SlideShare a Scribd company logo
1 of 33
Download to read offline
~ 1 ~
ชุดกิจกรรม
เรื่อง ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
ชุดกิจกรรมที่ 1
ความสัมพันธ์
โดเมนและเรนจ์ของความสัมพันธ์
~ 2 ~
ขั้นที่ 1 SEARCH : S
ศึกษาข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับปัญหา
และการแยกแยะประเด็นของปัญหา
~ 3 ~
บัตรเนื้อหาที่ 1
เรื่อง คู่อันดับ
คู่อันดับเป็นการเรียงลาดับกันของสิ่งของสองสิ่ง นั่นคือคู่อันดับจะต้องมีคู่และมี
อันดับ คู่อันดับแต่ละคู่ประกอบด้วยสมาชิกสองตัว คือ สมาชิกตัวหน้า และสมาชิกตัว
หลัง การเป็นสมาชิกตัวหน้าและตัวหลังจะแสดงอันดับซึ่งมีความสาคัญมาก เช่น ถ้า
เขียนคู่อันดับซึ่งแต่ละคู่อันดับสมาชิกตัวแรกแทนชื่อ และสมาชิกตัวหลังแทนอายุ เช่น
(สมศรี, 15), (สมศักดิ์, 16) ถ้าสลับที่สมาชิกตัวหน้าและตัวหลัง เช่น (สมศรี, 15) ),
(สมศักดิ์, 16) เป็น (15, สมศรี), (16, สมศักดิ์) สิ่งที่ได้ก็จะผิดความหมายที่กาหนดไว้
เดิม
การเขียนคู่อันดับในคณิตศาสตร์มักเขียนในรูป b)
(a, โดยที่ a เป็นสมาชิกตัว
หน้า และb เป็นสมาชิกตัวหลัง โดยจะตกลงว่าคู่อันดับ b)
(a, จะเท่ากับคู่อันดับ )
d
(c,
ก็ต่อเมื่อ c
a  และ d
b 
นิยาม คู่อันดับ b)
(a, = d)
(c, ก็ต่อเมื่อ c
a  และ d
b 
สมบัติของคู่อันดับ
1.    
a
b,
b
a,  ยกเว้น b
a 
2. )
b
(a, = d)
(c, ก็ต่อเมื่อ c
a  และ d
b 
3.    
d
c,
b
a,  ก็ต่อเมื่อ c
a  หรือ d
b 
ตัวอย่างที่ 1 เช่น (2 , 5) = ( 2, 3 + 2) แต่ (2, 5)  ( 5 , 2 )
(3 , 8) = y)
(x, ก็ต่อเมื่อ x = 3 และ y = 8
(1 ,7)  (x, y) ก็ต่อเมื่อ x  1 หรือ y  7
~ 4 ~
บัตรเนื้อหาที่ 1 (ต่อ)
เรื่อง คู่อันดับ
ตัวอย่างที่ 2 (-15, 3y-1) = ( 3x , 20) ก็ต่อเมื่อค่าของ x และ y เท่ากับเท่าใด
วิธีทา (-15, 3y-1) = ( 3x , 20) ก็ต่อเมื่อค่าของ
3x = -15 และ 3y – 1 = 20
x = -5 และ 3y = 20 + 1 = 21
x = -5 และ y =
3
21
= 7
ดังนั้น (-15, 3y-1) = ( 3x , 20) ก็ต่อเมื่อ x – 5 และ y = 7
ตัวอย่างที่ 3 ถ้า (x + 3y, 0) = ( 8 , x – y ) แล้ว ( 2x - 3y , x + 4y )
เท่ากับเท่าใด
วิธีทา (x + 3y, 0) = ( 8 , x – y ) ก็ต่อเมื่อค่าของ
x + 3y = 8 …………….(1)
และ x - y = 0 …………….(2)
(1) – (2) 4y = 8
y = 2
แทนค่า y = 2 ในสมการ (2) จะได้ x = 2
ดังนั้น ( 2x – 3y , x + 4) = (2(2) – 3(2) , 2 + 4(2)) = ( -2, 10)
ตัวอย่างที่ 4 ( 6 , 3y )  (x , 12 ) ก็ต่อเมื่อการสรุปเกี่ยวกับ x และ y เป็นอย่างไร
วิธีทา ( 6 , 3y )  ( x , 12 ) ก็ต่อเมื่อ
6  x หรือ 3y  12
y  4
ดังนั้น ( 6 , 3y )  (x , 12 ) ก็ต่อเมื่อการสรุปเกี่ยวกับ x และ y
คือ x  6 หรือ y  4
~ 5 ~
บัตรกิจกรรมที่ 1.1 กิจกรรมคู่อันดับทาได้ไหม
1. 2)
y
6,
(
3,8)
(x 


 ก็ต่อเมื่อค่าของ x และ y มีค่าเท่ากับเท่าใด
...........................................................................................................................................
...........................................................................................................................................
...........................................................................................................................................
2. 2)
(a,
1)
b
5,
( 

 ก็ต่อเมื่อ a หรือ b มีค่าเท่าใด
...........................................................................................................................................
...........................................................................................................................................
...........................................................................................................................................
3. m)
(n,
n)
(m,  ดังนั้น ................... = ..........................
4. y)
x
(10,
y,6)
x
( 

 ก็ต่อเมื่อค่าของ x และ y มีค่าเท่ากับเท่าใด
...........................................................................................................................................
...........................................................................................................................................
...........................................................................................................................................
...........................................................................................................................................
5. ถ้า y)
3y,
(x
2y)
6,3x
( 

 แล้ว )
y
5y,3x
(x 
 เท่ากับเท่าใด
...........................................................................................................................................
...........................................................................................................................................
...........................................................................................................................................
~ 6 ~
บัตรกิจกรรมที่ 1.2 กิจกรรมคู่อันดับทาได้ไหม
1. )
1
y
(12,
3)
7,
x
( 


 ก็ต่อเมื่อค่าของ x และ y มีค่าเท่ากับเท่าใด
...........................................................................................................................................
...........................................................................................................................................
...........................................................................................................................................
2. )
3
2,
(a
2)
b
(3, 


 ก็ต่อเมื่อ a หรือ b มีค่าเท่าใด
..........................................................................................................................................
...........................................................................................................................................
...........................................................................................................................................
3. )
w
(z,
z)
(w,  ดังนั้น ................... = ..........................
4. y)
x
(13,
y,3)
(x 

 ก็ต่อเมื่อค่าของ x และ y มีค่าเท่ากับเท่าใด
...........................................................................................................................................
...........................................................................................................................................
...........................................................................................................................................
5. ถ้า 2y,20)
(x
2y)
7,2x
( 

 แล้ว )
y
4y,2x
x
( 
 เท่ากับเท่าใด
...........................................................................................................................................
...........................................................................................................................................
...........................................................................................................................................
~ 7 ~
บัตรเฉลยกิจกรรมที่ 1.1 กิจกรรมคู่อันดับทาได้ไหม
1. 2)
y
6,
(
3,8)
(x 


 ก็ต่อเมื่อค่าของ x และ y มีค่าเท่ากับเท่าใด
x + 3 = - 6 และ 8 = y + 2
x + 3 - 3 = - 6 - 3 และ 8 – 2 = y + 2 - 2
x = - 9 และ y = 6
2. 2)
(a,
1)
b
5,
( 

 ก็ต่อเมื่อ a หรือ b มีค่าเท่าใด
5 ≠ a หรือ b + 1 ≠ - 2
b ≠ -3
3. m)
(n,
n)
(m,  ดังนั้น m ≠ n หรือ n ≠ m
4. y)
x
(10,
y,6)
x
( 

 ก็ต่อเมื่อค่าของ x และ y มีค่าเท่ากับเท่าใด
x + y = 10 …………….(1)
และ x - y = 6 …………….(2)
(1) – (2) 2y = 4
y = 2
แทนค่า y = 2 ในสมการ (1) จะได้ x = 8
ดังนั้น ( x + y , 6 ) = ( 10 , x – y ) ก็ต่อเมื่อ (x, y) = ( 8, 2 )
5. ถ้า y)
3y,
(x
2y)
6,3x
( 

 แล้ว )
y
5y,3x
(x 
 เท่ากับเท่าใด
x - 3y = 6 …………….(1)
และ 3x + 2y = y นั่นคือ 3x + y = 0 …………….(2)
(1) คูณ 3 ได้ 3x – 9y = 18…………….(3)
(2) – (3) 10y = -18 ได้ y = - 1.8
แทนค่า y = - 1.8 ในสมการ (2) 3x + (-1.8) = 0 จะได้ x = 0.6
ดังนั้น ( x + 5y , 3x – y ) = (0.6 + 5(- 1.8) , 3(0.6) – (- 1.8)) = ( - 8.4, 3.6 )
~ 8 ~
บัตรเฉลยกิจกรรมที่ 1.2 กิจกรรมคู่อันดับทาได้ไหม
1. )
1
y
(12,
3)
7,
x
( 


 ก็ต่อเมื่อค่าของ x และ y มีค่าเท่ากับเท่าใด
x + 7 = 12 และ – 3 = y – 1
x + 7 - 7 = 12 - 7 และ - 3 + 1 = y – 1 + 1
x = 5 และ y = - 2
2. )
3
2,
(a
2)
b
(3, 


 ก็ต่อเมื่อ a หรือ b มีค่าเท่าใด
3 ≠ a + 2 หรือ b + 2 ≠ - 3
- 1 ≠ a หรือ b ≠ - 5
3. )
w
(z,
z)
(w,  ดังนั้น w ≠ z หรือ z ≠ w
4. y)
x
(13,
y,3)
(x 

 ก็ต่อเมื่อค่าของ x และ y มีค่าเท่ากับเท่าใด
x + y = 13 …………….(1)
และ x - y = 3 …………….(2)
(1) – (2) 2y = 10
y = 5
แทนค่า y = 5 ในสมการ (1) จะได้ x = 8
ดังนั้น ( x + y , 3 ) = ( 13 , x – y ) ก็ต่อเมื่อ (x, y) = ( 8, 5 )
5. ถ้า 2y,20)
(x
2y)
7,2x
( 

 แล้ว )
y
4y,2x
x
( 
 เท่ากับเท่าใด
x - 2y = 7 …………….(1)
และ 2x + 2y = 20 ...………….(2)
(1) + (2) 3x = 27 ได้ x = 9
แทนค่า x = 9 ในสมการ (1) จะได้ y = 1
ดังนั้น ( x + 4y , 2x – y ) = ( 9 + 4(1) , 2(9) – 1) = ( 13, 17 )
~ 9 ~
บัตรเนื้อหาที่ 2
เรื่อง ผลคูณคาร์ทีเชียน
ผลคูณคาร์ทีเซียนของ A และ B เขียนแทนด้วย ด้วย A  B นั่นคือ ถ้าให้
A = {a,b} , B = {1,2,3} แล้ว A  B = { (a,1),(a,2),(a,3),(b,1),(b,2),(b,3)}
สามารถเขียน A  B โดยวิธีกาหนดเงื่อนไขของสมาชิกดังนี้
A  B = { (x,y) / x  A และ yB}
นอกจากนี้การใช้แผนภาพต้นไม้ต่อไปนี้จะช่วยในการหาคู่อันดับของ A  B ได้ดังนี้
A B A  B
1 ( a,1 )
a 2 ( a,2 )
3 ( a,3 )
1 ( b,1 )
b 2 ( b,2 )
3 ( b,3 )
ดังนั้น A  B = { (a,1),(a,2),(a,3),(b,1),(b,2),(b,3)}
ตัวอย่างที่ 1 กาหนด A = {1,4} , B = { } , และ C = 
จงหา A B , A  C , B  B , B  C , C  C
วิธีทา A  B = { (1,  ) , (4 ,  )}
A  C = 
B  B = { ( , ) }
B  C = 
C  C = 
~ 10 ~
บัตรเนื้อหาที่ 2 (ต่อ)
เรื่อง ผลคูณคาร์ทีเชียน
ตัวอย่างที่ 2 กาหนด A = {0,{0}} , B = {0,1,  } และ C = {1}
จงหา 1) A(B C)
2) (AB) (AC)
3) A(B C)
4) (AB) (AC)
5) (A – B)C
6) (A  C) – (B  C)
7) A(B C) = (AB) (AC) หรือไม่
8) A(B C) = (AB) (AC) หรือไม่
9) (A – B)C = (A  C) – (B  C) หรือไม่
วิธีทา
1) (B C) = {1}
A  (B C) = {(0,1) , ({0} ,1)}
2) A B = { (0,0) , (0,1),(0,  ),({0},0),({0},1),({0},  )}
A  C = { (0,1) , ({0} , 1 ) }
(A  B ) ( A  C ) = { (0 , 1) , ({0},1)}
3) B C = { 0, 1,  }
A  ( B C) = {(0, 0), (0, 1), ( 0,  ), ({0},0), ({0},1), ({0},  )}
4) (AB)  (AC) = {(0,0), (0,1), ( 0,  ), ({0},0), ({0},1) ,({0},  )
5) (A – B) = {{0}}
(A – B)  C = {({0}, 1)}
6) (A C) = {(0,1), ({0},1)}
(B C) = {(0,1), (1,1), ( ,1)}
(A C) – ( B  C) = { ({0},1)}
~ 11 ~
บัตรเนื้อหาที่ 2 (ต่อ)
เรื่อง ผลคูณคาร์ทีเชียน
7) A(B C) = (AB) (AC) หรือไม่ ตอบ เท่ากัน
8) A(B C) = (AB) (AC) หรือไม่ ตอบ เท่ากัน
9) (A – B)C = (A  C) – (B  C) หรือไม่ ตอบ เท่ากัน
ตัวอย่างที่ 3 กาหนด A = {1,2,3, … ,20} , B = {18,19,20, ... , 30} และ
C = {20,21,22, … ,40} จงหา n[(AB) (A  C)]
วิธีทา เนื่องจาก (A B ) ( A x C ) = A  ( B C)
n[(A B)  (A  C)] = n[ A  (B C)]
= n(A)  n(B C)
จากโจทย์จะได้ n(A) = 20
B C = { 20,21,22, … ,30}
n(B C) = 11
ฉะนั้น n[(A B)  (A  C)] = n(A)  n(B C)
= 20  11 = 220
~ 12 ~
บัตรเนื้อหาที่ 2 (ต่อ)
เรื่อง ผลคูณคาร์ทีเชียน
สมบัติของผลคูณคาร์ทีเชียน
ให้ A, B และ C เป็นเซตใดๆจะได้ว่า
1. A  B =  ก็ต่อเมื่อ A =  หรือ B = 
2. โดยทั่วไป AB ≠ B  A
A  B = B  A ก็ต่อเมื่อ A = B หรือ A =  หรือ B = 
3. ถ้า A  B = A  C และ A =  แล้ว B = C
4. ถ้า A เป็นเซตจากัดซึ่ง A =  และ B เป็นเซตอนันต์
แล้ว A  B และ B  A เป็นเซตอนันต์
5. ถ้า A และ B เป็นเซตอนันต์
แล้ว A  B และ B  A เป็นเซตอนันต์
6. เมื่อ A และ B เป็นเซตจากัด n(A  B) = n(B  A) = n(A)  n(B)
7. ถ้า A  B แล้ว A  C  B  C
8. ถ้า A  B แล้ว C  D แล้ว A  C  B  D
9. ถ้า A =  และ A  B  A  C แล้ว B C
10. A  ( B C ) = ( AB )  ( A  C )
11. A  ( B C ) = ( A  B )  ( A  C )
12. A  (B – C) = (A  B) – (A  C)
13. (A  B ) ( B  A ) = (A  B)  ( A  B )
~ 13 ~
บัตรกิจกรรมที่ 2.1 กิจกรรมหาผลคูณคาร์ทีเชียน
นักเรียนหาผลคูณคาร์ทีเซียนต่อไปนี้
1. กาหนดให้ A = { 0, 3}, B = { 0, 5} จะได้
A  A = ……………………………………………………………………
A  B = ……………………………………………………………………
B  A = ……………………………………………………………………
B  B = ……………………………………………………………………
n(A  B) = …………………………………………………………………
2. กาหนดให้ A = {1, 2}, B =  และ C = { } จะได้
A  B = ……………………………………………………………………
A  C = ……………………………………………………………………
B  C = ……………………………………………………………………
C  C = ……………………………………………………………………
3. กาหนดให้ A = {1, 2, 3} , B = {5, 6} และ C = {6, 7, 8} จงหา
1. A  (B – C)
…………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………
2. (A  B) – (A  C)
…………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………
3. n[A  (B C)]
…………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………
4. n[(A  B) C]
…………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………
~ 14 ~
บัตรกิจกรรมที่ 2.2 กิจกรรมหาผลคูณคาร์ทีเชียน
นักเรียนหาผลคูณคาร์ทีเซียนต่อไปนี้
1. กาหนดให้ A = {2,3} , B = {1,5,7}
1.1 AA = …………………………………………………………………………
1.2 AB = …………………………………………………………………………
1.3 BA = …………………………………………………………………………
2. กาหนดให้ A = {a,b,c} , B = {0,1,2,3} จงหาผลคูณคาร์ทีเซียน
2.1 AB = …………………………………………………………………………
2.2 BA = …………………………………………………………………………
2.3 BB = …………………………………………………………………………
3. จงพิจารณาว่าในแต่ละข้อถูกหรือผิด โดยใส่เครื่องหมาย  หรือ 
ลงหน้าข้อในแต่ละข้อ
1. A = {1, 2 } , B = { 3, 4, 5 } แล้ว n(AB) = 6
2. A = { a, b, c } , B =  แล้ว n(AB) = 3
3. A = { 0 }, B = { 0,  } และ C =  แล้ว AC  BC
4. เมื่อ A และ B เป็นเซตจากัดแล้ว n(AB) = n(BA)
5. ถ้า A เป็นเซตอนันต์และ B เป็นเซตจากัด
โดยที่ B 
 แล้ว AB เป็นเซตอนันต์
~ 15 ~
เฉลยบัตรกิจกรรมที่ 2.1 กิจกรรมหาผลคูณคาร์ทีเชียน
นักเรียนหาผลคูณคาร์ทีเซียนต่อไปนี้
1. กาหนดให้ A = { 0, 3}, B = { 0, 5} จะได้
A  A = { (0,0), (0,3), (3,0), (3,3) }
A  B = { (0,0), (0,5), (3,0), (3,5) }
B  A = { (0,0), (0,3), (5,0), (5,3) }
B  B = { (0,0), (0,5), (5,0), (5,5) }
n(A  B) = 2 × 2 = 4 , n (B×A) = 2×2 = 4
2. กาหนดให้ A = {1, 2}, B =  และ C = { } จะได้
A  B = { } หรือ 
A  C = { (1,  ), (2,  ) }
B  C = { }
C  C = {( , )}
3. กาหนดให้ A = {1, 2, 3} , B = {5, 6} และ C = {6, 7, 8} จงหา
1. A  (B – C)
วิธีทา B – C = { 5 }
A × (B – C) = { 1, 2, 3} × { 5} = { (1,5), (2,5), (3,5) }
2. (A  B) – (A  C)
วิธีทา A × B = { (1,5), (1,6), (2,5), (2,6), (3,5), (3,6) }
A × C = { (1,6), (1,7), (1,8), (2,5), (2,6), (2,8), (3,5), (3,6), (2,8)}
(A × B) – (A × C) = { (1,5) }
3. n[A  (B C)]
วิธีทา = n(A) × n (B C)
= 3 × 4 = 12
4. n[(A  B) C]
วิธีทา = n(A B) × n (C)
= 5 × 3 = 15
~ 16 ~
×
×
เฉลยบัตรกิจกรรมที่ 2.2 กิจกรรมหาผลคูณคาร์ทีเชียน
นักเรียนหาผลคูณคาร์ทีเซียนต่อไปนี้
1. กาหนดให้ A = {2,3} , B = {1,5,7}
1.1 AA = { (2,2),(2,3),(3,2),(3,3) }
1.2 AB = { (2,1),(2,5),(2,7),(3,1),(3,5),(3,7) }
1.3 BA = { (1,2),(1,3),(5,2),(5,3),(7,2),(7,3) }
2. กาหนดให้ A = {a,b,c} , B = {0,1,2,3} จงหาผลคูณคาร์ทีเซียน
2.1 AB = { (a,0),(a,1),(a,2),(a,3),(b,0),(b,1),(b,2),(b,3),(c,0),(c,1),(c,2),(c,3) }
2.2 BA = { (0,a),(0,b),(0,c),(1,a),(1,b),(1,c),(2,a),(2,b),(2,c),(3,a),(3,b),(3,c) }
2.3 BB = { (0,0),(0,1),(0,2),(0,3),(1,0),(1,1),(1,2),(1,3),(2,0),(2,1),(2,2),(2,3),
(3,0),(3,1),(3,2),(3,3) }
3. 3. จงพิจารณาว่าในแต่ละข้อถูกหรือผิด โดยใส่เครื่องหมาย  หรือ 
ลงหน้าข้อในแต่ละข้อ
1. A = {1, 2 } , B = { 3, 4, 5 } แล้ว n(AB) = 6
2. A = { a, b, c } , B =  แล้ว n(AB) = 3
3. A = { 0 }, B = { 0,  } และ C =  แล้ว AC  BC
4. เมื่อ A และ B เป็นเซตจากัดแล้ว n(AB) = n(BA)
5. ถ้า A เป็นเซตอนันต์และ B เป็นเซตจากัด
โดยที่ B 
 แล้ว AB เป็นเซตอนันต์



~ 17 ~
บัตรเนื้อหาที่ 3
เรื่อง โดเมนและเรนจ์ของความสัมพันธ์
นิยาม r เป็นความสัมพันธ์จาก A ไป B ก็ต่อเมื่อ r เป็นสับเซตของ A  B
ตัวอย่างที่ 1 ให้A = {2,4} และ B = {2,4,6,8} จงเขียนความสัมพันธ์ต่อไปนี้
ในรูปเซตแบบแจกแจงสมาชิกและบอกเงื่อนไขของสมาชิก
r1 คือความสัมพันธ์ “ หารลงตัว ” จาก A ไป B
r2 คือความสัมพันธ์ “ เป็นครึ่งหนึ่ง ” จาก B ไป A
r3 คือความสัมพันธ์ “ เป็นสองเท่า ” จาก A ไป A
วิธีทา
r1 เป็นสับเซตของ A  B จะได้
เซตแบบแจกแจงสมาชิก r1 = {(2,2),(2,4),(2,6),(2,8),(4,4),(4,8)}
เซตบอกเงื่อนไขของสมาชิก r1 = {(x,y)  A  B / x หาร y ลงตัว}
r2 เป็นสับเซตของ B  A จะได้
เซตแบบแจกแจงสมาชิก r2 = {(2,4)}
เซตบอกเงื่อนไขของสมาชิก r2 = {(x,y)  B  A / x =
2
y
}
r3 เป็นสับเซตของ A  A จะได้
เซตแบบแจกแจงสมาชิก r3 = {(4,2)}
เซตบอกเงื่อนไขของสมาชิก r3 = {(x,y)  A  A / x = 2y}
~ 18 ~
บัตรเนื้อหาที่ 3 (ต่อ)
เรื่อง โดเมนและเรนจ์ของความสัมพันธ์
นิยาม ให้ r เป็นความสัมพันธ์จาก A ไป B โดเมนของ r คือ เซตของสมาชิกตัว
หน้าของคู่อันดับใน r เขียนแทนด้วย Dr
ให้ A = {1,2,3,4}
B = {a,b,c,d}
และ r = {(2,a),(3,b),(4,c)}
ถ้าเรานาสมาชิกตัวหน้าของทุกคู่อันดับใน r มาเขียนเป็นสมาชิกของเซต เราเรียก
เซตใหม่นี้ว่าโดเมนของ r นั่นคือ โดเมนของ r = {2,3,4} หรือเขียนแทนด้วย Dr={2,3,4}
และนาสมาชิกตัวหลังของทุกคู่อันดับใน r มาเขียนเป็นสมาชิกของเซต เราเรียก
เซตใหม่นี้ว่าเรนจ์ของ r นั่นคือ เรนจ์ของ r = {a,b,c} หรือเขียนแทนด้วย Rr = {a,b,c}
เขียน Dr และ Rr ในรูปเซตแบบบอกเงื่อนไขได้ดังนี้
Dr = {x / (x,y)r}
Rr = {y / (x,y)r}
ตัวอย่างที่ 1 จงหาโดเมนและเรนจ์ของความสัมพันธ์ต่อไปนี้
r1 = {(-1,1),(-2,2),(-3,3),(-4,4)}
r2 = {(4,a),(5,b),(6,c)}
วิธีทา r1 = {(-1,1),(-2,2),(-3,3),(-4,4)}
1
r
D = {-1,-2,-3,-4} 1
r
R = {1,2,3,4}
r2 = {(4,a),(5,b),(6,c)}
2
r
D = {4,5,6} 2
r
R = {a,b,c}
~ 19 ~
บัตรเนื้อหาที่ 3 (ต่อ)
เรื่อง โดเมนและเรนจ์ของความสัมพันธ์
ตัวอย่างที่ 2 ให้ A = {1,2,3,4,5,6,7,8,9} และ r = {(x,y)AA / y = x2
}
จงหาโดเมนและเรนจ์
วิธีทา A = {1,2,3,4,5,6,7,8,9}
r = {(x,y)A A / y = x2
}
r = {(1,1),(2,4),(3,9)}
ดังนั้น Dr = {1,2,3}
Rr = {1,4,9}
การหาโดเมนและเรนจ์ของความสัมพันธ์ที่กาหนดในเซตแบบบอกเงื่อนไขที่ไม่
สามารถแจกแจงสมาชิกของเซตได้หมดทุกตัวคือ
วิธีที่ 1 พิจารณาโดเมนและเรนจ์จากกราฟของความสัมพันธ์
วิธีที่ 2 พิจารณาจากสมการของความสัมพันธ์ดังนี้
การหาโดเมน เขียนความสัมพันธ์โดยจัด y ในรูปของ x นั่นคือ y = f(x) แล้ว
พิจารณาค่าของ x ที่ทาให้ y เป็นจริงตามเงื่อนไขในเซตที่กาหนด
การหาเรนจ์ เขียนความสัมพันธ์โดยจัด x ในรูปของ y นั่นคือ x = f(y) แล้ว
พิจารณาค่าของ y ที่ทาให้ x เป็นจริงตามเงื่อนไขในเซตที่กาหนด
~ 20 ~
บัตรเนื้อหาที่ 3 (ต่อ)
เรื่อง โดเมนและเรนจ์ของความสัมพันธ์
ตัวอย่างที่ 3 จงหาโดเมนและเรนจ์ของความสัมพันธ์ต่อไปนี้
1) r = {(x,y)RR / y = x + 5 }
2) r = {(x,y)RR / y = x2
– 4 }
3) r = {(x,y)RR / y = 9 – x2
}
วิธีทา 1) r = {(x,y)RR / y = x + 5 }
วิธีที่ 1 พิจารณาจากกราฟของความสัมพันธ์
y
จากกราฟ พบว่า จุดทุกจุดบนแกน x และ
ทุกจุดบนแกน y
สามารถเขียนกราฟของ y = x + 5
แสดงว่า Dr = { x / xR } Rr = { y / yR }
หรือ Dr = Rr = { x / xR }
หรือ Dr = Rr = { y / yR }
วิธีที่ 2 พิจารณาจากสมการของความสัมพันธ์ y = x + 5
จากความสัมพันธ์ พบว่าไม่ว่าจะแทนค่า x ด้วยจานวนจริงใด ๆ สามารถหาค่า y
ที่เป็นจริงสอดคล้อง กับสมการ y = x + 5 ได้เสมอ
x
~ 21 ~
บัตรเนื้อหาที่ 3 (ต่อ)
เรื่อง โดเมนและเรนจ์ของความสัมพันธ์
วิธีทา 2) r = {(x,y)RR / y = x2
– 4 }
วิธีที่ 1 พิจารณาจากกราฟของความสัมพันธ์ y = x2
– 4
y
จากกราฟ พบว่าจุดทุกจุดบนแกน x และ
เขียนกราฟของ y = x2
– 4 ได้เสมอ
แสดงว่า Dr = { x / xR }
จากกราฟ พบว่าจุดทุกจุดบนแกน y ที่ y > - 4
สามารถเขียนกราฟของ y = x2
– 4 ได้เสมอ
แสดงว่า Rr = { y / y > - 4 }
วิธีที่ 2 พิจารณาจากสมการของความสัมพันธ์ y = x2
– 4
จากความสัมพันธ์ y = x2
จะได้y > 0 สาหรับทุก xR
ดังนั้น ถ้าความสัมพันธ์ y = x2
– 4 จะได้y > 0 - 4 สาหรับทุก xR
ฉะนั้น Dr = { x / xR } หรือ y > - 4 สาหรับทุก xR
Rr = { y / y > - 4 }
x
~ 22 ~
บัตรเนื้อหาที่ 3 (ต่อ)
เรื่อง โดเมนและเรนจ์ของความสัมพันธ์
วิธีทา 3) r = {(x,y)RR / y = 9 – x2
}
วิธีที่ 1 พิจารณาจากกราฟของความสัมพันธ์
y
จากกราฟ พบว่าจุดทุกจุดบนแกน x สามารถ
เขียนกราฟ y = 9 – x2
ได้เสมอ
ฉะนั้น Dr = { x / xR }
จากกราฟ พบว่าจุดทุกจุดบนแกน y ที่ y < 9
สามารถเขียนกราฟของ y = 9 – x2
ได้เสมอ
แสดงว่า Rr = { y / y < 9 }
วิธีที่ 2 พิจารณาจากสมการของความสัมพันธ์ y = 9 – x2
จากความสัมพันธ์ y = –x2
จะได้y < 0 สาหรับทุก xR
ดังนั้น ถ้าความสัมพันธ์ y = –x2
+ 9 จะได้y < 9 สาหรับทุก xR
ฉะนั้น Dr = { x / xR }
Rr = { y / y < 9 }
x
~ 23 ~
บัตรเนื้อหาที่ 3 (ต่อ)
เรื่อง โดเมนและเรนจ์ของความสัมพันธ์
ตัวอย่างที่ 4 จงหาโดเมนและเรนจ์ของความสัมพันธ์ต่อไปนี้
1. r = { (x,y) / y = x }
2. r = { (x,y) / y = 4

x }
3. r = { (x,y) / y = x + 4 }
4. r = { (x,y) / y = 1
2 
x + 4 }
วิธีทา 1. r = { (x,y) / y = x }
Dr = { x / xR } Rr = { y / y > 0}
2. r = { (x,y) / y = 4

x }
Dr = { x / xR } Rr = { y / y > 0}
3. r = { (x,y) / y = x + 4 }
Dr = { x / xR } Rr = { y / y > 4}
4. r = { (x,y) / y = 1
2 
x + 4 }
Dr = { x / xR } Rr = { y / y > 4}
~ 24 ~
บัตรเนื้อหาที่ 3 (ต่อ)
เรื่อง โดเมนและเรนจ์ของความสัมพันธ์
ตัวอย่างที่ 5 จงหาโดเมนและเรนจ์ของความสัมพันธ์ต่อไปนี้
1. r =







x
1
y)/y
(x,
2. r =








4
x
3
y)/y
(x,
3. r =








2x
3
8x
y)/y
(x,
4. r =  
16
x
y)/y
(x, 2


วิธีทา 1. r =







x
1
y)/y
(x,
การหาโดเมน เขียนในรูป y = f(x) นั่นคือ y =
x
1
ดังนั้น Dr = { x / x  0 }
เพราะว่า x = 0 ทาให้ไม่มีค่า y ในระบบจานวนจริงที่จะทาให้ y =
x
1
เป็นจริง
หรือ Dr = R – {0}
Rr = { y / y  0 }
เพราะว่าจาก y =
x
1
เขียนใหม่ในรูป x = f(y) เป็น x =
y
1
จะได้ y  0
หรือ Rr = R – {0}
~ 25 ~
บัตรเนื้อหาที่ 3 (ต่อ)
เรื่อง โดเมนและเรนจ์ของความสัมพันธ์
วิธีทา 2. r =








4
x
3
y)/y
(x,
การหาโดเมน เขียนในรูป y = f(x) นั่นคือ y =
4
x
3

ดังนั้น Dr = { x / x  4 } เพราะว่า x - 4  0 ดังนั้น x  4
การหาเรนจ์เขียนใหม่ในรูป x = f(y) จะได้ x – 4 =
y
3
x =
y
3
+ 4 นั่นคือ y  0
ดังนั้น Rr = { y / y  0 }
วิธีทา 3. r =








2x
3
8x
y)/y
(x,
การหาโดเมน เขียนในรูป y = f(x) นั่นคือ y =
x
2
3
8x

จะได้ x 
2
3
และ x
2
3


ดังนั้น Dr = { x / x 
2
3
}
การหาเรนจ์เขียนใหม่ในรูป x = f(y)
จะได้ y(3 – 2x) = 8x
3y - 2xy = 8x
3y = 8x + 2xy = x(8 + 2y)
x =
2y
8
3y

ทาให้ y
2
8

 - 4
ดังนั้น Rr = { y / y  - 4 }
~ 26 ~
บัตรเนื้อหาที่ 3 (ต่อ)
เรื่อง โดเมนและเรนจ์ของความสัมพันธ์
วิธีทา 4. r =  
16
x
y)/y
(x, 2


การหาโดเมน เขียนในรูป y = f(x) นั่นคือ y = 16
x2

จาก y = 16
x2
 แสดงว่า y จะหาค่าได้ก็ต่อเมื่อ x2
– 16 > 0
( x - 4) ( x + 4 ) > 0
+ - +
– 4 4
นั่นคือ x < - 4 หรือ x > 4
ดังนั้น Dr = { x / x < - 4 หรือ x > 4 }
การหาเรนจ์เขียนใหม่ในรูป x = f(y)
จาก y = 16
x2

จะได้ y2
= x2
– 16 , y > 0
x2
= y2
+ 16 , y > 0
x = 16
y2
 , y > 0
x หาค่าได้เมื่อ y2
+ 16 > 0 นั่นคือ yR แต่ y > 0 ฉะนั้น y > 0
ดังนั้น Rr = { y / y > 0 }
~ 27 ~
บัตรกิจกรรมที่ 3.1 กิจกรรมหาโดเมนและเรนจ์
ให้นักเรียนหาโดเมนและเรนจ์ของความสัมพันธ์ต่อไปนี้
1. กาหนดให้ A = {5, 6, 7, 8, 9}, B = {3, 4, 5}
1) 4}
y
7,
B/x
A
y)
{(x,
r 




...........................................................................................................................................
...........................................................................................................................................
...........................................................................................................................................
2) 2}
x
A/y
A
y)
{(x,
r 




...........................................................................................................................................
...........................................................................................................................................
...........................................................................................................................................
3) }
x
B/y
B
y)
{(x,
r 



...........................................................................................................................................
...........................................................................................................................................
...........................................................................................................................................
2. กาหนดให้ A = {1, 3, 5, 6}, B = {-2, -1, 0, 1, 2, 3, 6}
1) }
3
x
B/y
A
y)
{(x,
r 




...........................................................................................................................................
...........................................................................................................................................
...........................................................................................................................................
2) 2x}
B/y
A
y)
{(x,
r 



...........................................................................................................................................
...........................................................................................................................................
...........................................................................................................................................
~ 28 ~
บัตรกิจกรรมที่ 3.2 กิจกรรมหาโดเมนและเรนจ์
1. จงหาโดเมนและเรนจ์ของความสัมพันธ์ต่อไปนี้
1) 9}
y
/x
I
I
y)
{(x,
r 



 
...........................................................................................................................................
...........................................................................................................................................
...........................................................................................................................................
2) 2x}
R/y
R
y)
{(x,
r 



...........................................................................................................................................
...........................................................................................................................................
...........................................................................................................................................
3) 2x}
I/y
I
y)
{(x,
r 



...........................................................................................................................................
...........................................................................................................................................
...........................................................................................................................................
4) }
x
2
I/y
I
y)
{(x,
r 



...........................................................................................................................................
...........................................................................................................................................
...........................................................................................................................................
5) }
x
1
I/y
I
y)
{(x,
r 2





...........................................................................................................................................
...........................................................................................................................................
...........................................................................................................................................
~ 29 ~
บัตรกิจกรรมที่ 3.3 กิจกรรมหาโดเมนและเรนจ์
จงหาโดเมนและเรนจ์ของความสัมพันธ์ต่อไปนี้
1)









2
x
3x
y)/y
(x,
r
...........................................................................................................................................
...........................................................................................................................................
...........................................................................................................................................
2)










7
2x
x
1
y)/y
(x,
r
...........................................................................................................................................
...........................................................................................................................................
...........................................................................................................................................
3)










2
x
2
x
y)/y
(x,
r
...........................................................................................................................................
...........................................................................................................................................
...........................................................................................................................................
4)  
36
x
y)/y
(x,
r 2



...........................................................................................................................................
...........................................................................................................................................
...........................................................................................................................................
5)









2
x
64
1
y)/y
(x,
r
...........................................................................................................................................
...........................................................................................................................................
...........................................................................................................................................
~ 30 ~
บัตรเฉลยกิจกรรมที่ 3.1 กิจกรรมหาโดเมนและเรนจ์
1. กาหนดให้ A = {5, 6, 7, 8, 9}, B = {3, 4, 5}
1) }
4
y
7,
B/x
A
y)
{(x,
r 




Dr = { 8, 9 }
Rr = { 4 }
2) 2}
x
A/y
A
y)
{(x,
r 




Dr = { 5, 6, 7 }
Rr = { 7, 8, 9 }
3) }
x
B/y
B
y)
{(x,
r 



Dr = { 3, 4, 5 }
Rr = { 3, 4, 5 }
2. กาหนดให้ A = {1, 3, 5, 6}, B = {-2, -1, 0, 1, 2, 3, 6}
1) 3}
x
B/y
A
y)
{(x,
r 




Dr = { 1, 3, 5, 6 }
Rr = { -2, 0, 2, 3 }
2) 2x}
B/y
A
y)
{(x,
r 



Dr = { 1, 3 }
Rr = { 2, 6 }
~ 31 ~
บัตรเฉลยกิจกรรมที่ 3.2 กิจกรรมหาโดเมนและเรนจ์
1. จงหาโดเมนและเรนจ์ของความสัมพันธ์ต่อไปนี้
1) 9}
y
/x
I
I
y)
{(x,
r 



 
Dr = { x I / x ≤ 8 }
Rr = { y I+
/ y ≤ 9 }
2) 2x}
R/y
R
y)
{(x,
r 



Dr = { x R }
Rr = { y R }
3) }
2x
I/y
I
y)
{(x,
r 



Dr = { x I }
Rr = { y I }
4) }
x
2
I/y
I
y)
{(x,
r 



Dr = { x I }
Rr = { y I+
}
5) }
x
1
I/y
I
y)
{(x,
r 2





Dr = { x I }
Rr = { y I / y  1 }
~ 32 ~
บัตรเฉลยกิจกรรมที่ 3.3 กิจกรรมหาโดเมนและเรนจ์
จงหาโดเมนและเรนจ์ของความสัมพันธ์ต่อไปนี้
1)









2
x
3x
y)/y
(x,
r
วิธีทา หาโดเมน จัด y ในรูป x ได้
2
x
3x
y


ดังนั้น Dr = { x R/ x ≠ - 2 }
หาเรนจ์ จัด x ในรูป y ได้ y(x + 2) = 3x
yx + 2y = 3x
yx – 3x = – 2y
x =
3
-
y
2y
-
ดังนั้น Rr = { y  R/ y ≠ 3 }
2)










7
2x
x
1
y)/y
(x,
r
วิธีทา หาโดเมน จัด y ในรูป x ได้
7
2x
x
-
1
y


ดังนั้น Dr = { x R/ x ≠
2
7
 }
หาเรนจ์ จัด x ในรูป y ได้ y(2x + 7) = 1 – x
2yx + 7y = 1 – x
2yx + x = 1 – 7y
x =
1
2y
7y
-
1

ดังนั้น Rr = { y  R /y ≠
2
1
 }
~ 33 ~
บัตรเฉลยกิจกรรมที่ 3.3 กิจกรรมหาโดเมนและเรนจ์(ต่อ)
3)










2
x
2
x
y)/y
(x,
r
วิธีทา หาโดเมน จัด y ในรูป x ได้
2
x
2
x
y



ดังนั้น Dr = { x R/ x ≠ - 2 }
Rr = { y  R/ y ≠ 0 }
4)  
36
x
y)/y
(x,
r 2



วิธีทา หาโดเมน จัด y ในรูป x ได้ 36
x
y 2

 แล้ว x2
– 36  0
(x – 6)(x + 6)  0
ดังนั้น Dr = { x R/ x ≥ 6 หรือ x ≤ - 6 }
Rr = { y  R/ y ≥ 0 }
5)









2
x
64
1
y)/y
(x,
r
วิธีทา หาโดเมน จัด y ในรูป x ได้ 2
x
-
64
1
y  แล้ว 64 – x2
> 0
x2
– 64 < 0
(x – 8)(x + 8) < 0
ดังนั้น Dr = { x R/ -8 < x < 8 }
Rr = { y  R/ y > 0 }

More Related Content

What's hot

ฟังก์ชันตรีโกณมติ 2014
ฟังก์ชันตรีโกณมติ 2014ฟังก์ชันตรีโกณมติ 2014
ฟังก์ชันตรีโกณมติ 2014Nattakarn Namsawad
 
การแก้ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร
การแก้ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปรการแก้ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร
การแก้ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปรพัน พัน
 
เรื่องที่6 โมเมนตัมและการชน
เรื่องที่6 โมเมนตัมและการชนเรื่องที่6 โมเมนตัมและการชน
เรื่องที่6 โมเมนตัมและการชนApinya Phuadsing
 
โครงงานเพคติน Power Point
โครงงานเพคติน Power Pointโครงงานเพคติน Power Point
โครงงานเพคติน Power Pointampornchai
 
ฟังก์ชันเชิงเส้น
ฟังก์ชันเชิงเส้นฟังก์ชันเชิงเส้น
ฟังก์ชันเชิงเส้นY'Yuyee Raksaya
 
เฉลยอินทิเกรต
เฉลยอินทิเกรตเฉลยอินทิเกรต
เฉลยอินทิเกรตkrurutsamee
 
ข้อสอบจำนวนจริง
ข้อสอบจำนวนจริงข้อสอบจำนวนจริง
ข้อสอบจำนวนจริงkruaunpwk
 
อนุพันธ์
อนุพันธ์อนุพันธ์
อนุพันธ์krurutsamee
 
ชีทสรุป ม.4 เทอม 2 โดยครูเนยวิภา.pdf
ชีทสรุป ม.4 เทอม 2 โดยครูเนยวิภา.pdfชีทสรุป ม.4 เทอม 2 โดยครูเนยวิภา.pdf
ชีทสรุป ม.4 เทอม 2 โดยครูเนยวิภา.pdfNoeyWipa
 
การประมาณค่า
การประมาณค่าการประมาณค่า
การประมาณค่าJiraprapa Suwannajak
 
เผยแพร่ผลงาน เรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
เผยแพร่ผลงาน เรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1เผยแพร่ผลงาน เรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
เผยแพร่ผลงาน เรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1pandachar
 

What's hot (20)

12การชนและโมเมนตัม
12การชนและโมเมนตัม12การชนและโมเมนตัม
12การชนและโมเมนตัม
 
19 จำนวนจริง ตอนที่6_เทคนิคการแก้อสมการ
19 จำนวนจริง ตอนที่6_เทคนิคการแก้อสมการ19 จำนวนจริง ตอนที่6_เทคนิคการแก้อสมการ
19 จำนวนจริง ตอนที่6_เทคนิคการแก้อสมการ
 
ฟังก์ชันตรีโกณมติ 2014
ฟังก์ชันตรีโกณมติ 2014ฟังก์ชันตรีโกณมติ 2014
ฟังก์ชันตรีโกณมติ 2014
 
การแก้ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร
การแก้ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปรการแก้ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร
การแก้ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร
 
การแก้ระบบสมการ
การแก้ระบบสมการการแก้ระบบสมการ
การแก้ระบบสมการ
 
เรื่องที่6 โมเมนตัมและการชน
เรื่องที่6 โมเมนตัมและการชนเรื่องที่6 โมเมนตัมและการชน
เรื่องที่6 โมเมนตัมและการชน
 
โครงงานเพคติน Power Point
โครงงานเพคติน Power Pointโครงงานเพคติน Power Point
โครงงานเพคติน Power Point
 
ฟังก์ชันเชิงเส้น
ฟังก์ชันเชิงเส้นฟังก์ชันเชิงเส้น
ฟังก์ชันเชิงเส้น
 
68 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่3_การจัดหมู่
68 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่3_การจัดหมู่68 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่3_การจัดหมู่
68 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่3_การจัดหมู่
 
linear function
linear functionlinear function
linear function
 
แบบฝึกทักษะ เรื่อง เอกนาม โดยครูวาสนา พูลศรี
แบบฝึกทักษะ เรื่อง เอกนาม โดยครูวาสนา พูลศรีแบบฝึกทักษะ เรื่อง เอกนาม โดยครูวาสนา พูลศรี
แบบฝึกทักษะ เรื่อง เอกนาม โดยครูวาสนา พูลศรี
 
เฉลยอินทิเกรต
เฉลยอินทิเกรตเฉลยอินทิเกรต
เฉลยอินทิเกรต
 
ข้อสอบจำนวนจริง
ข้อสอบจำนวนจริงข้อสอบจำนวนจริง
ข้อสอบจำนวนจริง
 
Matrix1
Matrix1Matrix1
Matrix1
 
อนุพันธ์
อนุพันธ์อนุพันธ์
อนุพันธ์
 
2แบบทดสอบระบบนิเวศ (ตอนที่ 2)
2แบบทดสอบระบบนิเวศ (ตอนที่ 2)2แบบทดสอบระบบนิเวศ (ตอนที่ 2)
2แบบทดสอบระบบนิเวศ (ตอนที่ 2)
 
ชีทสรุป ม.4 เทอม 2 โดยครูเนยวิภา.pdf
ชีทสรุป ม.4 เทอม 2 โดยครูเนยวิภา.pdfชีทสรุป ม.4 เทอม 2 โดยครูเนยวิภา.pdf
ชีทสรุป ม.4 เทอม 2 โดยครูเนยวิภา.pdf
 
การประมาณค่า
การประมาณค่าการประมาณค่า
การประมาณค่า
 
08งานและพลังงาน
08งานและพลังงาน08งานและพลังงาน
08งานและพลังงาน
 
เผยแพร่ผลงาน เรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
เผยแพร่ผลงาน เรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1เผยแพร่ผลงาน เรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
เผยแพร่ผลงาน เรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
 

Similar to 1.pdf

คณิตศาสตร์ ม.6 คู่ลำดับ
คณิตศาสตร์ ม.6 คู่ลำดับคณิตศาสตร์ ม.6 คู่ลำดับ
คณิตศาสตร์ ม.6 คู่ลำดับKruchuay
 
ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
ความสัมพันธ์และฟังก์ชันความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
ความสัมพันธ์และฟังก์ชันJiraprapa Suwannajak
 
คู่อันดับและผลคูณคาร์ทีเซียน
คู่อันดับและผลคูณคาร์ทีเซียนคู่อันดับและผลคูณคาร์ทีเซียน
คู่อันดับและผลคูณคาร์ทีเซียนkroojaja
 
สื่อเรื่องกราฟ
สื่อเรื่องกราฟสื่อเรื่องกราฟ
สื่อเรื่องกราฟKanchanid Kanmungmee
 
ระบบสมการเชิงเส้น
ระบบสมการเชิงเส้นระบบสมการเชิงเส้น
ระบบสมการเชิงเส้นkruthanapornkodnara
 
เอกสารความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชัน
เอกสารความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชันเอกสารความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชัน
เอกสารความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชันkrurutsamee
 
เอกสารลำดับอนันต์กำหนดการเชิงเส้น57
เอกสารลำดับอนันต์กำหนดการเชิงเส้น57เอกสารลำดับอนันต์กำหนดการเชิงเส้น57
เอกสารลำดับอนันต์กำหนดการเชิงเส้น57krurutsamee
 
สรุปสูตร ม.3
สรุปสูตร ม.3สรุปสูตร ม.3
สรุปสูตร ม.3krutew Sudarat
 
การแก้สมการ
การแก้สมการการแก้สมการ
การแก้สมการAon Narinchoti
 
เนื้อหาเมทริกซ์
เนื้อหาเมทริกซ์เนื้อหาเมทริกซ์
เนื้อหาเมทริกซ์Beer Aksornsart
 
Pre 7 วิชา ครั้งที่ 1
Pre  7 วิชา ครั้งที่ 1Pre  7 วิชา ครั้งที่ 1
Pre 7 วิชา ครั้งที่ 1Wanutchai Janplung
 

Similar to 1.pdf (20)

คณิตศาสตร์ ม.6 คู่ลำดับ
คณิตศาสตร์ ม.6 คู่ลำดับคณิตศาสตร์ ม.6 คู่ลำดับ
คณิตศาสตร์ ม.6 คู่ลำดับ
 
ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
ความสัมพันธ์และฟังก์ชันความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
 
คู่อันดับและผลคูณคาร์ทีเซียน
คู่อันดับและผลคูณคาร์ทีเซียนคู่อันดับและผลคูณคาร์ทีเซียน
คู่อันดับและผลคูณคาร์ทีเซียน
 
Math1
Math1Math1
Math1
 
สื่อเรื่องกราฟ
สื่อเรื่องกราฟสื่อเรื่องกราฟ
สื่อเรื่องกราฟ
 
ระบบสมการเชิงเส้น
ระบบสมการเชิงเส้นระบบสมการเชิงเส้น
ระบบสมการเชิงเส้น
 
ฟังก์ชัน
ฟังก์ชันฟังก์ชัน
ฟังก์ชัน
 
เอกสารความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชัน
เอกสารความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชันเอกสารความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชัน
เอกสารความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชัน
 
Ctms25812
Ctms25812Ctms25812
Ctms25812
 
trigo1.pdf
trigo1.pdftrigo1.pdf
trigo1.pdf
 
เอกสารลำดับอนันต์กำหนดการเชิงเส้น57
เอกสารลำดับอนันต์กำหนดการเชิงเส้น57เอกสารลำดับอนันต์กำหนดการเชิงเส้น57
เอกสารลำดับอนันต์กำหนดการเชิงเส้น57
 
ลิมิต
ลิมิตลิมิต
ลิมิต
 
สรุปสูตร ม.3
สรุปสูตร ม.3สรุปสูตร ม.3
สรุปสูตร ม.3
 
ลำดับ11
ลำดับ11ลำดับ11
ลำดับ11
 
การแก้สมการ
การแก้สมการการแก้สมการ
การแก้สมการ
 
เนื้อหาเมทริกซ์
เนื้อหาเมทริกซ์เนื้อหาเมทริกซ์
เนื้อหาเมทริกซ์
 
Pre 7 วิชา ครั้งที่ 1
Pre  7 วิชา ครั้งที่ 1Pre  7 วิชา ครั้งที่ 1
Pre 7 วิชา ครั้งที่ 1
 
Relation and function
Relation and functionRelation and function
Relation and function
 
Real
RealReal
Real
 
เอกสารประกอบการเรียนการสอน
เอกสารประกอบการเรียนการสอนเอกสารประกอบการเรียนการสอน
เอกสารประกอบการเรียนการสอน
 

1.pdf

  • 1. ~ 1 ~ ชุดกิจกรรม เรื่อง ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน ชุดกิจกรรมที่ 1 ความสัมพันธ์ โดเมนและเรนจ์ของความสัมพันธ์
  • 2. ~ 2 ~ ขั้นที่ 1 SEARCH : S ศึกษาข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับปัญหา และการแยกแยะประเด็นของปัญหา
  • 3. ~ 3 ~ บัตรเนื้อหาที่ 1 เรื่อง คู่อันดับ คู่อันดับเป็นการเรียงลาดับกันของสิ่งของสองสิ่ง นั่นคือคู่อันดับจะต้องมีคู่และมี อันดับ คู่อันดับแต่ละคู่ประกอบด้วยสมาชิกสองตัว คือ สมาชิกตัวหน้า และสมาชิกตัว หลัง การเป็นสมาชิกตัวหน้าและตัวหลังจะแสดงอันดับซึ่งมีความสาคัญมาก เช่น ถ้า เขียนคู่อันดับซึ่งแต่ละคู่อันดับสมาชิกตัวแรกแทนชื่อ และสมาชิกตัวหลังแทนอายุ เช่น (สมศรี, 15), (สมศักดิ์, 16) ถ้าสลับที่สมาชิกตัวหน้าและตัวหลัง เช่น (สมศรี, 15) ), (สมศักดิ์, 16) เป็น (15, สมศรี), (16, สมศักดิ์) สิ่งที่ได้ก็จะผิดความหมายที่กาหนดไว้ เดิม การเขียนคู่อันดับในคณิตศาสตร์มักเขียนในรูป b) (a, โดยที่ a เป็นสมาชิกตัว หน้า และb เป็นสมาชิกตัวหลัง โดยจะตกลงว่าคู่อันดับ b) (a, จะเท่ากับคู่อันดับ ) d (c, ก็ต่อเมื่อ c a  และ d b  นิยาม คู่อันดับ b) (a, = d) (c, ก็ต่อเมื่อ c a  และ d b  สมบัติของคู่อันดับ 1.     a b, b a,  ยกเว้น b a  2. ) b (a, = d) (c, ก็ต่อเมื่อ c a  และ d b  3.     d c, b a,  ก็ต่อเมื่อ c a  หรือ d b  ตัวอย่างที่ 1 เช่น (2 , 5) = ( 2, 3 + 2) แต่ (2, 5)  ( 5 , 2 ) (3 , 8) = y) (x, ก็ต่อเมื่อ x = 3 และ y = 8 (1 ,7)  (x, y) ก็ต่อเมื่อ x  1 หรือ y  7
  • 4. ~ 4 ~ บัตรเนื้อหาที่ 1 (ต่อ) เรื่อง คู่อันดับ ตัวอย่างที่ 2 (-15, 3y-1) = ( 3x , 20) ก็ต่อเมื่อค่าของ x และ y เท่ากับเท่าใด วิธีทา (-15, 3y-1) = ( 3x , 20) ก็ต่อเมื่อค่าของ 3x = -15 และ 3y – 1 = 20 x = -5 และ 3y = 20 + 1 = 21 x = -5 และ y = 3 21 = 7 ดังนั้น (-15, 3y-1) = ( 3x , 20) ก็ต่อเมื่อ x – 5 และ y = 7 ตัวอย่างที่ 3 ถ้า (x + 3y, 0) = ( 8 , x – y ) แล้ว ( 2x - 3y , x + 4y ) เท่ากับเท่าใด วิธีทา (x + 3y, 0) = ( 8 , x – y ) ก็ต่อเมื่อค่าของ x + 3y = 8 …………….(1) และ x - y = 0 …………….(2) (1) – (2) 4y = 8 y = 2 แทนค่า y = 2 ในสมการ (2) จะได้ x = 2 ดังนั้น ( 2x – 3y , x + 4) = (2(2) – 3(2) , 2 + 4(2)) = ( -2, 10) ตัวอย่างที่ 4 ( 6 , 3y )  (x , 12 ) ก็ต่อเมื่อการสรุปเกี่ยวกับ x และ y เป็นอย่างไร วิธีทา ( 6 , 3y )  ( x , 12 ) ก็ต่อเมื่อ 6  x หรือ 3y  12 y  4 ดังนั้น ( 6 , 3y )  (x , 12 ) ก็ต่อเมื่อการสรุปเกี่ยวกับ x และ y คือ x  6 หรือ y  4
  • 5. ~ 5 ~ บัตรกิจกรรมที่ 1.1 กิจกรรมคู่อันดับทาได้ไหม 1. 2) y 6, ( 3,8) (x     ก็ต่อเมื่อค่าของ x และ y มีค่าเท่ากับเท่าใด ........................................................................................................................................... ........................................................................................................................................... ........................................................................................................................................... 2. 2) (a, 1) b 5, (    ก็ต่อเมื่อ a หรือ b มีค่าเท่าใด ........................................................................................................................................... ........................................................................................................................................... ........................................................................................................................................... 3. m) (n, n) (m,  ดังนั้น ................... = .......................... 4. y) x (10, y,6) x (    ก็ต่อเมื่อค่าของ x และ y มีค่าเท่ากับเท่าใด ........................................................................................................................................... ........................................................................................................................................... ........................................................................................................................................... ........................................................................................................................................... 5. ถ้า y) 3y, (x 2y) 6,3x (    แล้ว ) y 5y,3x (x   เท่ากับเท่าใด ........................................................................................................................................... ........................................................................................................................................... ...........................................................................................................................................
  • 6. ~ 6 ~ บัตรกิจกรรมที่ 1.2 กิจกรรมคู่อันดับทาได้ไหม 1. ) 1 y (12, 3) 7, x (     ก็ต่อเมื่อค่าของ x และ y มีค่าเท่ากับเท่าใด ........................................................................................................................................... ........................................................................................................................................... ........................................................................................................................................... 2. ) 3 2, (a 2) b (3,     ก็ต่อเมื่อ a หรือ b มีค่าเท่าใด .......................................................................................................................................... ........................................................................................................................................... ........................................................................................................................................... 3. ) w (z, z) (w,  ดังนั้น ................... = .......................... 4. y) x (13, y,3) (x    ก็ต่อเมื่อค่าของ x และ y มีค่าเท่ากับเท่าใด ........................................................................................................................................... ........................................................................................................................................... ........................................................................................................................................... 5. ถ้า 2y,20) (x 2y) 7,2x (    แล้ว ) y 4y,2x x (   เท่ากับเท่าใด ........................................................................................................................................... ........................................................................................................................................... ...........................................................................................................................................
  • 7. ~ 7 ~ บัตรเฉลยกิจกรรมที่ 1.1 กิจกรรมคู่อันดับทาได้ไหม 1. 2) y 6, ( 3,8) (x     ก็ต่อเมื่อค่าของ x และ y มีค่าเท่ากับเท่าใด x + 3 = - 6 และ 8 = y + 2 x + 3 - 3 = - 6 - 3 และ 8 – 2 = y + 2 - 2 x = - 9 และ y = 6 2. 2) (a, 1) b 5, (    ก็ต่อเมื่อ a หรือ b มีค่าเท่าใด 5 ≠ a หรือ b + 1 ≠ - 2 b ≠ -3 3. m) (n, n) (m,  ดังนั้น m ≠ n หรือ n ≠ m 4. y) x (10, y,6) x (    ก็ต่อเมื่อค่าของ x และ y มีค่าเท่ากับเท่าใด x + y = 10 …………….(1) และ x - y = 6 …………….(2) (1) – (2) 2y = 4 y = 2 แทนค่า y = 2 ในสมการ (1) จะได้ x = 8 ดังนั้น ( x + y , 6 ) = ( 10 , x – y ) ก็ต่อเมื่อ (x, y) = ( 8, 2 ) 5. ถ้า y) 3y, (x 2y) 6,3x (    แล้ว ) y 5y,3x (x   เท่ากับเท่าใด x - 3y = 6 …………….(1) และ 3x + 2y = y นั่นคือ 3x + y = 0 …………….(2) (1) คูณ 3 ได้ 3x – 9y = 18…………….(3) (2) – (3) 10y = -18 ได้ y = - 1.8 แทนค่า y = - 1.8 ในสมการ (2) 3x + (-1.8) = 0 จะได้ x = 0.6 ดังนั้น ( x + 5y , 3x – y ) = (0.6 + 5(- 1.8) , 3(0.6) – (- 1.8)) = ( - 8.4, 3.6 )
  • 8. ~ 8 ~ บัตรเฉลยกิจกรรมที่ 1.2 กิจกรรมคู่อันดับทาได้ไหม 1. ) 1 y (12, 3) 7, x (     ก็ต่อเมื่อค่าของ x และ y มีค่าเท่ากับเท่าใด x + 7 = 12 และ – 3 = y – 1 x + 7 - 7 = 12 - 7 และ - 3 + 1 = y – 1 + 1 x = 5 และ y = - 2 2. ) 3 2, (a 2) b (3,     ก็ต่อเมื่อ a หรือ b มีค่าเท่าใด 3 ≠ a + 2 หรือ b + 2 ≠ - 3 - 1 ≠ a หรือ b ≠ - 5 3. ) w (z, z) (w,  ดังนั้น w ≠ z หรือ z ≠ w 4. y) x (13, y,3) (x    ก็ต่อเมื่อค่าของ x และ y มีค่าเท่ากับเท่าใด x + y = 13 …………….(1) และ x - y = 3 …………….(2) (1) – (2) 2y = 10 y = 5 แทนค่า y = 5 ในสมการ (1) จะได้ x = 8 ดังนั้น ( x + y , 3 ) = ( 13 , x – y ) ก็ต่อเมื่อ (x, y) = ( 8, 5 ) 5. ถ้า 2y,20) (x 2y) 7,2x (    แล้ว ) y 4y,2x x (   เท่ากับเท่าใด x - 2y = 7 …………….(1) และ 2x + 2y = 20 ...………….(2) (1) + (2) 3x = 27 ได้ x = 9 แทนค่า x = 9 ในสมการ (1) จะได้ y = 1 ดังนั้น ( x + 4y , 2x – y ) = ( 9 + 4(1) , 2(9) – 1) = ( 13, 17 )
  • 9. ~ 9 ~ บัตรเนื้อหาที่ 2 เรื่อง ผลคูณคาร์ทีเชียน ผลคูณคาร์ทีเซียนของ A และ B เขียนแทนด้วย ด้วย A  B นั่นคือ ถ้าให้ A = {a,b} , B = {1,2,3} แล้ว A  B = { (a,1),(a,2),(a,3),(b,1),(b,2),(b,3)} สามารถเขียน A  B โดยวิธีกาหนดเงื่อนไขของสมาชิกดังนี้ A  B = { (x,y) / x  A และ yB} นอกจากนี้การใช้แผนภาพต้นไม้ต่อไปนี้จะช่วยในการหาคู่อันดับของ A  B ได้ดังนี้ A B A  B 1 ( a,1 ) a 2 ( a,2 ) 3 ( a,3 ) 1 ( b,1 ) b 2 ( b,2 ) 3 ( b,3 ) ดังนั้น A  B = { (a,1),(a,2),(a,3),(b,1),(b,2),(b,3)} ตัวอย่างที่ 1 กาหนด A = {1,4} , B = { } , และ C =  จงหา A B , A  C , B  B , B  C , C  C วิธีทา A  B = { (1,  ) , (4 ,  )} A  C =  B  B = { ( , ) } B  C =  C  C = 
  • 10. ~ 10 ~ บัตรเนื้อหาที่ 2 (ต่อ) เรื่อง ผลคูณคาร์ทีเชียน ตัวอย่างที่ 2 กาหนด A = {0,{0}} , B = {0,1,  } และ C = {1} จงหา 1) A(B C) 2) (AB) (AC) 3) A(B C) 4) (AB) (AC) 5) (A – B)C 6) (A  C) – (B  C) 7) A(B C) = (AB) (AC) หรือไม่ 8) A(B C) = (AB) (AC) หรือไม่ 9) (A – B)C = (A  C) – (B  C) หรือไม่ วิธีทา 1) (B C) = {1} A  (B C) = {(0,1) , ({0} ,1)} 2) A B = { (0,0) , (0,1),(0,  ),({0},0),({0},1),({0},  )} A  C = { (0,1) , ({0} , 1 ) } (A  B ) ( A  C ) = { (0 , 1) , ({0},1)} 3) B C = { 0, 1,  } A  ( B C) = {(0, 0), (0, 1), ( 0,  ), ({0},0), ({0},1), ({0},  )} 4) (AB)  (AC) = {(0,0), (0,1), ( 0,  ), ({0},0), ({0},1) ,({0},  ) 5) (A – B) = {{0}} (A – B)  C = {({0}, 1)} 6) (A C) = {(0,1), ({0},1)} (B C) = {(0,1), (1,1), ( ,1)} (A C) – ( B  C) = { ({0},1)}
  • 11. ~ 11 ~ บัตรเนื้อหาที่ 2 (ต่อ) เรื่อง ผลคูณคาร์ทีเชียน 7) A(B C) = (AB) (AC) หรือไม่ ตอบ เท่ากัน 8) A(B C) = (AB) (AC) หรือไม่ ตอบ เท่ากัน 9) (A – B)C = (A  C) – (B  C) หรือไม่ ตอบ เท่ากัน ตัวอย่างที่ 3 กาหนด A = {1,2,3, … ,20} , B = {18,19,20, ... , 30} และ C = {20,21,22, … ,40} จงหา n[(AB) (A  C)] วิธีทา เนื่องจาก (A B ) ( A x C ) = A  ( B C) n[(A B)  (A  C)] = n[ A  (B C)] = n(A)  n(B C) จากโจทย์จะได้ n(A) = 20 B C = { 20,21,22, … ,30} n(B C) = 11 ฉะนั้น n[(A B)  (A  C)] = n(A)  n(B C) = 20  11 = 220
  • 12. ~ 12 ~ บัตรเนื้อหาที่ 2 (ต่อ) เรื่อง ผลคูณคาร์ทีเชียน สมบัติของผลคูณคาร์ทีเชียน ให้ A, B และ C เป็นเซตใดๆจะได้ว่า 1. A  B =  ก็ต่อเมื่อ A =  หรือ B =  2. โดยทั่วไป AB ≠ B  A A  B = B  A ก็ต่อเมื่อ A = B หรือ A =  หรือ B =  3. ถ้า A  B = A  C และ A =  แล้ว B = C 4. ถ้า A เป็นเซตจากัดซึ่ง A =  และ B เป็นเซตอนันต์ แล้ว A  B และ B  A เป็นเซตอนันต์ 5. ถ้า A และ B เป็นเซตอนันต์ แล้ว A  B และ B  A เป็นเซตอนันต์ 6. เมื่อ A และ B เป็นเซตจากัด n(A  B) = n(B  A) = n(A)  n(B) 7. ถ้า A  B แล้ว A  C  B  C 8. ถ้า A  B แล้ว C  D แล้ว A  C  B  D 9. ถ้า A =  และ A  B  A  C แล้ว B C 10. A  ( B C ) = ( AB )  ( A  C ) 11. A  ( B C ) = ( A  B )  ( A  C ) 12. A  (B – C) = (A  B) – (A  C) 13. (A  B ) ( B  A ) = (A  B)  ( A  B )
  • 13. ~ 13 ~ บัตรกิจกรรมที่ 2.1 กิจกรรมหาผลคูณคาร์ทีเชียน นักเรียนหาผลคูณคาร์ทีเซียนต่อไปนี้ 1. กาหนดให้ A = { 0, 3}, B = { 0, 5} จะได้ A  A = …………………………………………………………………… A  B = …………………………………………………………………… B  A = …………………………………………………………………… B  B = …………………………………………………………………… n(A  B) = ………………………………………………………………… 2. กาหนดให้ A = {1, 2}, B =  และ C = { } จะได้ A  B = …………………………………………………………………… A  C = …………………………………………………………………… B  C = …………………………………………………………………… C  C = …………………………………………………………………… 3. กาหนดให้ A = {1, 2, 3} , B = {5, 6} และ C = {6, 7, 8} จงหา 1. A  (B – C) ………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………… 2. (A  B) – (A  C) ………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………… 3. n[A  (B C)] ………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………… 4. n[(A  B) C] ………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………
  • 14. ~ 14 ~ บัตรกิจกรรมที่ 2.2 กิจกรรมหาผลคูณคาร์ทีเชียน นักเรียนหาผลคูณคาร์ทีเซียนต่อไปนี้ 1. กาหนดให้ A = {2,3} , B = {1,5,7} 1.1 AA = ………………………………………………………………………… 1.2 AB = ………………………………………………………………………… 1.3 BA = ………………………………………………………………………… 2. กาหนดให้ A = {a,b,c} , B = {0,1,2,3} จงหาผลคูณคาร์ทีเซียน 2.1 AB = ………………………………………………………………………… 2.2 BA = ………………………………………………………………………… 2.3 BB = ………………………………………………………………………… 3. จงพิจารณาว่าในแต่ละข้อถูกหรือผิด โดยใส่เครื่องหมาย  หรือ  ลงหน้าข้อในแต่ละข้อ 1. A = {1, 2 } , B = { 3, 4, 5 } แล้ว n(AB) = 6 2. A = { a, b, c } , B =  แล้ว n(AB) = 3 3. A = { 0 }, B = { 0,  } และ C =  แล้ว AC  BC 4. เมื่อ A และ B เป็นเซตจากัดแล้ว n(AB) = n(BA) 5. ถ้า A เป็นเซตอนันต์และ B เป็นเซตจากัด โดยที่ B   แล้ว AB เป็นเซตอนันต์
  • 15. ~ 15 ~ เฉลยบัตรกิจกรรมที่ 2.1 กิจกรรมหาผลคูณคาร์ทีเชียน นักเรียนหาผลคูณคาร์ทีเซียนต่อไปนี้ 1. กาหนดให้ A = { 0, 3}, B = { 0, 5} จะได้ A  A = { (0,0), (0,3), (3,0), (3,3) } A  B = { (0,0), (0,5), (3,0), (3,5) } B  A = { (0,0), (0,3), (5,0), (5,3) } B  B = { (0,0), (0,5), (5,0), (5,5) } n(A  B) = 2 × 2 = 4 , n (B×A) = 2×2 = 4 2. กาหนดให้ A = {1, 2}, B =  และ C = { } จะได้ A  B = { } หรือ  A  C = { (1,  ), (2,  ) } B  C = { } C  C = {( , )} 3. กาหนดให้ A = {1, 2, 3} , B = {5, 6} และ C = {6, 7, 8} จงหา 1. A  (B – C) วิธีทา B – C = { 5 } A × (B – C) = { 1, 2, 3} × { 5} = { (1,5), (2,5), (3,5) } 2. (A  B) – (A  C) วิธีทา A × B = { (1,5), (1,6), (2,5), (2,6), (3,5), (3,6) } A × C = { (1,6), (1,7), (1,8), (2,5), (2,6), (2,8), (3,5), (3,6), (2,8)} (A × B) – (A × C) = { (1,5) } 3. n[A  (B C)] วิธีทา = n(A) × n (B C) = 3 × 4 = 12 4. n[(A  B) C] วิธีทา = n(A B) × n (C) = 5 × 3 = 15
  • 16. ~ 16 ~ × × เฉลยบัตรกิจกรรมที่ 2.2 กิจกรรมหาผลคูณคาร์ทีเชียน นักเรียนหาผลคูณคาร์ทีเซียนต่อไปนี้ 1. กาหนดให้ A = {2,3} , B = {1,5,7} 1.1 AA = { (2,2),(2,3),(3,2),(3,3) } 1.2 AB = { (2,1),(2,5),(2,7),(3,1),(3,5),(3,7) } 1.3 BA = { (1,2),(1,3),(5,2),(5,3),(7,2),(7,3) } 2. กาหนดให้ A = {a,b,c} , B = {0,1,2,3} จงหาผลคูณคาร์ทีเซียน 2.1 AB = { (a,0),(a,1),(a,2),(a,3),(b,0),(b,1),(b,2),(b,3),(c,0),(c,1),(c,2),(c,3) } 2.2 BA = { (0,a),(0,b),(0,c),(1,a),(1,b),(1,c),(2,a),(2,b),(2,c),(3,a),(3,b),(3,c) } 2.3 BB = { (0,0),(0,1),(0,2),(0,3),(1,0),(1,1),(1,2),(1,3),(2,0),(2,1),(2,2),(2,3), (3,0),(3,1),(3,2),(3,3) } 3. 3. จงพิจารณาว่าในแต่ละข้อถูกหรือผิด โดยใส่เครื่องหมาย  หรือ  ลงหน้าข้อในแต่ละข้อ 1. A = {1, 2 } , B = { 3, 4, 5 } แล้ว n(AB) = 6 2. A = { a, b, c } , B =  แล้ว n(AB) = 3 3. A = { 0 }, B = { 0,  } และ C =  แล้ว AC  BC 4. เมื่อ A และ B เป็นเซตจากัดแล้ว n(AB) = n(BA) 5. ถ้า A เป็นเซตอนันต์และ B เป็นเซตจากัด โดยที่ B   แล้ว AB เป็นเซตอนันต์   
  • 17. ~ 17 ~ บัตรเนื้อหาที่ 3 เรื่อง โดเมนและเรนจ์ของความสัมพันธ์ นิยาม r เป็นความสัมพันธ์จาก A ไป B ก็ต่อเมื่อ r เป็นสับเซตของ A  B ตัวอย่างที่ 1 ให้A = {2,4} และ B = {2,4,6,8} จงเขียนความสัมพันธ์ต่อไปนี้ ในรูปเซตแบบแจกแจงสมาชิกและบอกเงื่อนไขของสมาชิก r1 คือความสัมพันธ์ “ หารลงตัว ” จาก A ไป B r2 คือความสัมพันธ์ “ เป็นครึ่งหนึ่ง ” จาก B ไป A r3 คือความสัมพันธ์ “ เป็นสองเท่า ” จาก A ไป A วิธีทา r1 เป็นสับเซตของ A  B จะได้ เซตแบบแจกแจงสมาชิก r1 = {(2,2),(2,4),(2,6),(2,8),(4,4),(4,8)} เซตบอกเงื่อนไขของสมาชิก r1 = {(x,y)  A  B / x หาร y ลงตัว} r2 เป็นสับเซตของ B  A จะได้ เซตแบบแจกแจงสมาชิก r2 = {(2,4)} เซตบอกเงื่อนไขของสมาชิก r2 = {(x,y)  B  A / x = 2 y } r3 เป็นสับเซตของ A  A จะได้ เซตแบบแจกแจงสมาชิก r3 = {(4,2)} เซตบอกเงื่อนไขของสมาชิก r3 = {(x,y)  A  A / x = 2y}
  • 18. ~ 18 ~ บัตรเนื้อหาที่ 3 (ต่อ) เรื่อง โดเมนและเรนจ์ของความสัมพันธ์ นิยาม ให้ r เป็นความสัมพันธ์จาก A ไป B โดเมนของ r คือ เซตของสมาชิกตัว หน้าของคู่อันดับใน r เขียนแทนด้วย Dr ให้ A = {1,2,3,4} B = {a,b,c,d} และ r = {(2,a),(3,b),(4,c)} ถ้าเรานาสมาชิกตัวหน้าของทุกคู่อันดับใน r มาเขียนเป็นสมาชิกของเซต เราเรียก เซตใหม่นี้ว่าโดเมนของ r นั่นคือ โดเมนของ r = {2,3,4} หรือเขียนแทนด้วย Dr={2,3,4} และนาสมาชิกตัวหลังของทุกคู่อันดับใน r มาเขียนเป็นสมาชิกของเซต เราเรียก เซตใหม่นี้ว่าเรนจ์ของ r นั่นคือ เรนจ์ของ r = {a,b,c} หรือเขียนแทนด้วย Rr = {a,b,c} เขียน Dr และ Rr ในรูปเซตแบบบอกเงื่อนไขได้ดังนี้ Dr = {x / (x,y)r} Rr = {y / (x,y)r} ตัวอย่างที่ 1 จงหาโดเมนและเรนจ์ของความสัมพันธ์ต่อไปนี้ r1 = {(-1,1),(-2,2),(-3,3),(-4,4)} r2 = {(4,a),(5,b),(6,c)} วิธีทา r1 = {(-1,1),(-2,2),(-3,3),(-4,4)} 1 r D = {-1,-2,-3,-4} 1 r R = {1,2,3,4} r2 = {(4,a),(5,b),(6,c)} 2 r D = {4,5,6} 2 r R = {a,b,c}
  • 19. ~ 19 ~ บัตรเนื้อหาที่ 3 (ต่อ) เรื่อง โดเมนและเรนจ์ของความสัมพันธ์ ตัวอย่างที่ 2 ให้ A = {1,2,3,4,5,6,7,8,9} และ r = {(x,y)AA / y = x2 } จงหาโดเมนและเรนจ์ วิธีทา A = {1,2,3,4,5,6,7,8,9} r = {(x,y)A A / y = x2 } r = {(1,1),(2,4),(3,9)} ดังนั้น Dr = {1,2,3} Rr = {1,4,9} การหาโดเมนและเรนจ์ของความสัมพันธ์ที่กาหนดในเซตแบบบอกเงื่อนไขที่ไม่ สามารถแจกแจงสมาชิกของเซตได้หมดทุกตัวคือ วิธีที่ 1 พิจารณาโดเมนและเรนจ์จากกราฟของความสัมพันธ์ วิธีที่ 2 พิจารณาจากสมการของความสัมพันธ์ดังนี้ การหาโดเมน เขียนความสัมพันธ์โดยจัด y ในรูปของ x นั่นคือ y = f(x) แล้ว พิจารณาค่าของ x ที่ทาให้ y เป็นจริงตามเงื่อนไขในเซตที่กาหนด การหาเรนจ์ เขียนความสัมพันธ์โดยจัด x ในรูปของ y นั่นคือ x = f(y) แล้ว พิจารณาค่าของ y ที่ทาให้ x เป็นจริงตามเงื่อนไขในเซตที่กาหนด
  • 20. ~ 20 ~ บัตรเนื้อหาที่ 3 (ต่อ) เรื่อง โดเมนและเรนจ์ของความสัมพันธ์ ตัวอย่างที่ 3 จงหาโดเมนและเรนจ์ของความสัมพันธ์ต่อไปนี้ 1) r = {(x,y)RR / y = x + 5 } 2) r = {(x,y)RR / y = x2 – 4 } 3) r = {(x,y)RR / y = 9 – x2 } วิธีทา 1) r = {(x,y)RR / y = x + 5 } วิธีที่ 1 พิจารณาจากกราฟของความสัมพันธ์ y จากกราฟ พบว่า จุดทุกจุดบนแกน x และ ทุกจุดบนแกน y สามารถเขียนกราฟของ y = x + 5 แสดงว่า Dr = { x / xR } Rr = { y / yR } หรือ Dr = Rr = { x / xR } หรือ Dr = Rr = { y / yR } วิธีที่ 2 พิจารณาจากสมการของความสัมพันธ์ y = x + 5 จากความสัมพันธ์ พบว่าไม่ว่าจะแทนค่า x ด้วยจานวนจริงใด ๆ สามารถหาค่า y ที่เป็นจริงสอดคล้อง กับสมการ y = x + 5 ได้เสมอ x
  • 21. ~ 21 ~ บัตรเนื้อหาที่ 3 (ต่อ) เรื่อง โดเมนและเรนจ์ของความสัมพันธ์ วิธีทา 2) r = {(x,y)RR / y = x2 – 4 } วิธีที่ 1 พิจารณาจากกราฟของความสัมพันธ์ y = x2 – 4 y จากกราฟ พบว่าจุดทุกจุดบนแกน x และ เขียนกราฟของ y = x2 – 4 ได้เสมอ แสดงว่า Dr = { x / xR } จากกราฟ พบว่าจุดทุกจุดบนแกน y ที่ y > - 4 สามารถเขียนกราฟของ y = x2 – 4 ได้เสมอ แสดงว่า Rr = { y / y > - 4 } วิธีที่ 2 พิจารณาจากสมการของความสัมพันธ์ y = x2 – 4 จากความสัมพันธ์ y = x2 จะได้y > 0 สาหรับทุก xR ดังนั้น ถ้าความสัมพันธ์ y = x2 – 4 จะได้y > 0 - 4 สาหรับทุก xR ฉะนั้น Dr = { x / xR } หรือ y > - 4 สาหรับทุก xR Rr = { y / y > - 4 } x
  • 22. ~ 22 ~ บัตรเนื้อหาที่ 3 (ต่อ) เรื่อง โดเมนและเรนจ์ของความสัมพันธ์ วิธีทา 3) r = {(x,y)RR / y = 9 – x2 } วิธีที่ 1 พิจารณาจากกราฟของความสัมพันธ์ y จากกราฟ พบว่าจุดทุกจุดบนแกน x สามารถ เขียนกราฟ y = 9 – x2 ได้เสมอ ฉะนั้น Dr = { x / xR } จากกราฟ พบว่าจุดทุกจุดบนแกน y ที่ y < 9 สามารถเขียนกราฟของ y = 9 – x2 ได้เสมอ แสดงว่า Rr = { y / y < 9 } วิธีที่ 2 พิจารณาจากสมการของความสัมพันธ์ y = 9 – x2 จากความสัมพันธ์ y = –x2 จะได้y < 0 สาหรับทุก xR ดังนั้น ถ้าความสัมพันธ์ y = –x2 + 9 จะได้y < 9 สาหรับทุก xR ฉะนั้น Dr = { x / xR } Rr = { y / y < 9 } x
  • 23. ~ 23 ~ บัตรเนื้อหาที่ 3 (ต่อ) เรื่อง โดเมนและเรนจ์ของความสัมพันธ์ ตัวอย่างที่ 4 จงหาโดเมนและเรนจ์ของความสัมพันธ์ต่อไปนี้ 1. r = { (x,y) / y = x } 2. r = { (x,y) / y = 4  x } 3. r = { (x,y) / y = x + 4 } 4. r = { (x,y) / y = 1 2  x + 4 } วิธีทา 1. r = { (x,y) / y = x } Dr = { x / xR } Rr = { y / y > 0} 2. r = { (x,y) / y = 4  x } Dr = { x / xR } Rr = { y / y > 0} 3. r = { (x,y) / y = x + 4 } Dr = { x / xR } Rr = { y / y > 4} 4. r = { (x,y) / y = 1 2  x + 4 } Dr = { x / xR } Rr = { y / y > 4}
  • 24. ~ 24 ~ บัตรเนื้อหาที่ 3 (ต่อ) เรื่อง โดเมนและเรนจ์ของความสัมพันธ์ ตัวอย่างที่ 5 จงหาโดเมนและเรนจ์ของความสัมพันธ์ต่อไปนี้ 1. r =        x 1 y)/y (x, 2. r =         4 x 3 y)/y (x, 3. r =         2x 3 8x y)/y (x, 4. r =   16 x y)/y (x, 2   วิธีทา 1. r =        x 1 y)/y (x, การหาโดเมน เขียนในรูป y = f(x) นั่นคือ y = x 1 ดังนั้น Dr = { x / x  0 } เพราะว่า x = 0 ทาให้ไม่มีค่า y ในระบบจานวนจริงที่จะทาให้ y = x 1 เป็นจริง หรือ Dr = R – {0} Rr = { y / y  0 } เพราะว่าจาก y = x 1 เขียนใหม่ในรูป x = f(y) เป็น x = y 1 จะได้ y  0 หรือ Rr = R – {0}
  • 25. ~ 25 ~ บัตรเนื้อหาที่ 3 (ต่อ) เรื่อง โดเมนและเรนจ์ของความสัมพันธ์ วิธีทา 2. r =         4 x 3 y)/y (x, การหาโดเมน เขียนในรูป y = f(x) นั่นคือ y = 4 x 3  ดังนั้น Dr = { x / x  4 } เพราะว่า x - 4  0 ดังนั้น x  4 การหาเรนจ์เขียนใหม่ในรูป x = f(y) จะได้ x – 4 = y 3 x = y 3 + 4 นั่นคือ y  0 ดังนั้น Rr = { y / y  0 } วิธีทา 3. r =         2x 3 8x y)/y (x, การหาโดเมน เขียนในรูป y = f(x) นั่นคือ y = x 2 3 8x  จะได้ x  2 3 และ x 2 3   ดังนั้น Dr = { x / x  2 3 } การหาเรนจ์เขียนใหม่ในรูป x = f(y) จะได้ y(3 – 2x) = 8x 3y - 2xy = 8x 3y = 8x + 2xy = x(8 + 2y) x = 2y 8 3y  ทาให้ y 2 8   - 4 ดังนั้น Rr = { y / y  - 4 }
  • 26. ~ 26 ~ บัตรเนื้อหาที่ 3 (ต่อ) เรื่อง โดเมนและเรนจ์ของความสัมพันธ์ วิธีทา 4. r =   16 x y)/y (x, 2   การหาโดเมน เขียนในรูป y = f(x) นั่นคือ y = 16 x2  จาก y = 16 x2  แสดงว่า y จะหาค่าได้ก็ต่อเมื่อ x2 – 16 > 0 ( x - 4) ( x + 4 ) > 0 + - + – 4 4 นั่นคือ x < - 4 หรือ x > 4 ดังนั้น Dr = { x / x < - 4 หรือ x > 4 } การหาเรนจ์เขียนใหม่ในรูป x = f(y) จาก y = 16 x2  จะได้ y2 = x2 – 16 , y > 0 x2 = y2 + 16 , y > 0 x = 16 y2  , y > 0 x หาค่าได้เมื่อ y2 + 16 > 0 นั่นคือ yR แต่ y > 0 ฉะนั้น y > 0 ดังนั้น Rr = { y / y > 0 }
  • 27. ~ 27 ~ บัตรกิจกรรมที่ 3.1 กิจกรรมหาโดเมนและเรนจ์ ให้นักเรียนหาโดเมนและเรนจ์ของความสัมพันธ์ต่อไปนี้ 1. กาหนดให้ A = {5, 6, 7, 8, 9}, B = {3, 4, 5} 1) 4} y 7, B/x A y) {(x, r      ........................................................................................................................................... ........................................................................................................................................... ........................................................................................................................................... 2) 2} x A/y A y) {(x, r      ........................................................................................................................................... ........................................................................................................................................... ........................................................................................................................................... 3) } x B/y B y) {(x, r     ........................................................................................................................................... ........................................................................................................................................... ........................................................................................................................................... 2. กาหนดให้ A = {1, 3, 5, 6}, B = {-2, -1, 0, 1, 2, 3, 6} 1) } 3 x B/y A y) {(x, r      ........................................................................................................................................... ........................................................................................................................................... ........................................................................................................................................... 2) 2x} B/y A y) {(x, r     ........................................................................................................................................... ........................................................................................................................................... ...........................................................................................................................................
  • 28. ~ 28 ~ บัตรกิจกรรมที่ 3.2 กิจกรรมหาโดเมนและเรนจ์ 1. จงหาโดเมนและเรนจ์ของความสัมพันธ์ต่อไปนี้ 1) 9} y /x I I y) {(x, r       ........................................................................................................................................... ........................................................................................................................................... ........................................................................................................................................... 2) 2x} R/y R y) {(x, r     ........................................................................................................................................... ........................................................................................................................................... ........................................................................................................................................... 3) 2x} I/y I y) {(x, r     ........................................................................................................................................... ........................................................................................................................................... ........................................................................................................................................... 4) } x 2 I/y I y) {(x, r     ........................................................................................................................................... ........................................................................................................................................... ........................................................................................................................................... 5) } x 1 I/y I y) {(x, r 2      ........................................................................................................................................... ........................................................................................................................................... ...........................................................................................................................................
  • 29. ~ 29 ~ บัตรกิจกรรมที่ 3.3 กิจกรรมหาโดเมนและเรนจ์ จงหาโดเมนและเรนจ์ของความสัมพันธ์ต่อไปนี้ 1)          2 x 3x y)/y (x, r ........................................................................................................................................... ........................................................................................................................................... ........................................................................................................................................... 2)           7 2x x 1 y)/y (x, r ........................................................................................................................................... ........................................................................................................................................... ........................................................................................................................................... 3)           2 x 2 x y)/y (x, r ........................................................................................................................................... ........................................................................................................................................... ........................................................................................................................................... 4)   36 x y)/y (x, r 2    ........................................................................................................................................... ........................................................................................................................................... ........................................................................................................................................... 5)          2 x 64 1 y)/y (x, r ........................................................................................................................................... ........................................................................................................................................... ...........................................................................................................................................
  • 30. ~ 30 ~ บัตรเฉลยกิจกรรมที่ 3.1 กิจกรรมหาโดเมนและเรนจ์ 1. กาหนดให้ A = {5, 6, 7, 8, 9}, B = {3, 4, 5} 1) } 4 y 7, B/x A y) {(x, r      Dr = { 8, 9 } Rr = { 4 } 2) 2} x A/y A y) {(x, r      Dr = { 5, 6, 7 } Rr = { 7, 8, 9 } 3) } x B/y B y) {(x, r     Dr = { 3, 4, 5 } Rr = { 3, 4, 5 } 2. กาหนดให้ A = {1, 3, 5, 6}, B = {-2, -1, 0, 1, 2, 3, 6} 1) 3} x B/y A y) {(x, r      Dr = { 1, 3, 5, 6 } Rr = { -2, 0, 2, 3 } 2) 2x} B/y A y) {(x, r     Dr = { 1, 3 } Rr = { 2, 6 }
  • 31. ~ 31 ~ บัตรเฉลยกิจกรรมที่ 3.2 กิจกรรมหาโดเมนและเรนจ์ 1. จงหาโดเมนและเรนจ์ของความสัมพันธ์ต่อไปนี้ 1) 9} y /x I I y) {(x, r       Dr = { x I / x ≤ 8 } Rr = { y I+ / y ≤ 9 } 2) 2x} R/y R y) {(x, r     Dr = { x R } Rr = { y R } 3) } 2x I/y I y) {(x, r     Dr = { x I } Rr = { y I } 4) } x 2 I/y I y) {(x, r     Dr = { x I } Rr = { y I+ } 5) } x 1 I/y I y) {(x, r 2      Dr = { x I } Rr = { y I / y  1 }
  • 32. ~ 32 ~ บัตรเฉลยกิจกรรมที่ 3.3 กิจกรรมหาโดเมนและเรนจ์ จงหาโดเมนและเรนจ์ของความสัมพันธ์ต่อไปนี้ 1)          2 x 3x y)/y (x, r วิธีทา หาโดเมน จัด y ในรูป x ได้ 2 x 3x y   ดังนั้น Dr = { x R/ x ≠ - 2 } หาเรนจ์ จัด x ในรูป y ได้ y(x + 2) = 3x yx + 2y = 3x yx – 3x = – 2y x = 3 - y 2y - ดังนั้น Rr = { y  R/ y ≠ 3 } 2)           7 2x x 1 y)/y (x, r วิธีทา หาโดเมน จัด y ในรูป x ได้ 7 2x x - 1 y   ดังนั้น Dr = { x R/ x ≠ 2 7  } หาเรนจ์ จัด x ในรูป y ได้ y(2x + 7) = 1 – x 2yx + 7y = 1 – x 2yx + x = 1 – 7y x = 1 2y 7y - 1  ดังนั้น Rr = { y  R /y ≠ 2 1  }
  • 33. ~ 33 ~ บัตรเฉลยกิจกรรมที่ 3.3 กิจกรรมหาโดเมนและเรนจ์(ต่อ) 3)           2 x 2 x y)/y (x, r วิธีทา หาโดเมน จัด y ในรูป x ได้ 2 x 2 x y    ดังนั้น Dr = { x R/ x ≠ - 2 } Rr = { y  R/ y ≠ 0 } 4)   36 x y)/y (x, r 2    วิธีทา หาโดเมน จัด y ในรูป x ได้ 36 x y 2   แล้ว x2 – 36  0 (x – 6)(x + 6)  0 ดังนั้น Dr = { x R/ x ≥ 6 หรือ x ≤ - 6 } Rr = { y  R/ y ≥ 0 } 5)          2 x 64 1 y)/y (x, r วิธีทา หาโดเมน จัด y ในรูป x ได้ 2 x - 64 1 y  แล้ว 64 – x2 > 0 x2 – 64 < 0 (x – 8)(x + 8) < 0 ดังนั้น Dr = { x R/ -8 < x < 8 } Rr = { y  R/ y > 0 }