SlideShare a Scribd company logo
1 of 19
Download to read offline
พื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
            โดย
 ครูจิระประภา สุวรรณจักร์
ในชีวิตประจาวัน มีความเกี่ยวข้องกับคู่อนดับ
                                              ั
อยู่เสมอ เช่น เมื่อเราไปซื้อของจะมีการจับคู่ของที่ซื้อ
กับราคา หรือในรายการอาหารที่จะเห็นว่าส่วนมาก
จะพิมพ์ชื่ออาหารคู่กับราคาราคา สิ่งเหล่านี้ล้วนเป็น
ลักษณะของคู่อันดับ ถ้าเราจับคู่ระหว่างบิดากับบุตร
แล้วเขียนในวงเล็บ เช่น (ดา,แดง) ,(สมชาย,ยอดชาย)
(ไก่,ไข่)
สิ่งเหล่านี้คือคู่อันดับแต่ละคู่ประกอบด้วยสมาชิก
สองตัวคือสมาชิกตัวหน้าและสมาชิกตัวหลัง ซึ่งการ
เป็นสมาชิกตัวที่หน้าและสมาชิกตัวหลังจะแสดงอันดับ
ซึ่งมีความสาคัญมาก ดังจะเห็นได้จากคู่อันดับที่ยก
ตัวอย่างมา (ดา,แดง) เราถือว่าสมาชิกตัวหน้าเป็นบิดา
และตัวหลังเป็นบุตรีแต่ถ้าเราสลับเป็น(แดง,ดา)
สิ่งที่ได้มาจะผิดความหมายจากที่เรากาหนดให้เดิม
สิ่งสาคัญในการเป็นคู่อันดับก็คือ จะต้องเป็นคู่
และมีอันดับในคณิตศาสตร์มักจะเขียนคู่อันดับในรูป
(a,b) โดยที่ a เป็นสมาชิกตัวหน้า และ b เป็นสมาชิก
ตัวหลัง (a,b) และ (b,a) จะไม่เท่ากัน นอกจาก a=b
เท่านั้น หรือ (a,b) =(c,d) ก็ต่อเมื่อ a=c และ b=d
ตัวอย่าง พิจารณาข้อความต่อไปนี้
สมุด 1 เล่ม ราคา 12 บาท ,สมุด 2 เล่ม ราคา 24 บาท
สมุด 3 เล่ม ราคา 36 บาท ,สมุด 4 เล่ม ราคา 48 บาท
สามารถนาข้อมูลของจานวนสมุดและราคาสมุดมา
เขียนแสดงความสัมพันธ์เป็นคู่ ๆ ในรูปแผนภาพ ได้ดังนี้




                 จานวนสมุด (เล่ม)      ราคา (บาท)
สามารถเขียนเป็นคูอันดับได้ดังนี้ (1,12), (2,24), (3,36), (4,48)
                 ่
สมบัติของคู่อันดับ
1) (a,b) = (c,d) ก็ต่อเมื่อ a = c และ b = d
ตัวอย่าง กาหนดให้ (x, x+y) = (3,8) จงหาค่า x และ y
วิธีทา เนื่องจาก (x, x+y) = (3,8)
          แสดงว่า x = 3 และ x + y = 8
          จะได้ 3 + y = 8
                    y=5
ดังนั้น x = 3 และ y = 5
กราฟของคู่อันดับ
ตัวอย่าง จงเขียนกราฟของจุด (1,5), (2,-3), (-3,-2), (4,-1)
วิธีทา
ตัวอย่าง จงเขียนจุด A, B, C, D, E, F มีพิกัดดังนี้
(4,3), (-6,2), (-4,-1), (-5,4), (2,6), (3,-6) ตามลาดับ
ตัวอย่าง กาหนด A(-4,6), B(3,-5), C(2,2), D(-1,-2),
จุด A, B, C, D, อยู่ในจตุภาคใด
ตัวอย่าง A, B, C, D เป็นจุดยอดของสีเ่ หลี่ยมจัตรัส
                                                ุ
ถ้าจุด A, B อยู่ในจตุภาคที่ 1 และ 2 ตามลาดับ และ C
มีพิกัด (-3,-5) และ D มีพิกัด (4,-5) จงหาพิกัดของจุด
A และ จุด B
ตัวอย่าง จากคู่อันดับที่กาหนดให้ต่อไปนี้ เมื่อนาพิกัด
จุดแต่ละจุดไปเขียนบนระนาบพิกัดฉากแล้ว ลากเส้น
เชื่อมจุดแต่ละจุด นักเรียนทราบหรือไม่ว่า รูปที่ได้จาก
การลากเส้นเป็นรูปอะไร (1, 9), (2, 9), (4, 10), (5, 12),
(6, 13), (8, 13), (10, 11), (8, 8), (8, 6), (10, 4), (14, 1),
(14, 8), (18, 8), (17, 9), (18, 10), (17, 11), (18, 12),
(17, 13), (18, 14), (17, 15), (18, 16), (18, 17), (12, 11),
(9, 14), (6, 14), (4, 13), (2, 11), (2,10)
20



                             18



                             16



                             14



                             12



                             10



                               8



                               6



                               4



                               2




-25   -20   -15   -10   -5         5   10   15   20   25   3

                              -2



                              -4



                              -6



                              -8



                             -10



                             -12



                             -14



                             -16
ตัวอย่าง ถ้าให้ x แทนจานวนสาหร่าย(ไก) ที่จอยขายได้
                  y แทนจานวนสาหร่าย(ไก) ที่ฟ้าขายได้

             x 1 2 3 4 5 6 7
             y 7 6 5 4 3 2 1

 จากตารางเขียนคู่อันดับ (x, y) แสดงความสัมพันธ์ได้ดังนี้
 (1, 7), (2, 6), (3, 5), (4, 4), (5, 3), (6, 2), (7, 1)
ตัวอย่าง ปล่อยก้อนหินจากดาดฟ้าตึกแห่งหนึ่งระยะทาง
ที่ก้อนหินตกจะเปลี่ยนไปตามเวลา แสดงด้วยตารางดังนี้
 เวลา (วินาที)   0     1       2     3      4      5      6
   ระยะทาง       0     5      20     45     80    125    180
    (เมตร)

เขียนเป็นคู่อันดับได้ดังนี้
(0,0), (1,5), (2,20), (3,45), (4,80), (5,125), (6,180)
(1) เวลาตั้งแต่ก้อนหินเริมตกจนก้อนหินเคลื่อนทีได้ทาง
                         ่                    ่
    60 เมตร ใช้เวลาเท่าไร
    ตอบ 3.5 วินาที

(2) นับแต่ก้อนหินตกจนเวลาผ่านไป 5 วินาที ก้อนหิน
    เคลื่อนที่ได้นานเท่าไร
     ตอบ 125 เมตร
ตัวอย่าง กราฟแสดงการเดินทางของรถยนต์ ก และ
รถยนต์ ข บนถนนสายเดียวกัน แสดงได้ ดังกราฟ
จากกราฟสรุปได้ว่า
     รถยนต์ ก ออกเดินทางก่อนรถยนต์ ข เป็นเวลา
1 ชั่วโมง และเดินทางไปพบกันในเวลา 11.00 น.
ด้วยระยะทาง 400 กิโลเมตร

More Related Content

What's hot

แบบฝึกหัดการวัดตำแหน่งของข้อมูล (สถิติ)
แบบฝึกหัดการวัดตำแหน่งของข้อมูล (สถิติ)แบบฝึกหัดการวัดตำแหน่งของข้อมูล (สถิติ)
แบบฝึกหัดการวัดตำแหน่งของข้อมูล (สถิติ)Math and Brain @Bangbon3
 
ใบงานรูปเรขาคณิตสามมิติ
ใบงานรูปเรขาคณิตสามมิติใบงานรูปเรขาคณิตสามมิติ
ใบงานรูปเรขาคณิตสามมิติkanjana2536
 
ฮิสโทแกรม
ฮิสโทแกรมฮิสโทแกรม
ฮิสโทแกรมkrookay2012
 
โครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ต้น
โครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ต้นโครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ต้น
โครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ต้นInmylove Nupad
 
ใบความรู้คู่อันดับและกราฟ
ใบความรู้คู่อันดับและกราฟใบความรู้คู่อันดับและกราฟ
ใบความรู้คู่อันดับและกราฟJiraprapa Suwannajak
 
แผนการสอนคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.5 ภาคเรียนที่ 1
แผนการสอนคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.5 ภาคเรียนที่ 1แผนการสอนคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.5 ภาคเรียนที่ 1
แผนการสอนคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.5 ภาคเรียนที่ 1คุณครูพี่อั๋น
 
คูณหารพหุนามและบวกลบเศษส่วนพหุนาม
คูณหารพหุนามและบวกลบเศษส่วนพหุนามคูณหารพหุนามและบวกลบเศษส่วนพหุนาม
คูณหารพหุนามและบวกลบเศษส่วนพหุนามMath and Brain @Bangbon3
 
เรื่องเศษส่วนพหุนาม
เรื่องเศษส่วนพหุนามเรื่องเศษส่วนพหุนาม
เรื่องเศษส่วนพหุนามพัน พัน
 
แบบฝึกคิดเลขเร็ว สูตรคูณ ป 2(2)
แบบฝึกคิดเลขเร็ว สูตรคูณ ป 2(2)แบบฝึกคิดเลขเร็ว สูตรคูณ ป 2(2)
แบบฝึกคิดเลขเร็ว สูตรคูณ ป 2(2)ทับทิม เจริญตา
 
การวัดตำแหน่งที่ของข้อมูลม.6
การวัดตำแหน่งที่ของข้อมูลม.6การวัดตำแหน่งที่ของข้อมูลม.6
การวัดตำแหน่งที่ของข้อมูลม.6KruGift Girlz
 
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 2 ชุดที่ 1
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 2 ชุดที่ 1ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 2 ชุดที่ 1
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 2 ชุดที่ 1คุณครูพี่อั๋น
 
ข้อสอบกลางภาค คณิต ม.5 เทอม 1 ฉบับที่ 1
ข้อสอบกลางภาค คณิต ม.5 เทอม 1 ฉบับที่ 1ข้อสอบกลางภาค คณิต ม.5 เทอม 1 ฉบับที่ 1
ข้อสอบกลางภาค คณิต ม.5 เทอม 1 ฉบับที่ 1คุณครูพี่อั๋น
 
เฉลยข้อสอบ Onet ปี 53
เฉลยข้อสอบ Onet ปี 53เฉลยข้อสอบ Onet ปี 53
เฉลยข้อสอบ Onet ปี 53Seohyunjjang
 
แบบทดสอบ เรื่อง การคูณและการหารเลขยกกำลัง2
แบบทดสอบ เรื่อง การคูณและการหารเลขยกกำลัง2แบบทดสอบ เรื่อง การคูณและการหารเลขยกกำลัง2
แบบทดสอบ เรื่อง การคูณและการหารเลขยกกำลัง2ทับทิม เจริญตา
 
การจัดหมู่
การจัดหมู่การจัดหมู่
การจัดหมู่supamit jandeewong
 
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.3 เทอม 2 ชุดที่ 1
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.3 เทอม 2 ชุดที่ 1ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.3 เทอม 2 ชุดที่ 1
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.3 เทอม 2 ชุดที่ 1คุณครูพี่อั๋น
 

What's hot (20)

แบบฝึกหัดการวัดตำแหน่งของข้อมูล (สถิติ)
แบบฝึกหัดการวัดตำแหน่งของข้อมูล (สถิติ)แบบฝึกหัดการวัดตำแหน่งของข้อมูล (สถิติ)
แบบฝึกหัดการวัดตำแหน่งของข้อมูล (สถิติ)
 
ใบงานรูปเรขาคณิตสามมิติ
ใบงานรูปเรขาคณิตสามมิติใบงานรูปเรขาคณิตสามมิติ
ใบงานรูปเรขาคณิตสามมิติ
 
ฮิสโทแกรม
ฮิสโทแกรมฮิสโทแกรม
ฮิสโทแกรม
 
โครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ต้น
โครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ต้นโครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ต้น
โครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ต้น
 
เฉลย O-net คณิตศาสตร์ 54
เฉลย O-net คณิตศาสตร์ 54เฉลย O-net คณิตศาสตร์ 54
เฉลย O-net คณิตศาสตร์ 54
 
ข้อสอบพหุนาม
ข้อสอบพหุนามข้อสอบพหุนาม
ข้อสอบพหุนาม
 
ใบความรู้คู่อันดับและกราฟ
ใบความรู้คู่อันดับและกราฟใบความรู้คู่อันดับและกราฟ
ใบความรู้คู่อันดับและกราฟ
 
แผนการสอนคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.5 ภาคเรียนที่ 1
แผนการสอนคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.5 ภาคเรียนที่ 1แผนการสอนคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.5 ภาคเรียนที่ 1
แผนการสอนคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.5 ภาคเรียนที่ 1
 
คูณหารพหุนามและบวกลบเศษส่วนพหุนาม
คูณหารพหุนามและบวกลบเศษส่วนพหุนามคูณหารพหุนามและบวกลบเศษส่วนพหุนาม
คูณหารพหุนามและบวกลบเศษส่วนพหุนาม
 
Sample space
Sample spaceSample space
Sample space
 
เรื่องเศษส่วนพหุนาม
เรื่องเศษส่วนพหุนามเรื่องเศษส่วนพหุนาม
เรื่องเศษส่วนพหุนาม
 
แบบฝึกคิดเลขเร็ว สูตรคูณ ป 2(2)
แบบฝึกคิดเลขเร็ว สูตรคูณ ป 2(2)แบบฝึกคิดเลขเร็ว สูตรคูณ ป 2(2)
แบบฝึกคิดเลขเร็ว สูตรคูณ ป 2(2)
 
การวัดตำแหน่งที่ของข้อมูลม.6
การวัดตำแหน่งที่ของข้อมูลม.6การวัดตำแหน่งที่ของข้อมูลม.6
การวัดตำแหน่งที่ของข้อมูลม.6
 
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 2 ชุดที่ 1
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 2 ชุดที่ 1ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 2 ชุดที่ 1
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 2 ชุดที่ 1
 
ข้อสอบกลางภาค คณิต ม.5 เทอม 1 ฉบับที่ 1
ข้อสอบกลางภาค คณิต ม.5 เทอม 1 ฉบับที่ 1ข้อสอบกลางภาค คณิต ม.5 เทอม 1 ฉบับที่ 1
ข้อสอบกลางภาค คณิต ม.5 เทอม 1 ฉบับที่ 1
 
ลำดับเรขาคณิต (Geometric sequence)
ลำดับเรขาคณิต (Geometric sequence)ลำดับเรขาคณิต (Geometric sequence)
ลำดับเรขาคณิต (Geometric sequence)
 
เฉลยข้อสอบ Onet ปี 53
เฉลยข้อสอบ Onet ปี 53เฉลยข้อสอบ Onet ปี 53
เฉลยข้อสอบ Onet ปี 53
 
แบบทดสอบ เรื่อง การคูณและการหารเลขยกกำลัง2
แบบทดสอบ เรื่อง การคูณและการหารเลขยกกำลัง2แบบทดสอบ เรื่อง การคูณและการหารเลขยกกำลัง2
แบบทดสอบ เรื่อง การคูณและการหารเลขยกกำลัง2
 
การจัดหมู่
การจัดหมู่การจัดหมู่
การจัดหมู่
 
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.3 เทอม 2 ชุดที่ 1
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.3 เทอม 2 ชุดที่ 1ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.3 เทอม 2 ชุดที่ 1
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.3 เทอม 2 ชุดที่ 1
 

Similar to คู่อันดับและกราฟ

Similar to คู่อันดับและกราฟ (6)

ลำดับเลขคณิต 2
ลำดับเลขคณิต 2ลำดับเลขคณิต 2
ลำดับเลขคณิต 2
 
สมบัติการเท่ากัน
สมบัติการเท่ากันสมบัติการเท่ากัน
สมบัติการเท่ากัน
 
ลำดับ
ลำดับลำดับ
ลำดับ
 
1.pdf
1.pdf1.pdf
1.pdf
 
กราฟ
กราฟกราฟ
กราฟ
 
Domain and range
Domain and rangeDomain and range
Domain and range
 

More from Jiraprapa Suwannajak

พื้นที่ผิวและปริมาตร
พื้นที่ผิวและปริมาตรพื้นที่ผิวและปริมาตร
พื้นที่ผิวและปริมาตรJiraprapa Suwannajak
 
เลขยกกำลังและลอการิทึม
เลขยกกำลังและลอการิทึมเลขยกกำลังและลอการิทึม
เลขยกกำลังและลอการิทึมJiraprapa Suwannajak
 
ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
ความสัมพันธ์และฟังก์ชันความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
ความสัมพันธ์และฟังก์ชันJiraprapa Suwannajak
 
งาน เศรษฐกิจพอเพียง
งาน เศรษฐกิจพอเพียงงาน เศรษฐกิจพอเพียง
งาน เศรษฐกิจพอเพียงJiraprapa Suwannajak
 
วงกลมหนึ่งหน่วย
วงกลมหนึ่งหน่วยวงกลมหนึ่งหน่วย
วงกลมหนึ่งหน่วยJiraprapa Suwannajak
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงJiraprapa Suwannajak
 

More from Jiraprapa Suwannajak (20)

พื้นที่ผิวและปริมาตร
พื้นที่ผิวและปริมาตรพื้นที่ผิวและปริมาตร
พื้นที่ผิวและปริมาตร
 
ภาคตัดกรวย
ภาคตัดกรวยภาคตัดกรวย
ภาคตัดกรวย
 
เมทริกซ์...
เมทริกซ์...เมทริกซ์...
เมทริกซ์...
 
รากที่สอง..
รากที่สอง..รากที่สอง..
รากที่สอง..
 
อสมการ
อสมการอสมการ
อสมการ
 
เศษส่วน
เศษส่วนเศษส่วน
เศษส่วน
 
เลขยกกำลังและลอการิทึม
เลขยกกำลังและลอการิทึมเลขยกกำลังและลอการิทึม
เลขยกกำลังและลอการิทึม
 
ลอการิทึม
ลอการิทึมลอการิทึม
ลอการิทึม
 
ลอการิทึม..[1]
ลอการิทึม..[1]ลอการิทึม..[1]
ลอการิทึม..[1]
 
ตรีโกณมิต..[1]
ตรีโกณมิต..[1]ตรีโกณมิต..[1]
ตรีโกณมิต..[1]
 
ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
ความสัมพันธ์และฟังก์ชันความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
 
ตรรกศาสตร์
ตรรกศาสตร์ตรรกศาสตร์
ตรรกศาสตร์
 
งาน เศรษฐกิจพอเพียง
งาน เศรษฐกิจพอเพียงงาน เศรษฐกิจพอเพียง
งาน เศรษฐกิจพอเพียง
 
วงกลมวงรี
วงกลมวงรีวงกลมวงรี
วงกลมวงรี
 
กลุ่ม4
กลุ่ม4กลุ่ม4
กลุ่ม4
 
วงกลมหนึ่งหน่วย
วงกลมหนึ่งหน่วยวงกลมหนึ่งหน่วย
วงกลมหนึ่งหน่วย
 
ปรัชญาเศร..
ปรัชญาเศร..ปรัชญาเศร..
ปรัชญาเศร..
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 
เศรษฐกิจ..[1]
 เศรษฐกิจ..[1] เศรษฐกิจ..[1]
เศรษฐกิจ..[1]
 
สมการตรีโกณ
สมการตรีโกณสมการตรีโกณ
สมการตรีโกณ
 

คู่อันดับและกราฟ