อบริการนั้น ไม่สนับสนุนต่อการสร้างให้ประชาชนมีส่วนร่วมใน
การดูแลตนเองหรือการสร้างให้ชุมชนเข้มแข็ง การบริหารงานภาครัฐควรอยู่บนกระบวนทัศน์ใหม่คือ “Civil
Public Management” หรือรัฐประสานศาสตร์พลเมือง หรือการบริหารงานภาครัฐที่สร้างให้ประชาชนกลายเป็น
พลเมืองที่ดูแลตัวเองได้ ซึ่งจะต้องเป็นสาขาการศึกษาที่ค้นคว้ากันต่อไป
2) การท้างานของหน่วยงานภาครัฐควรต้องมุ่งไปที่ประโยชน์ในระยะยาว และเป็นไปใน
ลักษณะการมีส่วนร่วม
การสร้างความเข้มแข็งให้กับชุมชนเป็นเรื่องที่ใช้เวลา หากหน่วยงานภาครัฐไปเร่งรัดให้เกิด
ความสาเร็จโดยเร็วจนเกินไปก็จะเป็นการบริหารงานในกระบวนทัศน์ Old Public Administration และไม่ทาให้
เกิดการบริหารงานที่สร้างพลเมืองที่ดูแลตัวเองได้ และต้องทางานในลักษณะผู้มีส่วนร่วมมากกว่าผู้สั่งการ เช่น
ธนาคารออมสินอาจมีนโยบายที่ด้านชุมชนที่ชัดเจนและแยกให้ชัดระหว่างการดาเนินการด้านการพัฒนา หรือด้าน
ธุรกิจปกติ เพื่อสนับสนุนบทบาทกลไกของรัฐให้ชัดเจน และไม่ควรเอาพันธกิจด้านที่เป็นธุรกิจไปใช้กับชุมชนใน
เวลาที่ชุมชนยังไม่พร้อม รวมถึงให้ธนาคารสาขาออมสินซึ่งอยู่ในชุมชนหรือพื้นที่เดียวกันอย่างใกล้ชิดเป็นพี่เลี้ยง
กลุ่มอย่างต่อเนื่อง
3) การบูรณการการท้างานของภาครัฐโดยชุมชน
จากตัวอย่างชุมชนคลองลัดมะยมจะเห็นได้ว่ามีหน่วยงานภาครัฐไปเกี่ยวข้องด้วยหลายหน่วย
ซึ่งปกติจะไม่มีกลไกที่เป็นทางการในการร่วมกันทางาน ในอนาคตอาจมีการพัฒนาชุมชนให้เป็นศูนย์กลางการบูร
ณาการของภาครัฐในการทางาน โดยอาจมีกฎหมาย หรือกฎระเบียบมารองรับ
5
กระบวนทัศน์ใหม่ของรัฐประศาสนศาสตร์
การถอดบทเรียนจากตลาดน้าชุมชนคลองลัดมะยม
ชุมชนถือเป็นรากฐานที่สาคัญของประเทศทั้งทางเศรษฐกิจและสังคมทาให้การพัฒนาให้ชุมชนเข้มแข็ง
นั้นถือเป็นกระแสการพัฒนาหลักด้านหนึ่งที่ภาครัฐไทยให้ความสาคัญในระยะหลัง แต่อย่างไรก็ตาม กระบวนทัศน์
ในการศึกษารัฐประศาสนศาสตร์เกี่ยวกับชุมชนยังมีขอบเขตที่จากัด สถาบันรัฐประศาสนศาสตร์ วิทยาลัยรัฐกิจ
มหาวิทยาลัยรังสิตเห็นความสาคัญของการศึกษาถึงการบริหารรัฐกิจในการพัฒนาชุมชนดังกล่าว จึงมีแนวคิดที่จะ
เป็นผู้นาในการสารวจพรมแดนใหม่ของการศึกษารัฐประศาสนศาสตร์ในด้านชุมชนในเชิงลึก เพื่อเป็นบ่อเกิดองค์
ความรู้ที่จะนาไปใช้ประโยชน์ในการบริหารบ้านเมืองต่อไป สถาบันรัฐประศาสนศาสตร์จึงได้นาคณะอาจารย์และ
นักศึกษาไปศึกษาดูงานเก็บข้อมูลที่ชุมชนคลองลัดมะยม โดยความอนุเคราะห์จากธนาคารออมสิน ซึ่งชุมชนคลอง
ลัดมะยมเป็นชุมชนที่สมาชิกร่วมกันพัฒนาชุมชนของตนเอง และต่อยอดมาดาเนินการร่วมกับหน่วยงานภาครัฐ
อื่นๆ หัวใจหลักของการพัฒนาชุมชนคลองลัดมะยมก็คือการสร้างตลาดน้าของชุมชนเป็นเครื่องมือหลักในการ
พัฒนาเศรษฐกิจ และระบบนิเวศน์ของชุมชนได้อย่างมีประสิทธิภาพ และเป็นการพัฒนาของชุมชนเองเป็นหลัก
1. การพัฒนาของชุมชนคลองลัดมะยม
คลองลัดมะยมเป็นคลองสายสาคัญสายหนึ่งในที่แขวงบางระมาด ตลิ่งชัน กรุงเทพมหานคร เขตตลิ่งชัน
มีความยาวประมาณ 1 กิโลเมตร และมีชาวบ้านกว่า 600 ครอบครัวอาศัยอยู่ ส่วนใหญ่ประกอบอาชีพ
เกษตรกรรม เดิมทีชาวบ้านใช้คลองลัดมะยมเพื่อการสัญจร ต่อมามีการตัดถนนจึงเปลี่ยนมารถยนต์ ทาให้การ
สัญจรทางน้าของชาวบ้านลดลงอย่างมาก ชาวบ้านที่เคยประกอบอาชีพเกษตรกรรมก็ลดจานวนลง โดยคนหนุ่ม
สาวหันไปประกอบอาชีพอื่นแทน ทาให้คลองลัดมะยมมีความสาคัญน้อยลงไปเรื่อยๆ ชาวบ้านจึงเริ่มไม่สนใจและ
ไม่เห็นคุณค่าของคลองลัดมะยม และปล่อยปะละเลยการดูแลคลอง และก่อให้เกิดปัญหา เช่น
ด้านสิ่งแวดล้อม : คลองลัดมะยมกลายเป็นแหล่งรวมของขยะ ประกอบกับขาดระบบการจัดการขยะใน
ชุมชน ขาดระบบบาบัดน้าเสียและไขมันจากบ้านเรือนริมคลอง ทาให้ชาวบ้านไม่สามารถนาน้ามาใช้ในการอุปโภค
บริโภค ทาการเกษตร หรือสัญจรได้
การเปลี่ยนแปลงระบบนิเวศน์ในชุมชน : คลองลัดมะยมถูกลดความสาคัญลงตามที่ได้กล่าวมาแล้ว
ชาวบ้านบางส่วนจึงทิ้งอาชีพเกษตรกรรมทาให้วิถีชุมชนริมคลองเปลี่ยนแปลงไป จิตสานึกที่จะเห็นคุณค่าและ
ร่วมกันพัฒนาคลองลัดมะยมก็เปลี่ยนไปด้วย
ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงระบบนิเวศน์ในชุมชน : ผลจากการที่คุณภาพคลองลัดมะยม
เปลี่ยนแปลงไปทาให้ชาวบ้านที่ยังคงประกอบอาชีพเกษตรกรรมและจาเป็นต้องใช้น้าจากคลองเพื่อการเกษตร
และใช้คลองเพื่อการคมนาคมขนส่งสินค้า ได้รับผลกระทบทางตรง เช่น ปัญหาการใช้น้าในคลองมาใช้ใน
การเกษตร หรือปัญหาในการขนส่งทางน้า นอกจากนี้ การที่สมาชิกในชุมชนเปลี่ยนแปลงอาชีพไปทางานนอก
ชุมชนทาให้ระบบตลาดในการจาหน่ายสินค้าของชุมชนลดลง ทั้งด้านผลผลิตหรือสินค้าของชาวบ้านในชุมชนจึงไม่
6
สามารถแข่งขันและเพิ่มมูลค่าได้ และช่องทางในการขายที่ลดลง เศรษฐกิจภายในชุมชนจึงเสื่อมถอยลง และทาให้
ชุมชนเกิดความเชื่อว่าคลองลัดมะยมได้ “ตาย” ไปแล้ว โดยไม่สามารถจะฟื้นฟูได้อีก
ต่อมาในปี 2547 นายชวน ชูจันทร์ หรือลุงชวน ประธานตลาดน้าคลองลัดมะยมในปัจจุบัน ได้ตระหนัก
ถึงปัญหาด้านต่างๆและยังคงเห็นความสาคัญในการฟื้นฟูคลองลัดมะยม จึงมีแนวคิดที่ต้องการให้ชาวบ้านและคน
ทั่วไปหันมาสนใจคลองลัดมะยมอีกครั้งหนึ่ง โดยลุงชวนได้ริเริ่มให้คลองลัดมะยมกลับมามีคุณค่า ความสาคัญและ
ใช้ประโยชน์ได้อย่างยั่งยืนได้อีกครั้ง ด้วยการทาเป็นตัวอย่างก่อน เช่น การพายเรือเก็บขยะในคลองคนเดียว
วิสัยทัศน์ที่สาคัญของลุงชวน และเป็นเครื่องมือสาคัญของการฟื้นฟูคลองลัดมะยม คือ ตลาดน้า โดยลุง
ชวนได้แนวคิดว่าจะต้องสร้างกิจกรรมที่เป็นศูนย์กลางที่สมาชิกในชุมชนได้ประโยชน์ และตระหนักถึงความเป็น
เจ้าของ ลุงชวนจึงได้จัดตั้งตลาดน้าขึ้นมา โดยให้สมาชิกในชุมชนนาผลผลิตที่ได้มาแลกเปลี่ยนกันในที่ดินของ
ตัวเองก่อน และเก็บค่าเช่าในราคาถูก ในระยะแรกได้ผลสาเร็จไม่มากนัก เนื่องจากมีจานวนผู้ขายน้อย แต่เมื่อเวลา
ผ่านไปสมาชิกในชุมชนนาผลผลิตการเกษตรที่ได้จากในชุมชนมาแลกเปลี่ยนกันมากขึ้น ตลาดจึงมีขนาดใหญ่ขึ้น
และสามารถทาให้คนกรุงเทพฯ ที่อยู่ใกล้และมีกาลังซื้อสูงเข้ามาซื้อสินค้าในตลาด และกลายเป็นแหล่งท่องเที่ยว
ใหม่ในเวลาต่อมา
การที่ตลาดน้าคลองลัดมะยมกลายเป็นแหล่งท่องเที่ยวใหม่ของคนกรุงเทพฯ ทาให้เกิดการขยายตัวทาง
เศรษฐกิจของชุมชน คือสมาชิกในชุมชนมีรายได้มากขึ้นจากการนาผลผลิตในชุมชนมาขาย รวมทั้งพัฒนาสินค้า
หรือบริการท่องเที่ยวให้เกิดมูลค่าเพิ่มต่อไปอีก จากการเปลี่ยนแปลงดังกล่าว สมาชิกในชุมชนจึงตระหนักได้ว่า
คลองลัดมะยมมีความสาคัญต่อวิถีชีวิต หรือเป็น “ทุนทางสังคม” ของชุมชน จึงเกิดแนวคิดที่จะร่วมกันดูแลคลอง
และชุมชนร่วมกัน ซึ่งเป็นไปตามเจตนารมณ์ตั้งต้นของลุงชวน โดยเมื่อคลองสะอาด ตลาดน้าก็จะอยู่ได้ ชาวบ้าน
ริมคลองก็จะหันกลับมาดูแลรักษาคลองลัดมะยม มีการร่วมกันแก้ไขปัญหาน้าเสียอย่างยั่งยืนตามแนวพระราชดาริ
ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 9 มาปรับใช้ มีการเก็บขยะ ผักตบชวาในคลองทุกสัปดาห์ มีการติดตั้ง
บ่อดักเศษอาหารและบ่อดักไขมันของบ้านที่อยู่ริมคลอง มีถังหยดน้าจุลินทรีย์ลงคลองอย่างต่อเนื่องเพื่อบาบัดน้า
เสีย การขุดลอกคลองและดูดเลนผิวดิน การใช้กังหันน้าจากพลังงานแสงอาทิตย์ และการติดตั้งเครื่องวัดคุณภาพ
น้า เป็นต้น
เมื่อมีรายได้มากขึ้น ชุมชนจึงมีแนวคิดที่จะออมเงินและบริหารเงินร่วมกัน ชุมชนคลองลัดมะยมจึงได้มี
การต่อยอดการบริหารชุมชนร่วมกันอีก คือการจัดตั้งสถาบันการเงินชุมชน ซึ่งได้รับการสนับสนุนองค์ความรู้โดย
ธนาคารออมสิน โดยให้สมาชิกมาออมเงินร่วมกัน และนาเงินออมมาปล่อยสินเชื่อแก่สมาชิกเพื่อใช้เป็นแหล่งทุน
โดยการบริหารสถาบันการเงินชุมชนจะทาโดยคณะกรรมการที่มาจากสมาชิกในชุมชนเอง การใช้แหล่งทุนของ
ชุมชนตั้งอยู่บนหลักการที่ชุมชนจะต้องสร้างความเข้มแข็งจากเงินออมของตัวเอง เป็นการพึ่งพาตัวเองอย่างยั่งยืน
นอกจากนี้ ชุมชนยังมีการดาเนินการด้านอื่นๆ อีก เช่น ด้านพลังงาน ที่ชุมชนร่วมกันผลิตไฟฟ้าจากโซลาร์เซลล์
หรือพลังงานจากขยะ เป็นต้น
7
เมื่อมีการรวมตัวในขนาดที่ใหญ่ และมีการดาเนินงานที่หลากหลาย ชุมชนคลองลัดมะยมจึงได้มีแนวคิด
ที่จะหารูปแบบการบริหารจัดการที่จะทาให้การดาเนินการทั้งหมดมีความต่อเนื่อง จึงมีได้ไปจดทะเบียนเป็น
สหกรณ์ เพื่อจะทาให้มีสภาพนิติบุคคลที่มีชุมชนเป็นเจ้าของร่วมกัน และมีโครงสร้างทางการบริหารที่ชัดเจน ไม่
ขึ้นกับตัวบุคคลเพียงอย่างเดียวต่อไป
ทั้งนี้ คณะผู้ศึกษาดูงานสรุปหลักการบริหารชุมชนคลองลัดมะยมได้ดังนี้
ในด้านการร่วมมือกับภาครัฐ เมื่อชุมชนได้ร่วมกันบริหารจัดการจนตลาดน้าได้รับความนิยม
ชุมชนก็ได้ร่วมมือกับหน่วยงานภาครัฐ เพื่อหาเครื่องมือให้ชุมชนพัฒนาตัวเองต่อไปได้อีก เช่น การให้ธนาคารออม
สินมาช่วยในการจัดตั้งและบริหารสถาบันการเงินชุมชนและการบริหารตลาด กรุงเทพมหานครช่วยในการบริหาร
น้าในคลอง หรือกรมการศาสนาเพื่อใช้ศาสนาเป็นเครื่องมือในการพัฒนาทุนมนุษย์ในชุมชน
2. มุมมองจากภาครัฐกับการท้างานร่วมกับชุมชน
สาหรับมุมมองจากภาครัฐที่ให้การสนับสนุนชุมชนคลองลัดมะยม คณะผู้ศึกษาดูงานได้รับความ
อนุเคราะห์จากนายกิตติพงศ์ บุญยิ่ง ผู้ช่วยผู้อานวยการธนาคารออมสิน สายงานลูกค้ารายย่อยและองค์กรชุมชน
กลุ่มลูกค้าฐานรากและสนับสนุนนโยบายรัฐ โดยธนาคารออมสินเป็นรัฐวิสาหกิจที่ได้รับหน้าที่ให้เป็นกลไกในการ
แก้ไขปัญหาความยากจนและการลดความเหลื่อมล้า ในฐานะสถาบันการเงินของรัฐ ซึ่งธนาคารออมสินได้ร่วมกับ
ลุงชวนและชาวบ้านพัฒนาชุมชนคลองลัดมะยม เช่น ระดับชุมชนมีการสนับสนุนการจัดตั้งสถาบันการเงินชุมชน
และมีการช่วยเหลือสมาชิกให้สร้างรายได้ โดยการสร้างอาชีพ สร้างตลาดสินค้าชุมชน และสร้างช่องทางการตลาด
หรือการให้นักศึกษาจากโครงการออมสินยุวพัฒน์รักษ์ถิ่นมาร่วมในการพัฒนาชุมชนด้วย
มีรายได้
ตลาด
สร้างกิจกรรมทาง
เศรษฐกิจชุมชน
สถาบันการเงินชุมชน
มีเงินออม
สินเชื่อ
สหกรณ์
เกิดสานึกร่วมกันดูแลคลอง
หรือทุนชุมชน
ร่วมกันช่วยเหลือการบริหารเงิน
ก่อตัวเป็นสถาบันของ
ชุมชน
(Well Established)
8
หลักในการดาเนินงานในการพัฒนาชุมชนของธนาคารออมสิน คือธนาคารออมสินจะถือว่าตัวเองเป็นผู้
ร่วมดาเนินการและเรียนรู้ไปกับชุมชน ยึดหลักการมีส่วนร่วมของสมาชิกในชุมชน คือ ต้องมีการสื่อสารให้เกิด
ความตระหนักของชุมชน เช่น ตลาดน้าคืออะไร ทาไมต้องทาตลาดน้า จะทาได้อย่างไร ทาแล้วจะดีหรือไม่ ตนเอง
และชาวบ้านจะได้ประโยชน์อะไร เป็นหลักเบื้องต้นก่อน โดยเป็นโจทย์อันสาคัญของลุงชวนและธนาคารออมสิน ที่
ต้องทาการชี้แจงทาความเข้าใจกับชาวบ้าน
ในมุมมองของธนาคารออมสินชุมชนคลองลัดมะยมเป็นชุมชนต้นแบบที่เข้มแข็ง แต่ก็ยังมีจุดอ่อนในเรื่อง
การถ่ายโอนความรู้และปลูกฝังจิตสานึกหรือค่านิยมร่วมกันให้คนในรุ่นต่อๆ ไป เพราะองค์ความรู้หลักอยู่ที่ตัวผู้นา
ชุมชนหรือลุงชวนยังไม่ได้มีการถ่ายทอดหรือกาหนดตัวผู้สืบทอด และยังต้องคานึงถึงปัญหาความยั่งยืนในระยะ
ยาว เนื่องจากเป็นชุมชนที่ก่อตั้งขึ้นโดยไม่ได้หวังผลประโยชน์ส่วนตัว จึงไม่ได้คานึงถึงการจัดการรายได้ การตลาด
หรือการบริหารกิจการโดยรวม การแบ่งปันผลกาไรในปัจจุบันยังขึ้นอยู่กับเจ้าของพื้นที่แต่ละราย ซึ่งเป็นปัญหาที่
ชุมชนจะต้องแก้ไขต่อไป และเป็นปัญหาของหน่วยงานภาครัฐที่จะต้องให้การสนับสนุน
3. ข้อสังเกตจากคณะผู้ศึกษาดูงาน
3.1 ชุมชนคลองลัดมะยมเองเป็นต้นแบบที่ดีในการบริหารจัดการโดยชุมชน และมีภาครัฐเป็น
ผู้สนับสนุน ซึ่งชุมชนคลองลัดมะยมมีจุดเด่นคือเป็นชุมชนที่เคยได้รับผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงภายนอกแต่
สามารถปรับตัวโดยใช้ชุมชนซึ่งเป็นหน่วยย่อยของสังคมมาพัฒนาร่วมไปกับระบบทุนจากภายนอกเพื่อดารงชีพ
และสร้างความมั่นคงแข็งแกร่งให้กับชุมชน ได้อย่างมีศักดิ์ศรี และเป็นเกราะป้องกันการรุกของการเปลี่ยนแปลงใน
ระบบโลก
3.2 เมื่อชุมชนคลองลัดมะยมเป็นชุมชนที่ประสบความสาเร็จแล้ว การจะสร้างให้เกิดชุมชนที่เข้มแข็ง
อย่างชุมชนคลองลัดมะยมควรทาอย่างไร คณะผู้ศึกษาดูงานได้ประมวลปัจจัยของความสาเร็จมาได้ดังนี้
1) การเริ่มต้นในการรวมตัวของชุมชนจะต้องมีผู้นาชุมชมที่เข้มแข็งเป็นศูนย์กลาง โดยวิสัยทัศน์
ของลุงชวนที่เป็นปัจจัยความสาเร็จที่สาคัญที่สุดก็คือกรอบแนวคิด (Mindset) ที่เชื่อว่าการเรียนรู้ไม่มีวันจบสิ้น
ไม่ใช่รู้เจาะลึกเพียงเรื่องเดียวแต่ต้องเรียนรู้ภาพกว้าง และต้องเรียนรู้ไปตลอดชีวิต และค่านิยมที่ว่าชุมชนควร
ช่วยเหลือตนเองก่อน ไม่คอยแต่รอความช่วยเหลือจากรัฐ แน่นอนว่า ความช่วยเหลือจากรัฐบางประการนั้นจาเป็น
แต่ชุมชนก็ควรพยายามช่วยตนเองเท่าที่พอจะทาได้ ทั้งหมดนี้เป็นจุดแข็งพื้นฐานที่ทาให้ลุงชวนสามารถเป็นผู้
นาพาชุมชนคลองลัดมะยมไปสู่ความสาเร็จ และวิสัยทัศน์ในมองเห็นภาพรวมที่จะเกิดขึ้นตามมาหลังการก่อตั้ง
ตลาด และทัศนคติที่เปิดต่อการบริหารงานในลักษณะใหม่ๆ เช่น การเรียนรู้เทคโนโลยีใหม่ๆ เพื่อปรับตนและ
ชุมชนให้สอดคล้องกับบริบทของการเปลี่ยนแปลงในสังคมปัจจุบัน
2) เงื่อนไขสาคัญในกระบวนการรวมตัวของชุมชนคือจะต้องกาหนดเป้าหมาย (Agenda) และ
วัตถุประสงค์หรือค่านิยม (Core Value) ที่สอดคล้องกับผลประโยชน์ของชุมชนที่เป็นรูปธรรม และต้องมีการ
กาหนดขอบเขตความรับผิดชอบ (Shared Responsibilities) ระหว่างสมาชิกในชุมชนให้ชัดเจน และสมาชิกใน
ชุมชนต้องมีส่วนร่วมในกระบวนการดังกล่าว สาหรับชุมชนคลองลัดมะยมปัจจัยที่ทาให้ประสบความสาเร็จมาจาก
แนวคิดว่า “จะต้องคิดใหญ่ แต่เริ่มทาเล็กๆ เริ่มจากตัวเอง ไปสู่จานวน 2-3-4...จนคนส่วนใหญ่ร่วมด้วย” และ
9
ขยายแนวคิดต่อในระดับที่ใหญ่ขึ้น คือ “ตัวเราคือโลก-โลกคือตัวเรา, ตัวเราคือประเทศ-ประเทศคือตัวเรา”
ตัวอย่างเช่น ระหว่างชุมชนกับธนาคารออมสินและฝ่ายที่สาม (นักศึกษาหรือ อาสาสมัคร) ระหว่างชุมชนกับรัฐ
3) เมื่อมีการรวมตัวกันแล้ว สิ่งต่อมาก็คือความยั่งยืนในการดาเนินการ ดังเช่น ข้อกังวลของ
ธนาคารออมสินถึงความต่อเนื่องในการดาเนินงานในระยะยาวที่ยังไม่สามารถถ่ายทอดค่านิยมจากรุ่นสู่รุ่นได้ และ
การสร้างระบบการจัดการที่ไม่ขึ้นกับตัวบุคคล ซึ่งชุมชนคลองลัดมะยมได้เลือกที่จะจดทะเบียนเป็นสหกรณ์ ซึ่งก็ยัง
ไม่แน่นอนว่ารูปแบบดังกล่าวจะเหมาะสมกับการบริหารจัดการของชุมชนคลองลัดมะยมในระยะยาวหรือไม่
4. บทเรียนชุมชนคลองลัดมะยมสู่การเปลี่ยนกระบวนทัศน์ และข้อเสนอแนะเบืองต้น
จากข้อสังเกตที่ได้จากการดาเนินงานของชุมชนคลองลัดมะยมจะเห็นได้ว่าปัจจัยความสาเร็จคือ
การมีผู้นาชุมชนที่เข้มแข็ง การกาหนดเป้าหมายและค่านิยมร่วมกันระหว่างสมาชิกในชุมชนที่เป็นรูปธรรม และ
การสร้างความยั่งยืน ดังนั้น คาถามในการบริหารรัฐกิจสาหรับผู้กาหนดนโยบายหรือผู้นานโยบายไปปฏิบัติอาจมีว่า
จะกาหนดแนวทางการบริหารภาครัฐอย่างไรเพื่อสนับสนุนให้เกิดชุมชนที่เข้มแข็งอย่างชุมชนคลองลัดมะยม เช่น
ควรมีการสร้างผู้นาชุมชนให้เกิดขึ้นควรจะมีกลไกภาครัฐอะไรในการสร้างผู้นาชุมชน และผู้นาชุมชนที่พึงประสงค์
ควรมีลักษณะอย่างไร และอะไรจะเป็นปัจจัยสนับสนุนให้เกิดผู้นาชุมชนในลักษณะนี้ การสร้างรูปแบบที่เหมาะสม
ที่รองรับการดาเนินงานของชุมชนจะเป็นอย่างไร
คาถามดังกล่าวจะสะท้อนกลับชุมชนทางวิชาการด้านรัฐประศานศาสตร์ว่าจะสร้างกรอบ สร้างเครื่องมือ
เพื่อมาผลิตองค์ความรู้ให้หน่วยงานภาครัฐหรือชุมชนไปใช้ประโยชน์อย่างไร โดยในเบื้องต้น คณะผู้ศึกษาดูงานได้มี
แนวคิดดังนี้
4.1. การบริหารงานภาครัฐควรอยู่บนกระบวนทัศน์ใหม่ (New Paradigm)
แนวคิดการบริหารภาครัฐที่อยู่ในกระบวนทัศน์ Old Public Administration หรือการบริหารที่
รวมศูนย์อานาจไว้ที่ภาครัฐและสั่งมาที่ประชาชน หรือกรอบแนวคิดการบริหารแบบ New Public Management
ซึ่งมองประชาชนเป็นลูกค้าที่มาซื้อบริการนั้น ไม่สนับสนุนต่อการสร้างให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการดูแลตนเอง
หรือการสร้างให้ชุมชนเข้มแข็ง การบริหารงานภาครัฐควรอยู่บนกระบวนทัศน์ใหม่คือ “Civil Public
Management” หรือรัฐประสานศาสตร์พลเมือง หรือการบริหารงานภาครัฐที่สร้างให้ประชาชนกลายเป็นพลเมือง
ที่ดูแลตัวเองได้ ซึ่งจะต้องเป็นสาขาการศึกษาที่ค้นคว้ากันต่อไป
4.2 การท้างานของหน่วยงานภาครัฐควรต้องมุ่งไปที่ประโยชน์ในระยะยาว และเป็นไปในลักษณะ
การมีส่วนร่วม
การสร้างความเข้มแข็งให้กับชุมชนเป็นเรื่องที่ใช้เวลา หากหน่วยงานภาครัฐไปเร่งรัดให้เกิด
ความสาเร็จโดยเร็วจนเกินไปก็จะเป็นการบริหารงานในกระบวนทัศน์ Old Public Administration และไม่ทาให้
เกิดการบริหารงานที่สร้างพลเมืองที่ดูแลตัวเองได้ และต้องทางานในลักษณะผู้มีส่วนร่วมมากกว่าผู้สั่งการ เช่น
ธนาคารออมสินอาจมีนโยบายที่ด้านชุมชนที่ชัดเจนและแยกให้ชัดระหว่างการดาเนินการด้านการพัฒนา หรือด้าน
ธุรกิจปกติ เพื่อสนับสนุนบทบาทกลไกของรัฐให้ชัดเจน และไม่ควรเอาพันธกิจด้านที่เป็นธุรกิจไปใช้กับชุมชนใน
10
เวลาที่ชุมชนยังไม่พร้อม รวมถึงให้ธนาคารสาขาออมสินซึ่งอยู่ในชุมชนหรือพื้นที่เดียวกันอย่างใกล้ชิดเป็นพี่เลี้ยง
กลุ่มอย่างต่อเนื่อง
4.3 การบูรณการการท้างานของภาครัฐโดยชุมชน
จากตัวอย่างชุมชนคลองลัดมะยมจะเห็นได้ว่ามีหน่วยงานภาครัฐไปเกี่ยวข้องด้วยหลายหน่วย ซึ่ง
ปกติจะไม่มีกลไกที่เป็นทางการในการร่วมกันทางาน ในอนาคตอาจมีการพัฒนาชุมชนให้เป็นศูนย์กลางการบูรณา
การของภาครัฐในการทางาน โดยอาจมีกฎหมาย หรือกฎระเบียบมารองรับ
11
รายชื่อผู้เข้าร่วมศึกษาดูงานจากสถาบันรัฐประศาสนศาสตร์
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
ผู้บริหารสถาบันรัฐประศาสนศาสตร์
ศ.ดร. สมบูรณ์ สุขสาราญ คณบดีสถาบันรัฐประศาสนศาสตร์
นักศึกษาหลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิตสาขารัฐประศาสนศาสตร์
1. นายสมปอง สงวนบรรพ์
2. นางสาวอิศรา ถาวรพิชญไชย
3. นางสาวเจ จันทร์ศุภฤกษ์
4. นายลัทธจิตร มีรักษ์
5. นาย นพดล สอดแสงอรุณงาม
6. พลเอก สราวุฒิ ชลออยู่
7. พลเอก สุรสิทธิ์ ถนัดทาง
8. นางสาว ยุวดี คาดการณ์ไกล
9. นางสาวเพ็ญจันทร์ ล้อสีทอง
10.นาย ปณิธาน สุขสาราญ
11.พันตารวจโท อภิวัจน์ พัชราพรภิญโย
12. น.ส.มิรันตี พจนสุภาณ
13. นายพลัฏฐ์ ยิ้มประเสริฐ
14.นาย วงศ์สถิตย์ บุญธัญกรณ์
15.นาย วรพล ถังทอง
16.น.ส. อุไรวรรณ แมะบ้าน
17.นาย ภัทรดนัย ใต้ไธสง
18.นางสาว อรุณี อินเทพ
19. นายธานี สุโชดายน

More Related Content

What's hot

แนะนำโรงเรียน.Ppt
แนะนำโรงเรียน.Pptแนะนำโรงเรียน.Ppt
แนะนำโรงเรียน.Ppt
อ๋อ จ้า
 
งานนำเสนอลิลิตเตลงพ่าย
งานนำเสนอลิลิตเตลงพ่ายงานนำเสนอลิลิตเตลงพ่าย
งานนำเสนอลิลิตเตลงพ่าย
Santichon Islamic School
 
แบบทดสอบก่อนเรียน 2
แบบทดสอบก่อนเรียน 2แบบทดสอบก่อนเรียน 2
แบบทดสอบก่อนเรียน 2
สุรพงษ์ อนันต์ธนสาร
 
แผ่นพับทัศนศึกษาอยุธยา
แผ่นพับทัศนศึกษาอยุธยาแผ่นพับทัศนศึกษาอยุธยา
แผ่นพับทัศนศึกษาอยุธยา
naipingpun
 
Part1 ความเชื่อ และ วิทยาศาสตร์ ในสังคมไทย
Part1 ความเชื่อ และ วิทยาศาสตร์ ในสังคมไทยPart1 ความเชื่อ และ วิทยาศาสตร์ ในสังคมไทย
Part1 ความเชื่อ และ วิทยาศาสตร์ ในสังคมไทย
wiriya kosit
 
บทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐานบทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐาน
pop Jaturong
 
แผนการสอนสเปกตรัมและแบบจำลองอะตอมของโบร์ ว 30221
แผนการสอนสเปกตรัมและแบบจำลองอะตอมของโบร์	ว 30221แผนการสอนสเปกตรัมและแบบจำลองอะตอมของโบร์	ว 30221
แผนการสอนสเปกตรัมและแบบจำลองอะตอมของโบร์ ว 30221Piyawan Thoosinkaen
 
ข้อสอบ o-net 53 สังคมศึกษา
ข้อสอบ o-net 53 สังคมศึกษาข้อสอบ o-net 53 สังคมศึกษา
ข้อสอบ o-net 53 สังคมศึกษา
Peera Chumintharajak
 
รสวรรณคดี ม.1
รสวรรณคดี ม.1รสวรรณคดี ม.1
รสวรรณคดี ม.1
ชาญณรงค์ ขันเงิน
 
Key of 4 การสถาปนาอยุธยา-57
Key of 4 การสถาปนาอยุธยา-57Key of 4 การสถาปนาอยุธยา-57
Key of 4 การสถาปนาอยุธยา-57Pracha Wongsrida
 
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันอัง
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันอังเทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันอัง
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันอังpattaranit
 
หัวใจชายหนุ่ม
หัวใจชายหนุ่มหัวใจชายหนุ่ม
หัวใจชายหนุ่ม
kkrunuch
 
ห้องสีขาว 1.1
ห้องสีขาว 1.1ห้องสีขาว 1.1
ห้องสีขาว 1.1
peter dontoom
 
การวางแผนกำลังคน Manpower planning
การวางแผนกำลังคน Manpower planningการวางแผนกำลังคน Manpower planning
การวางแผนกำลังคน Manpower planning
Jirasap Kijakarnsangworn
 
แบบทดสอบเสียงในภาษา
แบบทดสอบเสียงในภาษาแบบทดสอบเสียงในภาษา
แบบทดสอบเสียงในภาษา
Piyarerk Bunkoson
 
ใบงาน 8.1 8.2
ใบงาน 8.1 8.2ใบงาน 8.1 8.2
ใบงาน 8.1 8.2
oraneehussem
 
โครงงานIs3
โครงงานIs3โครงงานIs3
โครงงานIs3
Arisa Srising
 

What's hot (20)

แนะนำโรงเรียน.Ppt
แนะนำโรงเรียน.Pptแนะนำโรงเรียน.Ppt
แนะนำโรงเรียน.Ppt
 
อินธนูครู
อินธนูครูอินธนูครู
อินธนูครู
 
งานนำเสนอลิลิตเตลงพ่าย
งานนำเสนอลิลิตเตลงพ่ายงานนำเสนอลิลิตเตลงพ่าย
งานนำเสนอลิลิตเตลงพ่าย
 
แบบทดสอบก่อนเรียน 2
แบบทดสอบก่อนเรียน 2แบบทดสอบก่อนเรียน 2
แบบทดสอบก่อนเรียน 2
 
แผ่นพับทัศนศึกษาอยุธยา
แผ่นพับทัศนศึกษาอยุธยาแผ่นพับทัศนศึกษาอยุธยา
แผ่นพับทัศนศึกษาอยุธยา
 
Part1 ความเชื่อ และ วิทยาศาสตร์ ในสังคมไทย
Part1 ความเชื่อ และ วิทยาศาสตร์ ในสังคมไทยPart1 ความเชื่อ และ วิทยาศาสตร์ ในสังคมไทย
Part1 ความเชื่อ และ วิทยาศาสตร์ ในสังคมไทย
 
บทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐานบทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐาน
 
แผนการสอนสเปกตรัมและแบบจำลองอะตอมของโบร์ ว 30221
แผนการสอนสเปกตรัมและแบบจำลองอะตอมของโบร์	ว 30221แผนการสอนสเปกตรัมและแบบจำลองอะตอมของโบร์	ว 30221
แผนการสอนสเปกตรัมและแบบจำลองอะตอมของโบร์ ว 30221
 
ข้อสอบ o-net 53 สังคมศึกษา
ข้อสอบ o-net 53 สังคมศึกษาข้อสอบ o-net 53 สังคมศึกษา
ข้อสอบ o-net 53 สังคมศึกษา
 
รสวรรณคดี ม.1
รสวรรณคดี ม.1รสวรรณคดี ม.1
รสวรรณคดี ม.1
 
Key of 4 การสถาปนาอยุธยา-57
Key of 4 การสถาปนาอยุธยา-57Key of 4 การสถาปนาอยุธยา-57
Key of 4 การสถาปนาอยุธยา-57
 
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันอัง
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันอังเทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันอัง
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันอัง
 
หัวใจชายหนุ่ม
หัวใจชายหนุ่มหัวใจชายหนุ่ม
หัวใจชายหนุ่ม
 
ห้องสีขาว 1.1
ห้องสีขาว 1.1ห้องสีขาว 1.1
ห้องสีขาว 1.1
 
การวางแผนกำลังคน Manpower planning
การวางแผนกำลังคน Manpower planningการวางแผนกำลังคน Manpower planning
การวางแผนกำลังคน Manpower planning
 
แบบทดสอบเสียงในภาษา
แบบทดสอบเสียงในภาษาแบบทดสอบเสียงในภาษา
แบบทดสอบเสียงในภาษา
 
ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]
ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]
ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]
 
คำนำ
คำนำคำนำ
คำนำ
 
ใบงาน 8.1 8.2
ใบงาน 8.1 8.2ใบงาน 8.1 8.2
ใบงาน 8.1 8.2
 
โครงงานIs3
โครงงานIs3โครงงานIs3
โครงงานIs3
 

Similar to กระบวนทัศน์ใหม่ของรัฐประศาสนศาสตร์ : การถอดบทเรียนจากตลาดน้ำชุมชนคลองลัดมะยม

หัวข้อ การอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อการเก็บและวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพ
หัวข้อ การอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อการเก็บและวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพหัวข้อ การอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อการเก็บและวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพ
หัวข้อ การอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อการเก็บและวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพ
Weerachat Martluplao
 
รายงานการเข้าร่วมประชุมปฏิบัติการ Inspiring science
รายงานการเข้าร่วมประชุมปฏิบัติการ Inspiring scienceรายงานการเข้าร่วมประชุมปฏิบัติการ Inspiring science
รายงานการเข้าร่วมประชุมปฏิบัติการ Inspiring scienceWorrachet Boonyong
 
Abc
AbcAbc
ประวัติอไ..
ประวัติอไ..ประวัติอไ..
ประวัติอไ..
Lib Rru
 
ประวัติอไ..
ประวัติอไ..ประวัติอไ..
ประวัติอไ..
Librru Phrisit
 
ประวัติอไ..
ประวัติอไ..ประวัติอไ..
ประวัติอไ..
Librru Phrisit
 
สาขาที่สนใจ
สาขาที่สนใจสาขาที่สนใจ
สาขาที่สนใจ
puppypingpong
 
ระเบียบ+ครุย มจร
ระเบียบ+ครุย มจรระเบียบ+ครุย มจร
ระเบียบ+ครุย มจรpentanino
 
ประเพณ ผีตาโขน Is ทั้งงหมด ม.3/1 เลขที่ 8,13,36 (แก้)
ประเพณ ผีตาโขน Is ทั้งงหมด ม.3/1 เลขที่ 8,13,36 (แก้)ประเพณ ผีตาโขน Is ทั้งงหมด ม.3/1 เลขที่ 8,13,36 (แก้)
ประเพณ ผีตาโขน Is ทั้งงหมด ม.3/1 เลขที่ 8,13,36 (แก้)Thakhantha
 
ประเพณ ผีตาโขน Is ทั้งงหมด ม.3/1 เลขที่ 8,13,36
ประเพณ ผีตาโขน Is ทั้งงหมด ม.3/1 เลขที่ 8,13,36 ประเพณ ผีตาโขน Is ทั้งงหมด ม.3/1 เลขที่ 8,13,36
ประเพณ ผีตาโขน Is ทั้งงหมด ม.3/1 เลขที่ 8,13,36 Thakhantha
 
การวางแผนกิจกรรมรับน้อง คณะมนุษยศาสตร์ ฯ มรภ.เลย
การวางแผนกิจกรรมรับน้อง คณะมนุษยศาสตร์ ฯ มรภ.เลย การวางแผนกิจกรรมรับน้อง คณะมนุษยศาสตร์ ฯ มรภ.เลย
การวางแผนกิจกรรมรับน้อง คณะมนุษยศาสตร์ ฯ มรภ.เลย
Passakorn Tuaprakhon
 
Ebook semina 2 jul 09
Ebook semina 2 jul 09Ebook semina 2 jul 09
Ebook semina 2 jul 09Kasem S. Mcu
 
ประกาศ ผู้ประเมิน รอบที่ 4
ประกาศ ผู้ประเมิน รอบที่ 4ประกาศ ผู้ประเมิน รอบที่ 4
ประกาศ ผู้ประเมิน รอบที่ 4Pochchara Tiamwong
 
โรงเรียนบ้านดงหวาย
โรงเรียนบ้านดงหวายโรงเรียนบ้านดงหวาย
โรงเรียนบ้านดงหวายpeerapong715
 
โรงเรียนบ้านดงหวาย
โรงเรียนบ้านดงหวายโรงเรียนบ้านดงหวาย
โรงเรียนบ้านดงหวายpeerapong14
 
โรงเรียนบ้านดงหวาย
โรงเรียนบ้านดงหวายโรงเรียนบ้านดงหวาย
โรงเรียนบ้านดงหวายpeerapong715
 
ท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม เส้นทางอารยธรรมล้านนา
ท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม เส้นทางอารยธรรมล้านนาท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม เส้นทางอารยธรรมล้านนา
ท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม เส้นทางอารยธรรมล้านนา
Korawan Sangkakorn
 

Similar to กระบวนทัศน์ใหม่ของรัฐประศาสนศาสตร์ : การถอดบทเรียนจากตลาดน้ำชุมชนคลองลัดมะยม (20)

หัวข้อ การอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อการเก็บและวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพ
หัวข้อ การอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อการเก็บและวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพหัวข้อ การอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อการเก็บและวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพ
หัวข้อ การอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อการเก็บและวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพ
 
รายงานการเข้าร่วมประชุมปฏิบัติการ Inspiring science
รายงานการเข้าร่วมประชุมปฏิบัติการ Inspiring scienceรายงานการเข้าร่วมประชุมปฏิบัติการ Inspiring science
รายงานการเข้าร่วมประชุมปฏิบัติการ Inspiring science
 
Abc
AbcAbc
Abc
 
ประวัติอไ..
ประวัติอไ..ประวัติอไ..
ประวัติอไ..
 
ประวัติอไ..
ประวัติอไ..ประวัติอไ..
ประวัติอไ..
 
ประวัติอไ..
ประวัติอไ..ประวัติอไ..
ประวัติอไ..
 
สาขาที่สนใจ
สาขาที่สนใจสาขาที่สนใจ
สาขาที่สนใจ
 
ระเบียบ+ครุย มจร
ระเบียบ+ครุย มจรระเบียบ+ครุย มจร
ระเบียบ+ครุย มจร
 
ประเพณ ผีตาโขน Is ทั้งงหมด ม.3/1 เลขที่ 8,13,36 (แก้)
ประเพณ ผีตาโขน Is ทั้งงหมด ม.3/1 เลขที่ 8,13,36 (แก้)ประเพณ ผีตาโขน Is ทั้งงหมด ม.3/1 เลขที่ 8,13,36 (แก้)
ประเพณ ผีตาโขน Is ทั้งงหมด ม.3/1 เลขที่ 8,13,36 (แก้)
 
ประเพณ ผีตาโขน Is ทั้งงหมด ม.3/1 เลขที่ 8,13,36
ประเพณ ผีตาโขน Is ทั้งงหมด ม.3/1 เลขที่ 8,13,36 ประเพณ ผีตาโขน Is ทั้งงหมด ม.3/1 เลขที่ 8,13,36
ประเพณ ผีตาโขน Is ทั้งงหมด ม.3/1 เลขที่ 8,13,36
 
การวางแผนกิจกรรมรับน้อง คณะมนุษยศาสตร์ ฯ มรภ.เลย
การวางแผนกิจกรรมรับน้อง คณะมนุษยศาสตร์ ฯ มรภ.เลย การวางแผนกิจกรรมรับน้อง คณะมนุษยศาสตร์ ฯ มรภ.เลย
การวางแผนกิจกรรมรับน้อง คณะมนุษยศาสตร์ ฯ มรภ.เลย
 
Occ03
Occ03Occ03
Occ03
 
Ebook semina 2 jul 09
Ebook semina 2 jul 09Ebook semina 2 jul 09
Ebook semina 2 jul 09
 
ประกาศ ผู้ประเมิน รอบที่ 4
ประกาศ ผู้ประเมิน รอบที่ 4ประกาศ ผู้ประเมิน รอบที่ 4
ประกาศ ผู้ประเมิน รอบที่ 4
 
แนะนำทุน พสวท.
แนะนำทุน พสวท.แนะนำทุน พสวท.
แนะนำทุน พสวท.
 
โรงเรียนบ้านดงหวาย
โรงเรียนบ้านดงหวายโรงเรียนบ้านดงหวาย
โรงเรียนบ้านดงหวาย
 
โรงเรียนบ้านดงหวาย
โรงเรียนบ้านดงหวายโรงเรียนบ้านดงหวาย
โรงเรียนบ้านดงหวาย
 
โรงเรียนบ้านดงหวาย
โรงเรียนบ้านดงหวายโรงเรียนบ้านดงหวาย
โรงเรียนบ้านดงหวาย
 
ท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม เส้นทางอารยธรรมล้านนา
ท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม เส้นทางอารยธรรมล้านนาท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม เส้นทางอารยธรรมล้านนา
ท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม เส้นทางอารยธรรมล้านนา
 
Chang work 31 1-56.
Chang work 31 1-56.Chang work 31 1-56.
Chang work 31 1-56.
 

More from FURD_RSU

เมืองตะโหมด ต้นแบบการสร้างสุขภาวะเด็กเล็ก
เมืองตะโหมด ต้นแบบการสร้างสุขภาวะเด็กเล็กเมืองตะโหมด ต้นแบบการสร้างสุขภาวะเด็กเล็ก
เมืองตะโหมด ต้นแบบการสร้างสุขภาวะเด็กเล็ก
FURD_RSU
 
FURD SUMMIT 2019 นวัตกรรมสร้างสรรค์เมืองสุขภาวะ
FURD SUMMIT 2019 นวัตกรรมสร้างสรรค์เมืองสุขภาวะFURD SUMMIT 2019 นวัตกรรมสร้างสรรค์เมืองสุขภาวะ
FURD SUMMIT 2019 นวัตกรรมสร้างสรรค์เมืองสุขภาวะ
FURD_RSU
 
เมืองบางคูรัด การสร้างสุขภาวะเมืองด้วยนวัตกรรมชุมชนเกื้อกูล
เมืองบางคูรัด การสร้างสุขภาวะเมืองด้วยนวัตกรรมชุมชนเกื้อกูลเมืองบางคูรัด การสร้างสุขภาวะเมืองด้วยนวัตกรรมชุมชนเกื้อกูล
เมืองบางคูรัด การสร้างสุขภาวะเมืองด้วยนวัตกรรมชุมชนเกื้อกูล
FURD_RSU
 
เมืองหนองป่าครั่ง: การสร้างเมืองสุขภาวะด้วยแนวคิดการจัดสวัสดิการสังคม
เมืองหนองป่าครั่ง: การสร้างเมืองสุขภาวะด้วยแนวคิดการจัดสวัสดิการสังคมเมืองหนองป่าครั่ง: การสร้างเมืองสุขภาวะด้วยแนวคิดการจัดสวัสดิการสังคม
เมืองหนองป่าครั่ง: การสร้างเมืองสุขภาวะด้วยแนวคิดการจัดสวัสดิการสังคม
FURD_RSU
 
เมืองป่าตอง: การสร้างสุขภาวะเมืองท่องเที่ยวระดับโลก อย่างมีส่วนร่วม
เมืองป่าตอง: การสร้างสุขภาวะเมืองท่องเที่ยวระดับโลก อย่างมีส่วนร่วมเมืองป่าตอง: การสร้างสุขภาวะเมืองท่องเที่ยวระดับโลก อย่างมีส่วนร่วม
เมืองป่าตอง: การสร้างสุขภาวะเมืองท่องเที่ยวระดับโลก อย่างมีส่วนร่วม
FURD_RSU
 
นครเชียงราย: มหาวิทยาลัยวัยที่สาม : การพัฒนาผู้สูงอายุ สู่การพัฒนาเศรษฐกิจและ...
นครเชียงราย: มหาวิทยาลัยวัยที่สาม : การพัฒนาผู้สูงอายุ สู่การพัฒนาเศรษฐกิจและ...นครเชียงราย: มหาวิทยาลัยวัยที่สาม : การพัฒนาผู้สูงอายุ สู่การพัฒนาเศรษฐกิจและ...
นครเชียงราย: มหาวิทยาลัยวัยที่สาม : การพัฒนาผู้สูงอายุ สู่การพัฒนาเศรษฐกิจและ...
FURD_RSU
 
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 16
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 16FURD Cities Monitor ฉบับที่ 16
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 16
FURD_RSU
 
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 15
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 15FURD Cities Monitor ฉบับที่ 15
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 15
FURD_RSU
 
เมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อม
เมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อมเมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อม
เมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อม
FURD_RSU
 
อี้อู (义乌) เมืองการค้าโลก การพัฒนาเมืองตอนใน สู่เมืองการค้าโลก
อี้อู (义乌) เมืองการค้าโลก การพัฒนาเมืองตอนใน สู่เมืองการค้าโลกอี้อู (义乌) เมืองการค้าโลก การพัฒนาเมืองตอนใน สู่เมืองการค้าโลก
อี้อู (义乌) เมืองการค้าโลก การพัฒนาเมืองตอนใน สู่เมืองการค้าโลก
FURD_RSU
 
Info graphic ยะลาโมเดล การจัดการเมืองเพื่อสันติสุข
Info graphic ยะลาโมเดล การจัดการเมืองเพื่อสันติสุขInfo graphic ยะลาโมเดล การจัดการเมืองเพื่อสันติสุข
Info graphic ยะลาโมเดล การจัดการเมืองเพื่อสันติสุข
FURD_RSU
 
info graphic เชียงใหม่โมเดล พลังพลเมือง
info graphic เชียงใหม่โมเดล พลังพลเมืองinfo graphic เชียงใหม่โมเดล พลังพลเมือง
info graphic เชียงใหม่โมเดล พลังพลเมือง
FURD_RSU
 
info graphic นิยามของมรดกเมือง
info graphic นิยามของมรดกเมืองinfo graphic นิยามของมรดกเมือง
info graphic นิยามของมรดกเมือง
FURD_RSU
 
Info graphic ความเป็นเมืองของประเทศไทย
Info graphic ความเป็นเมืองของประเทศไทยInfo graphic ความเป็นเมืองของประเทศไทย
Info graphic ความเป็นเมืองของประเทศไทย
FURD_RSU
 
วิจัย สุมหัวกันในที่ที่สาม กระบวนการตามหาชุมชนทางวัฒนธรรมของคนรุ่นใหม่ในนครตรัง
วิจัย สุมหัวกันในที่ที่สาม กระบวนการตามหาชุมชนทางวัฒนธรรมของคนรุ่นใหม่ในนครตรังวิจัย สุมหัวกันในที่ที่สาม กระบวนการตามหาชุมชนทางวัฒนธรรมของคนรุ่นใหม่ในนครตรัง
วิจัย สุมหัวกันในที่ที่สาม กระบวนการตามหาชุมชนทางวัฒนธรรมของคนรุ่นใหม่ในนครตรัง
FURD_RSU
 
เมืองแม่มอก การสร้าง Care Giver ดูแลผู้สูงอายุโดยภาคประชาสังคม
เมืองแม่มอก การสร้าง Care Giver ดูแลผู้สูงอายุโดยภาคประชาสังคมเมืองแม่มอก การสร้าง Care Giver ดูแลผู้สูงอายุโดยภาคประชาสังคม
เมืองแม่มอก การสร้าง Care Giver ดูแลผู้สูงอายุโดยภาคประชาสังคม
FURD_RSU
 
FURD CITIES MONITOR VOL.14 (JANUARY 2019)
FURD CITIES MONITOR VOL.14 (JANUARY 2019)FURD CITIES MONITOR VOL.14 (JANUARY 2019)
FURD CITIES MONITOR VOL.14 (JANUARY 2019)
FURD_RSU
 
โมเดลการดูแลสุขภาพในเขตเมือง เมืองรอบพื้นที่อุตสาหกรรม แหลมฉบัง จ.ชลบุรี
โมเดลการดูแลสุขภาพในเขตเมือง เมืองรอบพื้นที่อุตสาหกรรม แหลมฉบัง จ.ชลบุรีโมเดลการดูแลสุขภาพในเขตเมือง เมืองรอบพื้นที่อุตสาหกรรม แหลมฉบัง จ.ชลบุรี
โมเดลการดูแลสุขภาพในเขตเมือง เมืองรอบพื้นที่อุตสาหกรรม แหลมฉบัง จ.ชลบุรี
FURD_RSU
 
FURD CITIES MONITOR VOL.13 (DECEMBER 2018)
FURD CITIES MONITOR VOL.13 (DECEMBER 2018)FURD CITIES MONITOR VOL.13 (DECEMBER 2018)
FURD CITIES MONITOR VOL.13 (DECEMBER 2018)
FURD_RSU
 
Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...
Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...
Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...
FURD_RSU
 

More from FURD_RSU (20)

เมืองตะโหมด ต้นแบบการสร้างสุขภาวะเด็กเล็ก
เมืองตะโหมด ต้นแบบการสร้างสุขภาวะเด็กเล็กเมืองตะโหมด ต้นแบบการสร้างสุขภาวะเด็กเล็ก
เมืองตะโหมด ต้นแบบการสร้างสุขภาวะเด็กเล็ก
 
FURD SUMMIT 2019 นวัตกรรมสร้างสรรค์เมืองสุขภาวะ
FURD SUMMIT 2019 นวัตกรรมสร้างสรรค์เมืองสุขภาวะFURD SUMMIT 2019 นวัตกรรมสร้างสรรค์เมืองสุขภาวะ
FURD SUMMIT 2019 นวัตกรรมสร้างสรรค์เมืองสุขภาวะ
 
เมืองบางคูรัด การสร้างสุขภาวะเมืองด้วยนวัตกรรมชุมชนเกื้อกูล
เมืองบางคูรัด การสร้างสุขภาวะเมืองด้วยนวัตกรรมชุมชนเกื้อกูลเมืองบางคูรัด การสร้างสุขภาวะเมืองด้วยนวัตกรรมชุมชนเกื้อกูล
เมืองบางคูรัด การสร้างสุขภาวะเมืองด้วยนวัตกรรมชุมชนเกื้อกูล
 
เมืองหนองป่าครั่ง: การสร้างเมืองสุขภาวะด้วยแนวคิดการจัดสวัสดิการสังคม
เมืองหนองป่าครั่ง: การสร้างเมืองสุขภาวะด้วยแนวคิดการจัดสวัสดิการสังคมเมืองหนองป่าครั่ง: การสร้างเมืองสุขภาวะด้วยแนวคิดการจัดสวัสดิการสังคม
เมืองหนองป่าครั่ง: การสร้างเมืองสุขภาวะด้วยแนวคิดการจัดสวัสดิการสังคม
 
เมืองป่าตอง: การสร้างสุขภาวะเมืองท่องเที่ยวระดับโลก อย่างมีส่วนร่วม
เมืองป่าตอง: การสร้างสุขภาวะเมืองท่องเที่ยวระดับโลก อย่างมีส่วนร่วมเมืองป่าตอง: การสร้างสุขภาวะเมืองท่องเที่ยวระดับโลก อย่างมีส่วนร่วม
เมืองป่าตอง: การสร้างสุขภาวะเมืองท่องเที่ยวระดับโลก อย่างมีส่วนร่วม
 
นครเชียงราย: มหาวิทยาลัยวัยที่สาม : การพัฒนาผู้สูงอายุ สู่การพัฒนาเศรษฐกิจและ...
นครเชียงราย: มหาวิทยาลัยวัยที่สาม : การพัฒนาผู้สูงอายุ สู่การพัฒนาเศรษฐกิจและ...นครเชียงราย: มหาวิทยาลัยวัยที่สาม : การพัฒนาผู้สูงอายุ สู่การพัฒนาเศรษฐกิจและ...
นครเชียงราย: มหาวิทยาลัยวัยที่สาม : การพัฒนาผู้สูงอายุ สู่การพัฒนาเศรษฐกิจและ...
 
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 16
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 16FURD Cities Monitor ฉบับที่ 16
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 16
 
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 15
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 15FURD Cities Monitor ฉบับที่ 15
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 15
 
เมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อม
เมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อมเมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อม
เมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อม
 
อี้อู (义乌) เมืองการค้าโลก การพัฒนาเมืองตอนใน สู่เมืองการค้าโลก
อี้อู (义乌) เมืองการค้าโลก การพัฒนาเมืองตอนใน สู่เมืองการค้าโลกอี้อู (义乌) เมืองการค้าโลก การพัฒนาเมืองตอนใน สู่เมืองการค้าโลก
อี้อู (义乌) เมืองการค้าโลก การพัฒนาเมืองตอนใน สู่เมืองการค้าโลก
 
Info graphic ยะลาโมเดล การจัดการเมืองเพื่อสันติสุข
Info graphic ยะลาโมเดล การจัดการเมืองเพื่อสันติสุขInfo graphic ยะลาโมเดล การจัดการเมืองเพื่อสันติสุข
Info graphic ยะลาโมเดล การจัดการเมืองเพื่อสันติสุข
 
info graphic เชียงใหม่โมเดล พลังพลเมือง
info graphic เชียงใหม่โมเดล พลังพลเมืองinfo graphic เชียงใหม่โมเดล พลังพลเมือง
info graphic เชียงใหม่โมเดล พลังพลเมือง
 
info graphic นิยามของมรดกเมือง
info graphic นิยามของมรดกเมืองinfo graphic นิยามของมรดกเมือง
info graphic นิยามของมรดกเมือง
 
Info graphic ความเป็นเมืองของประเทศไทย
Info graphic ความเป็นเมืองของประเทศไทยInfo graphic ความเป็นเมืองของประเทศไทย
Info graphic ความเป็นเมืองของประเทศไทย
 
วิจัย สุมหัวกันในที่ที่สาม กระบวนการตามหาชุมชนทางวัฒนธรรมของคนรุ่นใหม่ในนครตรัง
วิจัย สุมหัวกันในที่ที่สาม กระบวนการตามหาชุมชนทางวัฒนธรรมของคนรุ่นใหม่ในนครตรังวิจัย สุมหัวกันในที่ที่สาม กระบวนการตามหาชุมชนทางวัฒนธรรมของคนรุ่นใหม่ในนครตรัง
วิจัย สุมหัวกันในที่ที่สาม กระบวนการตามหาชุมชนทางวัฒนธรรมของคนรุ่นใหม่ในนครตรัง
 
เมืองแม่มอก การสร้าง Care Giver ดูแลผู้สูงอายุโดยภาคประชาสังคม
เมืองแม่มอก การสร้าง Care Giver ดูแลผู้สูงอายุโดยภาคประชาสังคมเมืองแม่มอก การสร้าง Care Giver ดูแลผู้สูงอายุโดยภาคประชาสังคม
เมืองแม่มอก การสร้าง Care Giver ดูแลผู้สูงอายุโดยภาคประชาสังคม
 
FURD CITIES MONITOR VOL.14 (JANUARY 2019)
FURD CITIES MONITOR VOL.14 (JANUARY 2019)FURD CITIES MONITOR VOL.14 (JANUARY 2019)
FURD CITIES MONITOR VOL.14 (JANUARY 2019)
 
โมเดลการดูแลสุขภาพในเขตเมือง เมืองรอบพื้นที่อุตสาหกรรม แหลมฉบัง จ.ชลบุรี
โมเดลการดูแลสุขภาพในเขตเมือง เมืองรอบพื้นที่อุตสาหกรรม แหลมฉบัง จ.ชลบุรีโมเดลการดูแลสุขภาพในเขตเมือง เมืองรอบพื้นที่อุตสาหกรรม แหลมฉบัง จ.ชลบุรี
โมเดลการดูแลสุขภาพในเขตเมือง เมืองรอบพื้นที่อุตสาหกรรม แหลมฉบัง จ.ชลบุรี
 
FURD CITIES MONITOR VOL.13 (DECEMBER 2018)
FURD CITIES MONITOR VOL.13 (DECEMBER 2018)FURD CITIES MONITOR VOL.13 (DECEMBER 2018)
FURD CITIES MONITOR VOL.13 (DECEMBER 2018)
 
Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...
Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...
Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...
 

กระบวนทัศน์ใหม่ของรัฐประศาสนศาสตร์ : การถอดบทเรียนจากตลาดน้ำชุมชนคลองลัดมะยม

  • 2. 2 กระบวนทัศน์ใหม่ของรัฐประศาสนศาสตร์ การถอดบทเรียนจากตลาดน้าชุมชนคลองลัดมะยม รายชื่อคณะผู้จัดท้า 1. ศ.ดร. สมบูรณ์ สุขสาราญ คณบดีสถาบันรัฐประศาสนศาสตร์ 2. นายสมปอง สงวนบรรพ์ คณบดีสถาบันการทูตและการต่างประเทศ 3. นางสาวอิศรา ถาวรพิชญไชย นักศึกษาหลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขารัฐประศาสนศาสตร์ 4. นางสาวเจ จันทร์ศุภฤกษ์ นักศึกษาหลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขารัฐประศาสนศาสตร์ 5. นายลัทธจิตร มีรักษ์ นักศึกษาหลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขารัฐประศาสนศาสตร์ 6. พลเอกสุรสิทธิ์ ถนัดทาง นักศึกษาหลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขารัฐประศาสนศาสตร์ 7. นายพลัฏฐ์ ยิ้มประเสริฐ นักศึกษาหลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขารัฐประศาสนศาสตร์ 8. น.ส.มิรันตี พจนสุภาณ นักศึกษาหลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขารัฐประศาสนศาสตร์ 9. นายปณิธาน สุขสาราญ นักศึกษาหลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขารัฐประศาสนศาสตร์ ปก ณัฐธิดา เย็นบารุง รูปเล่ม ณัฐธิดา เย็นบารุง ปีที่เผยแพร่ กุมภาพันธ์ 2561 เผยแพร่โดย ศูนย์ศึกษามหานครและเมือง วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
  • 3. 3 บทสรุปผู้บริหาร  กระบวนทัศน์ทางรัฐประศาสนศาสตร์เกี่ยวกับชุมชนยังมีขอบเขตที่จากัด สถาบันรัฐประศาสน ศาสตร์ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต จึงมีแนวคิดที่จะเป็นผู้นาในการสารวจพรมแดนใหม่ของการศึกษารัฐ ประศาสนศาสตร์ในด้านชุมชน และได้ไปศึกษาดูงานเก็บข้อมูลที่ชุมชนคลองลัดมะยม  ชุมชนคลองลัดมะยมเดิมประกอบอาชีพเกษตรกรรม และใช้คลองเพื่อการสัญจรและการเกษตร ต่อมามีการตัดถนนจึงทาให้การสัญจรทางน้าของชาวบ้านลดลง ประกอบอาชีพเกษตรกรรมลดลง ทาให้ชาวบ้าน ไม่ร่วมดูแลคลอง จนก่อให้เกิดปัญหาด้านสิ่งแวดล้อม และก่อให้เกิดผลกระทบต่อเกษตรกรในชุมชนด้านเศรษฐกิจ รวมทั้งคุณภาพชีวิตของคนในชุมชนเอง  ต่อมาในปี 2547 นายชวน ชูจันทร์ได้ริเริ่มการฟื้นฟูคลองลัดมะยม โดยตั้งตลาดน้าโดยให้สมาชิกใน ชุมชนนาผลผลิตที่ได้มาแลกเปลี่ยนกันจนตลาดเป็นแหล่งท่องเที่ยวใหม่ในเวลาต่อมา ทาให้สมาชิกมีรายได้จากการ นาผลผลิตในชุมชนมาขาย หรือบริการท่องเที่ยว และคลองก็กลายเป็นทุนของชุมชน สมาชิกในชุมชนจึงกลับมา ร่วมกันดูแลคลองจนมีสภาพดี  เมื่อมีรายได้มากขึ้น ชุมชนได้จัดตั้งสถาบันการเงินชุมชน ซึ่งได้รับการสนับสนุนองค์ความรู้โดย ธนาคารออมสิน ให้สมาชิกมาออมเงินร่วมกัน และนาเงินออมมาปล่อยสินเชื่อแก่สมาชิกเพื่อใช้เป็นแหล่งทุน และ ไปจดทะเบียนเป็นสหกรณ์ เพื่อจะทาให้มีสภาพนิติบุคคลที่มีชุมชนเป็นเจ้าของร่วมกัน และมีโครงสร้างทางการ บริหารที่ชัดเจน ไม่ขึ้นกับตัวบุคคลเพียงอย่างเดียวต่อไป  คณะผู้ศึกษาดูงานได้ข้อสังเกตว่าชุมชนคลองลัดมะยมมีจุดเด่นคือเป็นชุมชนที่เคยได้รับผลกระทบ จากการเปลี่ยนแปลงภายนอกแต่สามารถปรับตัวโดยใช้ชุมชนซึ่งเป็นหน่วยย่อยของสังคมมาพัฒนาร่วมไปกับระบบ ทุนจากภายนอก และได้ประมวลปัจจัยของความสาเร็จมาได้ดังนี้ 1) มีผู้นาชุมชมที่เข้มแข็งเป็นศูนย์กลาง โดยวิสัยทัศน์ที่เป็นปัจจัยความสาเร็จที่สาคัญที่สุดก็คือ กรอบแนวคิด (Mindset) และค่านิยมที่ว่าชุมชนควรช่วยเหลือตนเองก่อน และทัศนคติที่เปิดต่อการบริหารงานใน ลักษณะเปิด 2) มีการกาหนดเป้าหมาย (Agenda) และวัตถุประสงค์หรือค่านิยม (Core Value) ที่สอดคล้อง กับผลประโยชน์ของชุมชนที่เป็นรูปธรรม และต้องมีการกาหนดขอบเขตความรับผิดชอบ (Shared Responsibilities) ระหว่างสมาชิกในชุมชนให้ชัดเจน 3) มีความพยายามจะสร้างความยั่งยืนในการดาเนินงานด้วยการจดทะเบียนเป็นสหกรณ์ ซึ่งก็ยัง ไม่แน่นอนว่ารูปแบบดังกล่าวจะเหมาะสมกับการบริหารจัดการของชุมชนคลองลัดมะยมในระยะยาวหรือไม่
  • 4. 4  บทเรียนชุมชนคลองลัดมะยมสู่การเปลี่ยนกระบวนทัศน์ และข้อเสนอแนะเบืองต้น 1) การบริหารงานภาครัฐควรอยู่บนกระบวนทัศน์ใหม่ (New Paradigm) แนวคิดการบริหารภาครัฐที่อยู่ในกระบวนทัศน์ Old Public Administration หรือการบริหาร ที่รวมศูนย์อานาจไว้ที่ภาครัฐและสั่งมาที่ประชาชน หรือกรอบแนวคิดการบริหารแบบ New Public Management ซึ่งมองประชาชนเป็นลูกค้าที่มาซื้อบริการนั้น ไม่สนับสนุนต่อการสร้างให้ประชาชนมีส่วนร่วมใน การดูแลตนเองหรือการสร้างให้ชุมชนเข้มแข็ง การบริหารงานภาครัฐควรอยู่บนกระบวนทัศน์ใหม่คือ “Civil Public Management” หรือรัฐประสานศาสตร์พลเมือง หรือการบริหารงานภาครัฐที่สร้างให้ประชาชนกลายเป็น พลเมืองที่ดูแลตัวเองได้ ซึ่งจะต้องเป็นสาขาการศึกษาที่ค้นคว้ากันต่อไป 2) การท้างานของหน่วยงานภาครัฐควรต้องมุ่งไปที่ประโยชน์ในระยะยาว และเป็นไปใน ลักษณะการมีส่วนร่วม การสร้างความเข้มแข็งให้กับชุมชนเป็นเรื่องที่ใช้เวลา หากหน่วยงานภาครัฐไปเร่งรัดให้เกิด ความสาเร็จโดยเร็วจนเกินไปก็จะเป็นการบริหารงานในกระบวนทัศน์ Old Public Administration และไม่ทาให้ เกิดการบริหารงานที่สร้างพลเมืองที่ดูแลตัวเองได้ และต้องทางานในลักษณะผู้มีส่วนร่วมมากกว่าผู้สั่งการ เช่น ธนาคารออมสินอาจมีนโยบายที่ด้านชุมชนที่ชัดเจนและแยกให้ชัดระหว่างการดาเนินการด้านการพัฒนา หรือด้าน ธุรกิจปกติ เพื่อสนับสนุนบทบาทกลไกของรัฐให้ชัดเจน และไม่ควรเอาพันธกิจด้านที่เป็นธุรกิจไปใช้กับชุมชนใน เวลาที่ชุมชนยังไม่พร้อม รวมถึงให้ธนาคารสาขาออมสินซึ่งอยู่ในชุมชนหรือพื้นที่เดียวกันอย่างใกล้ชิดเป็นพี่เลี้ยง กลุ่มอย่างต่อเนื่อง 3) การบูรณการการท้างานของภาครัฐโดยชุมชน จากตัวอย่างชุมชนคลองลัดมะยมจะเห็นได้ว่ามีหน่วยงานภาครัฐไปเกี่ยวข้องด้วยหลายหน่วย ซึ่งปกติจะไม่มีกลไกที่เป็นทางการในการร่วมกันทางาน ในอนาคตอาจมีการพัฒนาชุมชนให้เป็นศูนย์กลางการบูร ณาการของภาครัฐในการทางาน โดยอาจมีกฎหมาย หรือกฎระเบียบมารองรับ
  • 5. 5 กระบวนทัศน์ใหม่ของรัฐประศาสนศาสตร์ การถอดบทเรียนจากตลาดน้าชุมชนคลองลัดมะยม ชุมชนถือเป็นรากฐานที่สาคัญของประเทศทั้งทางเศรษฐกิจและสังคมทาให้การพัฒนาให้ชุมชนเข้มแข็ง นั้นถือเป็นกระแสการพัฒนาหลักด้านหนึ่งที่ภาครัฐไทยให้ความสาคัญในระยะหลัง แต่อย่างไรก็ตาม กระบวนทัศน์ ในการศึกษารัฐประศาสนศาสตร์เกี่ยวกับชุมชนยังมีขอบเขตที่จากัด สถาบันรัฐประศาสนศาสตร์ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิตเห็นความสาคัญของการศึกษาถึงการบริหารรัฐกิจในการพัฒนาชุมชนดังกล่าว จึงมีแนวคิดที่จะ เป็นผู้นาในการสารวจพรมแดนใหม่ของการศึกษารัฐประศาสนศาสตร์ในด้านชุมชนในเชิงลึก เพื่อเป็นบ่อเกิดองค์ ความรู้ที่จะนาไปใช้ประโยชน์ในการบริหารบ้านเมืองต่อไป สถาบันรัฐประศาสนศาสตร์จึงได้นาคณะอาจารย์และ นักศึกษาไปศึกษาดูงานเก็บข้อมูลที่ชุมชนคลองลัดมะยม โดยความอนุเคราะห์จากธนาคารออมสิน ซึ่งชุมชนคลอง ลัดมะยมเป็นชุมชนที่สมาชิกร่วมกันพัฒนาชุมชนของตนเอง และต่อยอดมาดาเนินการร่วมกับหน่วยงานภาครัฐ อื่นๆ หัวใจหลักของการพัฒนาชุมชนคลองลัดมะยมก็คือการสร้างตลาดน้าของชุมชนเป็นเครื่องมือหลักในการ พัฒนาเศรษฐกิจ และระบบนิเวศน์ของชุมชนได้อย่างมีประสิทธิภาพ และเป็นการพัฒนาของชุมชนเองเป็นหลัก 1. การพัฒนาของชุมชนคลองลัดมะยม คลองลัดมะยมเป็นคลองสายสาคัญสายหนึ่งในที่แขวงบางระมาด ตลิ่งชัน กรุงเทพมหานคร เขตตลิ่งชัน มีความยาวประมาณ 1 กิโลเมตร และมีชาวบ้านกว่า 600 ครอบครัวอาศัยอยู่ ส่วนใหญ่ประกอบอาชีพ เกษตรกรรม เดิมทีชาวบ้านใช้คลองลัดมะยมเพื่อการสัญจร ต่อมามีการตัดถนนจึงเปลี่ยนมารถยนต์ ทาให้การ สัญจรทางน้าของชาวบ้านลดลงอย่างมาก ชาวบ้านที่เคยประกอบอาชีพเกษตรกรรมก็ลดจานวนลง โดยคนหนุ่ม สาวหันไปประกอบอาชีพอื่นแทน ทาให้คลองลัดมะยมมีความสาคัญน้อยลงไปเรื่อยๆ ชาวบ้านจึงเริ่มไม่สนใจและ ไม่เห็นคุณค่าของคลองลัดมะยม และปล่อยปะละเลยการดูแลคลอง และก่อให้เกิดปัญหา เช่น ด้านสิ่งแวดล้อม : คลองลัดมะยมกลายเป็นแหล่งรวมของขยะ ประกอบกับขาดระบบการจัดการขยะใน ชุมชน ขาดระบบบาบัดน้าเสียและไขมันจากบ้านเรือนริมคลอง ทาให้ชาวบ้านไม่สามารถนาน้ามาใช้ในการอุปโภค บริโภค ทาการเกษตร หรือสัญจรได้ การเปลี่ยนแปลงระบบนิเวศน์ในชุมชน : คลองลัดมะยมถูกลดความสาคัญลงตามที่ได้กล่าวมาแล้ว ชาวบ้านบางส่วนจึงทิ้งอาชีพเกษตรกรรมทาให้วิถีชุมชนริมคลองเปลี่ยนแปลงไป จิตสานึกที่จะเห็นคุณค่าและ ร่วมกันพัฒนาคลองลัดมะยมก็เปลี่ยนไปด้วย ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงระบบนิเวศน์ในชุมชน : ผลจากการที่คุณภาพคลองลัดมะยม เปลี่ยนแปลงไปทาให้ชาวบ้านที่ยังคงประกอบอาชีพเกษตรกรรมและจาเป็นต้องใช้น้าจากคลองเพื่อการเกษตร และใช้คลองเพื่อการคมนาคมขนส่งสินค้า ได้รับผลกระทบทางตรง เช่น ปัญหาการใช้น้าในคลองมาใช้ใน การเกษตร หรือปัญหาในการขนส่งทางน้า นอกจากนี้ การที่สมาชิกในชุมชนเปลี่ยนแปลงอาชีพไปทางานนอก ชุมชนทาให้ระบบตลาดในการจาหน่ายสินค้าของชุมชนลดลง ทั้งด้านผลผลิตหรือสินค้าของชาวบ้านในชุมชนจึงไม่
  • 6. 6 สามารถแข่งขันและเพิ่มมูลค่าได้ และช่องทางในการขายที่ลดลง เศรษฐกิจภายในชุมชนจึงเสื่อมถอยลง และทาให้ ชุมชนเกิดความเชื่อว่าคลองลัดมะยมได้ “ตาย” ไปแล้ว โดยไม่สามารถจะฟื้นฟูได้อีก ต่อมาในปี 2547 นายชวน ชูจันทร์ หรือลุงชวน ประธานตลาดน้าคลองลัดมะยมในปัจจุบัน ได้ตระหนัก ถึงปัญหาด้านต่างๆและยังคงเห็นความสาคัญในการฟื้นฟูคลองลัดมะยม จึงมีแนวคิดที่ต้องการให้ชาวบ้านและคน ทั่วไปหันมาสนใจคลองลัดมะยมอีกครั้งหนึ่ง โดยลุงชวนได้ริเริ่มให้คลองลัดมะยมกลับมามีคุณค่า ความสาคัญและ ใช้ประโยชน์ได้อย่างยั่งยืนได้อีกครั้ง ด้วยการทาเป็นตัวอย่างก่อน เช่น การพายเรือเก็บขยะในคลองคนเดียว วิสัยทัศน์ที่สาคัญของลุงชวน และเป็นเครื่องมือสาคัญของการฟื้นฟูคลองลัดมะยม คือ ตลาดน้า โดยลุง ชวนได้แนวคิดว่าจะต้องสร้างกิจกรรมที่เป็นศูนย์กลางที่สมาชิกในชุมชนได้ประโยชน์ และตระหนักถึงความเป็น เจ้าของ ลุงชวนจึงได้จัดตั้งตลาดน้าขึ้นมา โดยให้สมาชิกในชุมชนนาผลผลิตที่ได้มาแลกเปลี่ยนกันในที่ดินของ ตัวเองก่อน และเก็บค่าเช่าในราคาถูก ในระยะแรกได้ผลสาเร็จไม่มากนัก เนื่องจากมีจานวนผู้ขายน้อย แต่เมื่อเวลา ผ่านไปสมาชิกในชุมชนนาผลผลิตการเกษตรที่ได้จากในชุมชนมาแลกเปลี่ยนกันมากขึ้น ตลาดจึงมีขนาดใหญ่ขึ้น และสามารถทาให้คนกรุงเทพฯ ที่อยู่ใกล้และมีกาลังซื้อสูงเข้ามาซื้อสินค้าในตลาด และกลายเป็นแหล่งท่องเที่ยว ใหม่ในเวลาต่อมา การที่ตลาดน้าคลองลัดมะยมกลายเป็นแหล่งท่องเที่ยวใหม่ของคนกรุงเทพฯ ทาให้เกิดการขยายตัวทาง เศรษฐกิจของชุมชน คือสมาชิกในชุมชนมีรายได้มากขึ้นจากการนาผลผลิตในชุมชนมาขาย รวมทั้งพัฒนาสินค้า หรือบริการท่องเที่ยวให้เกิดมูลค่าเพิ่มต่อไปอีก จากการเปลี่ยนแปลงดังกล่าว สมาชิกในชุมชนจึงตระหนักได้ว่า คลองลัดมะยมมีความสาคัญต่อวิถีชีวิต หรือเป็น “ทุนทางสังคม” ของชุมชน จึงเกิดแนวคิดที่จะร่วมกันดูแลคลอง และชุมชนร่วมกัน ซึ่งเป็นไปตามเจตนารมณ์ตั้งต้นของลุงชวน โดยเมื่อคลองสะอาด ตลาดน้าก็จะอยู่ได้ ชาวบ้าน ริมคลองก็จะหันกลับมาดูแลรักษาคลองลัดมะยม มีการร่วมกันแก้ไขปัญหาน้าเสียอย่างยั่งยืนตามแนวพระราชดาริ ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 9 มาปรับใช้ มีการเก็บขยะ ผักตบชวาในคลองทุกสัปดาห์ มีการติดตั้ง บ่อดักเศษอาหารและบ่อดักไขมันของบ้านที่อยู่ริมคลอง มีถังหยดน้าจุลินทรีย์ลงคลองอย่างต่อเนื่องเพื่อบาบัดน้า เสีย การขุดลอกคลองและดูดเลนผิวดิน การใช้กังหันน้าจากพลังงานแสงอาทิตย์ และการติดตั้งเครื่องวัดคุณภาพ น้า เป็นต้น เมื่อมีรายได้มากขึ้น ชุมชนจึงมีแนวคิดที่จะออมเงินและบริหารเงินร่วมกัน ชุมชนคลองลัดมะยมจึงได้มี การต่อยอดการบริหารชุมชนร่วมกันอีก คือการจัดตั้งสถาบันการเงินชุมชน ซึ่งได้รับการสนับสนุนองค์ความรู้โดย ธนาคารออมสิน โดยให้สมาชิกมาออมเงินร่วมกัน และนาเงินออมมาปล่อยสินเชื่อแก่สมาชิกเพื่อใช้เป็นแหล่งทุน โดยการบริหารสถาบันการเงินชุมชนจะทาโดยคณะกรรมการที่มาจากสมาชิกในชุมชนเอง การใช้แหล่งทุนของ ชุมชนตั้งอยู่บนหลักการที่ชุมชนจะต้องสร้างความเข้มแข็งจากเงินออมของตัวเอง เป็นการพึ่งพาตัวเองอย่างยั่งยืน นอกจากนี้ ชุมชนยังมีการดาเนินการด้านอื่นๆ อีก เช่น ด้านพลังงาน ที่ชุมชนร่วมกันผลิตไฟฟ้าจากโซลาร์เซลล์ หรือพลังงานจากขยะ เป็นต้น
  • 7. 7 เมื่อมีการรวมตัวในขนาดที่ใหญ่ และมีการดาเนินงานที่หลากหลาย ชุมชนคลองลัดมะยมจึงได้มีแนวคิด ที่จะหารูปแบบการบริหารจัดการที่จะทาให้การดาเนินการทั้งหมดมีความต่อเนื่อง จึงมีได้ไปจดทะเบียนเป็น สหกรณ์ เพื่อจะทาให้มีสภาพนิติบุคคลที่มีชุมชนเป็นเจ้าของร่วมกัน และมีโครงสร้างทางการบริหารที่ชัดเจน ไม่ ขึ้นกับตัวบุคคลเพียงอย่างเดียวต่อไป ทั้งนี้ คณะผู้ศึกษาดูงานสรุปหลักการบริหารชุมชนคลองลัดมะยมได้ดังนี้ ในด้านการร่วมมือกับภาครัฐ เมื่อชุมชนได้ร่วมกันบริหารจัดการจนตลาดน้าได้รับความนิยม ชุมชนก็ได้ร่วมมือกับหน่วยงานภาครัฐ เพื่อหาเครื่องมือให้ชุมชนพัฒนาตัวเองต่อไปได้อีก เช่น การให้ธนาคารออม สินมาช่วยในการจัดตั้งและบริหารสถาบันการเงินชุมชนและการบริหารตลาด กรุงเทพมหานครช่วยในการบริหาร น้าในคลอง หรือกรมการศาสนาเพื่อใช้ศาสนาเป็นเครื่องมือในการพัฒนาทุนมนุษย์ในชุมชน 2. มุมมองจากภาครัฐกับการท้างานร่วมกับชุมชน สาหรับมุมมองจากภาครัฐที่ให้การสนับสนุนชุมชนคลองลัดมะยม คณะผู้ศึกษาดูงานได้รับความ อนุเคราะห์จากนายกิตติพงศ์ บุญยิ่ง ผู้ช่วยผู้อานวยการธนาคารออมสิน สายงานลูกค้ารายย่อยและองค์กรชุมชน กลุ่มลูกค้าฐานรากและสนับสนุนนโยบายรัฐ โดยธนาคารออมสินเป็นรัฐวิสาหกิจที่ได้รับหน้าที่ให้เป็นกลไกในการ แก้ไขปัญหาความยากจนและการลดความเหลื่อมล้า ในฐานะสถาบันการเงินของรัฐ ซึ่งธนาคารออมสินได้ร่วมกับ ลุงชวนและชาวบ้านพัฒนาชุมชนคลองลัดมะยม เช่น ระดับชุมชนมีการสนับสนุนการจัดตั้งสถาบันการเงินชุมชน และมีการช่วยเหลือสมาชิกให้สร้างรายได้ โดยการสร้างอาชีพ สร้างตลาดสินค้าชุมชน และสร้างช่องทางการตลาด หรือการให้นักศึกษาจากโครงการออมสินยุวพัฒน์รักษ์ถิ่นมาร่วมในการพัฒนาชุมชนด้วย มีรายได้ ตลาด สร้างกิจกรรมทาง เศรษฐกิจชุมชน สถาบันการเงินชุมชน มีเงินออม สินเชื่อ สหกรณ์ เกิดสานึกร่วมกันดูแลคลอง หรือทุนชุมชน ร่วมกันช่วยเหลือการบริหารเงิน ก่อตัวเป็นสถาบันของ ชุมชน (Well Established)
  • 8. 8 หลักในการดาเนินงานในการพัฒนาชุมชนของธนาคารออมสิน คือธนาคารออมสินจะถือว่าตัวเองเป็นผู้ ร่วมดาเนินการและเรียนรู้ไปกับชุมชน ยึดหลักการมีส่วนร่วมของสมาชิกในชุมชน คือ ต้องมีการสื่อสารให้เกิด ความตระหนักของชุมชน เช่น ตลาดน้าคืออะไร ทาไมต้องทาตลาดน้า จะทาได้อย่างไร ทาแล้วจะดีหรือไม่ ตนเอง และชาวบ้านจะได้ประโยชน์อะไร เป็นหลักเบื้องต้นก่อน โดยเป็นโจทย์อันสาคัญของลุงชวนและธนาคารออมสิน ที่ ต้องทาการชี้แจงทาความเข้าใจกับชาวบ้าน ในมุมมองของธนาคารออมสินชุมชนคลองลัดมะยมเป็นชุมชนต้นแบบที่เข้มแข็ง แต่ก็ยังมีจุดอ่อนในเรื่อง การถ่ายโอนความรู้และปลูกฝังจิตสานึกหรือค่านิยมร่วมกันให้คนในรุ่นต่อๆ ไป เพราะองค์ความรู้หลักอยู่ที่ตัวผู้นา ชุมชนหรือลุงชวนยังไม่ได้มีการถ่ายทอดหรือกาหนดตัวผู้สืบทอด และยังต้องคานึงถึงปัญหาความยั่งยืนในระยะ ยาว เนื่องจากเป็นชุมชนที่ก่อตั้งขึ้นโดยไม่ได้หวังผลประโยชน์ส่วนตัว จึงไม่ได้คานึงถึงการจัดการรายได้ การตลาด หรือการบริหารกิจการโดยรวม การแบ่งปันผลกาไรในปัจจุบันยังขึ้นอยู่กับเจ้าของพื้นที่แต่ละราย ซึ่งเป็นปัญหาที่ ชุมชนจะต้องแก้ไขต่อไป และเป็นปัญหาของหน่วยงานภาครัฐที่จะต้องให้การสนับสนุน 3. ข้อสังเกตจากคณะผู้ศึกษาดูงาน 3.1 ชุมชนคลองลัดมะยมเองเป็นต้นแบบที่ดีในการบริหารจัดการโดยชุมชน และมีภาครัฐเป็น ผู้สนับสนุน ซึ่งชุมชนคลองลัดมะยมมีจุดเด่นคือเป็นชุมชนที่เคยได้รับผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงภายนอกแต่ สามารถปรับตัวโดยใช้ชุมชนซึ่งเป็นหน่วยย่อยของสังคมมาพัฒนาร่วมไปกับระบบทุนจากภายนอกเพื่อดารงชีพ และสร้างความมั่นคงแข็งแกร่งให้กับชุมชน ได้อย่างมีศักดิ์ศรี และเป็นเกราะป้องกันการรุกของการเปลี่ยนแปลงใน ระบบโลก 3.2 เมื่อชุมชนคลองลัดมะยมเป็นชุมชนที่ประสบความสาเร็จแล้ว การจะสร้างให้เกิดชุมชนที่เข้มแข็ง อย่างชุมชนคลองลัดมะยมควรทาอย่างไร คณะผู้ศึกษาดูงานได้ประมวลปัจจัยของความสาเร็จมาได้ดังนี้ 1) การเริ่มต้นในการรวมตัวของชุมชนจะต้องมีผู้นาชุมชมที่เข้มแข็งเป็นศูนย์กลาง โดยวิสัยทัศน์ ของลุงชวนที่เป็นปัจจัยความสาเร็จที่สาคัญที่สุดก็คือกรอบแนวคิด (Mindset) ที่เชื่อว่าการเรียนรู้ไม่มีวันจบสิ้น ไม่ใช่รู้เจาะลึกเพียงเรื่องเดียวแต่ต้องเรียนรู้ภาพกว้าง และต้องเรียนรู้ไปตลอดชีวิต และค่านิยมที่ว่าชุมชนควร ช่วยเหลือตนเองก่อน ไม่คอยแต่รอความช่วยเหลือจากรัฐ แน่นอนว่า ความช่วยเหลือจากรัฐบางประการนั้นจาเป็น แต่ชุมชนก็ควรพยายามช่วยตนเองเท่าที่พอจะทาได้ ทั้งหมดนี้เป็นจุดแข็งพื้นฐานที่ทาให้ลุงชวนสามารถเป็นผู้ นาพาชุมชนคลองลัดมะยมไปสู่ความสาเร็จ และวิสัยทัศน์ในมองเห็นภาพรวมที่จะเกิดขึ้นตามมาหลังการก่อตั้ง ตลาด และทัศนคติที่เปิดต่อการบริหารงานในลักษณะใหม่ๆ เช่น การเรียนรู้เทคโนโลยีใหม่ๆ เพื่อปรับตนและ ชุมชนให้สอดคล้องกับบริบทของการเปลี่ยนแปลงในสังคมปัจจุบัน 2) เงื่อนไขสาคัญในกระบวนการรวมตัวของชุมชนคือจะต้องกาหนดเป้าหมาย (Agenda) และ วัตถุประสงค์หรือค่านิยม (Core Value) ที่สอดคล้องกับผลประโยชน์ของชุมชนที่เป็นรูปธรรม และต้องมีการ กาหนดขอบเขตความรับผิดชอบ (Shared Responsibilities) ระหว่างสมาชิกในชุมชนให้ชัดเจน และสมาชิกใน ชุมชนต้องมีส่วนร่วมในกระบวนการดังกล่าว สาหรับชุมชนคลองลัดมะยมปัจจัยที่ทาให้ประสบความสาเร็จมาจาก แนวคิดว่า “จะต้องคิดใหญ่ แต่เริ่มทาเล็กๆ เริ่มจากตัวเอง ไปสู่จานวน 2-3-4...จนคนส่วนใหญ่ร่วมด้วย” และ
  • 9. 9 ขยายแนวคิดต่อในระดับที่ใหญ่ขึ้น คือ “ตัวเราคือโลก-โลกคือตัวเรา, ตัวเราคือประเทศ-ประเทศคือตัวเรา” ตัวอย่างเช่น ระหว่างชุมชนกับธนาคารออมสินและฝ่ายที่สาม (นักศึกษาหรือ อาสาสมัคร) ระหว่างชุมชนกับรัฐ 3) เมื่อมีการรวมตัวกันแล้ว สิ่งต่อมาก็คือความยั่งยืนในการดาเนินการ ดังเช่น ข้อกังวลของ ธนาคารออมสินถึงความต่อเนื่องในการดาเนินงานในระยะยาวที่ยังไม่สามารถถ่ายทอดค่านิยมจากรุ่นสู่รุ่นได้ และ การสร้างระบบการจัดการที่ไม่ขึ้นกับตัวบุคคล ซึ่งชุมชนคลองลัดมะยมได้เลือกที่จะจดทะเบียนเป็นสหกรณ์ ซึ่งก็ยัง ไม่แน่นอนว่ารูปแบบดังกล่าวจะเหมาะสมกับการบริหารจัดการของชุมชนคลองลัดมะยมในระยะยาวหรือไม่ 4. บทเรียนชุมชนคลองลัดมะยมสู่การเปลี่ยนกระบวนทัศน์ และข้อเสนอแนะเบืองต้น จากข้อสังเกตที่ได้จากการดาเนินงานของชุมชนคลองลัดมะยมจะเห็นได้ว่าปัจจัยความสาเร็จคือ การมีผู้นาชุมชนที่เข้มแข็ง การกาหนดเป้าหมายและค่านิยมร่วมกันระหว่างสมาชิกในชุมชนที่เป็นรูปธรรม และ การสร้างความยั่งยืน ดังนั้น คาถามในการบริหารรัฐกิจสาหรับผู้กาหนดนโยบายหรือผู้นานโยบายไปปฏิบัติอาจมีว่า จะกาหนดแนวทางการบริหารภาครัฐอย่างไรเพื่อสนับสนุนให้เกิดชุมชนที่เข้มแข็งอย่างชุมชนคลองลัดมะยม เช่น ควรมีการสร้างผู้นาชุมชนให้เกิดขึ้นควรจะมีกลไกภาครัฐอะไรในการสร้างผู้นาชุมชน และผู้นาชุมชนที่พึงประสงค์ ควรมีลักษณะอย่างไร และอะไรจะเป็นปัจจัยสนับสนุนให้เกิดผู้นาชุมชนในลักษณะนี้ การสร้างรูปแบบที่เหมาะสม ที่รองรับการดาเนินงานของชุมชนจะเป็นอย่างไร คาถามดังกล่าวจะสะท้อนกลับชุมชนทางวิชาการด้านรัฐประศานศาสตร์ว่าจะสร้างกรอบ สร้างเครื่องมือ เพื่อมาผลิตองค์ความรู้ให้หน่วยงานภาครัฐหรือชุมชนไปใช้ประโยชน์อย่างไร โดยในเบื้องต้น คณะผู้ศึกษาดูงานได้มี แนวคิดดังนี้ 4.1. การบริหารงานภาครัฐควรอยู่บนกระบวนทัศน์ใหม่ (New Paradigm) แนวคิดการบริหารภาครัฐที่อยู่ในกระบวนทัศน์ Old Public Administration หรือการบริหารที่ รวมศูนย์อานาจไว้ที่ภาครัฐและสั่งมาที่ประชาชน หรือกรอบแนวคิดการบริหารแบบ New Public Management ซึ่งมองประชาชนเป็นลูกค้าที่มาซื้อบริการนั้น ไม่สนับสนุนต่อการสร้างให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการดูแลตนเอง หรือการสร้างให้ชุมชนเข้มแข็ง การบริหารงานภาครัฐควรอยู่บนกระบวนทัศน์ใหม่คือ “Civil Public Management” หรือรัฐประสานศาสตร์พลเมือง หรือการบริหารงานภาครัฐที่สร้างให้ประชาชนกลายเป็นพลเมือง ที่ดูแลตัวเองได้ ซึ่งจะต้องเป็นสาขาการศึกษาที่ค้นคว้ากันต่อไป 4.2 การท้างานของหน่วยงานภาครัฐควรต้องมุ่งไปที่ประโยชน์ในระยะยาว และเป็นไปในลักษณะ การมีส่วนร่วม การสร้างความเข้มแข็งให้กับชุมชนเป็นเรื่องที่ใช้เวลา หากหน่วยงานภาครัฐไปเร่งรัดให้เกิด ความสาเร็จโดยเร็วจนเกินไปก็จะเป็นการบริหารงานในกระบวนทัศน์ Old Public Administration และไม่ทาให้ เกิดการบริหารงานที่สร้างพลเมืองที่ดูแลตัวเองได้ และต้องทางานในลักษณะผู้มีส่วนร่วมมากกว่าผู้สั่งการ เช่น ธนาคารออมสินอาจมีนโยบายที่ด้านชุมชนที่ชัดเจนและแยกให้ชัดระหว่างการดาเนินการด้านการพัฒนา หรือด้าน ธุรกิจปกติ เพื่อสนับสนุนบทบาทกลไกของรัฐให้ชัดเจน และไม่ควรเอาพันธกิจด้านที่เป็นธุรกิจไปใช้กับชุมชนใน
  • 10. 10 เวลาที่ชุมชนยังไม่พร้อม รวมถึงให้ธนาคารสาขาออมสินซึ่งอยู่ในชุมชนหรือพื้นที่เดียวกันอย่างใกล้ชิดเป็นพี่เลี้ยง กลุ่มอย่างต่อเนื่อง 4.3 การบูรณการการท้างานของภาครัฐโดยชุมชน จากตัวอย่างชุมชนคลองลัดมะยมจะเห็นได้ว่ามีหน่วยงานภาครัฐไปเกี่ยวข้องด้วยหลายหน่วย ซึ่ง ปกติจะไม่มีกลไกที่เป็นทางการในการร่วมกันทางาน ในอนาคตอาจมีการพัฒนาชุมชนให้เป็นศูนย์กลางการบูรณา การของภาครัฐในการทางาน โดยอาจมีกฎหมาย หรือกฎระเบียบมารองรับ
  • 11. 11 รายชื่อผู้เข้าร่วมศึกษาดูงานจากสถาบันรัฐประศาสนศาสตร์ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต ผู้บริหารสถาบันรัฐประศาสนศาสตร์ ศ.ดร. สมบูรณ์ สุขสาราญ คณบดีสถาบันรัฐประศาสนศาสตร์ นักศึกษาหลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิตสาขารัฐประศาสนศาสตร์ 1. นายสมปอง สงวนบรรพ์ 2. นางสาวอิศรา ถาวรพิชญไชย 3. นางสาวเจ จันทร์ศุภฤกษ์ 4. นายลัทธจิตร มีรักษ์ 5. นาย นพดล สอดแสงอรุณงาม 6. พลเอก สราวุฒิ ชลออยู่ 7. พลเอก สุรสิทธิ์ ถนัดทาง 8. นางสาว ยุวดี คาดการณ์ไกล 9. นางสาวเพ็ญจันทร์ ล้อสีทอง 10.นาย ปณิธาน สุขสาราญ 11.พันตารวจโท อภิวัจน์ พัชราพรภิญโย 12. น.ส.มิรันตี พจนสุภาณ 13. นายพลัฏฐ์ ยิ้มประเสริฐ 14.นาย วงศ์สถิตย์ บุญธัญกรณ์ 15.นาย วรพล ถังทอง 16.น.ส. อุไรวรรณ แมะบ้าน 17.นาย ภัทรดนัย ใต้ไธสง 18.นางสาว อรุณี อินเทพ 19. นายธานี สุโชดายน