SlideShare a Scribd company logo
รายงาน เรื่อง การอนุรักษ์สัตว์ป่า วิชา คอมพิวเตอร์ ว.31102
จัดทำโดย นาย กฤษฎา  พิจิตรแสงเสรี เลขที่ 1 นาย สิทธิพร  อินอ่อน เลขที่ 11 นาย ประชา  ทุมบุญ เลขที่ 15 นาย ธนะพร  นันท์คำ เลขที่ 5 นาย ปัญจลักษณ์  หาปู่ทน เลขที่ 9
เสนอ ครู ชมัยพร  โครตโยธา
การอนุรักษ์สัตว์ป่า   สัตว์ป่าเป็นทรัพยากรธรรมชาติที่สามารถทำให้เพิ่มจำนวนมากขึ้นได้แต่ถ้าหากสัตว์ป่าชนิดใดสูญพันธุ์ได้แล้วจะไม่สามารถสร้างพันธุ์ของสัตว์ป่าชนิดนั้นขึ้นมาได้อีกการอนุรักษ์สัตว์ป่าจึงควรมีหลักดังนี้
1. การใช้กฎหมาย  ควบคุมเป็นการอนุรักษ์สัตว์ป่าทางตรงมีการป้องกันและปราบปรามผู้กระทำผิดพระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่าอยู่เสมอการจัดตั้งเขตอุทยานแห่งชาติเขตรักษาพันธุ์ป่าจึงควรมีหลักดังนี้  2.  การสงวนแหล่งที่อยู่อาศัยของสัตว์ป่า  หมายถึง การป้องกัน รักษาป่าไม้ที่จัดเป็นเขตรักษาพันธ์สัตว์ป่าเขตป่าในอุทยานแห่งชาติเขตวนอุทยานต้องมีการป้องกันบำรุงรักษ และการปลูกพันธุ์ไม้ขึ้นมาใหม่การสงวน ทุ่งหญ้า การทำถ้ำ รู โพรง รักษาโป่งหรือที่ดินเค็มให้อยู่ในสภาพถาวร เช่น การนำเกลือไปไว้ในเขตดินโป่งบนเขาใหญ่ให้ช้างและสัตว์ทั้งหลายได้มากิน เป็นต้น
3.  การเพาะพันธุ์เพิ่ม  เช่น ตามสวนสัตว์ต่าง ๆ เขตรักษาพันธุ์สัตว์ หลายแห่ง เลี้ยงสัตว์บางชนิดไว้ในกรงเพื่อเพาะพันธุ์เพิ่มเมื่อมีมากแออัดจึงนำสัตว์บางชนิดไปปล่อยไว้ในป่าเปิดของอุทยานแห่งชาติ เช่น สัตว์ที่ มีมากจากสวนสัตว์ดุสิต เจ้าหน้าที่ได้นำไปปล่อยไว้ที่อุทยานแห่งชาติเขาเขียวเขาชมพู่ เป็นต้น
4.  การค้นคว้าวิจัยทางวิชาการ  ถือได้ว่าเป็นพื้นฐานของการจัดการ สัตว์ป่าให้มีจำนวนเพิ่มขึ้นในระดับที่พอเหมาะกับอาหารและที่หลบภัย ในท้องที่นั้น ๆ  5.  การใช้ประโยชน์จากสัตว์ตรงตามหลักการอนุรักษ์ทรัพยากร   โดยไม่เก็บทรัพยากรไว้เฉยๆเท่านั้นยังต้องรู้จักนำทรัพยากรนั้นๆมาใช้ให้เป็นประโยชน์มากที่สุด เช่น จัดสถานที่ชมสัตว์ป่าจัดสวนสัตว์ให้เป็นที่พักผ่อนหย่อนใจแก่มนุษย์ให้ความรู้ตามสมควรถ้ามีจำนวนสัตว์บางชนิดมากเกินไปก็ควรเปิดให้มีการล่าสัตว์นั้นๆตามหลักของสมดุลธรรมชาติ .
การอนุรักษ์สัตว์ป่าในประเทศไทย พ . ศ .  2443  -  ประเทศไทยมีกฎหมายคุ้มครองสัตว์ป่าเพียงฉบับเดียว  คือ พระราชบัญญัติการรักษาช้างป่า ร . ศ .  119  แต่กฏหมายฉบับนี้มีเนื้อหาเพื่อรักษาช้างป่าอย่างเดียว -  ในสมัยนั้นการล่าสัตว์ของชาวชนบทถือเป็นเรื่องปกติ -  คนเมือง การล่าสัตว์เพื่อเอาเขาหรือหนังถือเป็นเกมกีฬาชนิดหนึ่ง
พ . ศ .  2503  –  ออกพระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พ . ศ .  2503  เนื่องจาก -  หลังสงครามโลกครั้งที่  2  อุปกรณ์ต่างๆ ทันสมัยขึ้นเข้าไปในเขตทุรกันดารได้ง่ายการล่าจึงมีมากขึ้น -  การขยายพื้นที่การเกษตร บุกรุกแผ้วถางป่า -  สัตว์ป่าลดจำนวนลงรวดเร็วบางชนิดสูญพันธุ์
การสงวนและรักษาแหล่งที่อยู่อาศัยของสัตว์ป่า คือ การรักษาป่าไม้ประเภทต่างๆ ซึ่งมีความเหมาะสมต่อการดำรงชีวิตของสัตว์ป่าแต่ละชนิด ให้คงอยู่ตลอดไปโดยมีรูปแบบการจัดการพื้นที่เป็น  2  ลักษณะ  1 .  เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า จัดตั้งขึ้นตาม พ . ร . บ .  สงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พ . ศ .  2503  และ พ . ร . บ .  สงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พ . ศ .  2535  เพื่อกำหนดพื้นที่ให้เป็นที่อยู่อาศัยของสัตว์ป่าโดยปลอดภัย เพื่อว่าสัตว์ป่าในพื้นที่ดังกล่าวจะได้มีโอกาสสืบพันธุ์และขยายพันธุ์ตามธรรมชาติได้มากขึ้น ทำให้สัตว์ป่าบางส่วนได้มีโอกาสขยายจำนวนออกไปในท้องถิ่นอื่นๆ ที่อยู่ใกล้เคียงกับเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า
2.  เขตห้ามล่าสัตว์ป่า อาณาบริเวณที่ทางราชการได้กำหนดไว้ให้เป็นที่อยู่อาศัยของสัตว์ป่าบางชนิด โดยออกเป็นประกาศในราชกิจจานุเบกษาตามความในมาตรา   42  แห่งพระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า มักจะมีขนาดไม่กว้างเหมือนเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า และส่วนใหญ่จะเป็นบริเวณซึ่งใช้ในราชการหรือเพื่อใช้เพื่อสาธารณะประโยชน์ร่วมกัน
การอนุรักษ์สัตว์ป่า  สัตว์ป่ามีประโยชน์ต่อสิ่งแวดล้อมซึ่งรวมถึงคนเราด้วยทั้งโดยทางตรงและทางอ้อม จึงต้องมีวิธีการป้องกันและแก้ไขไม่ให้สัตว์ป่าลดจำนวนหรือสูญพันธุ์ด้วยการอนุรักษ์สัตว์ป่า ดังนี้  1.  กำหนดกฎหมายและวิธีการปฏิบัติอย่างเคร่งครัด  เพื่อให้ป่าเป็นแหล่งอาหารที่อยู่อาศัยของสัตว์ป่า อาทิ เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขตห้ามล่าสัตว์ป่า เขตเพาะพันธุ์สัตว์ป่า ฯลฯ ให้มีมากเพียงพอ  2.  การรณรงค์เผยแพร่ประชาสัมพันธ์  ให้เห็นความสำคัญในการอนุรักษ์สัตว์ป่าอย่างจริงจัง
3.  การไม่ล่าสัตว์ป่า ไม่ควรมีการล่าสัตว์ป่าทุกชนิด  ทั้งสัตว์ป่าสงวนสัตว์ป่าคุ้มครองเพราะปัจจุบันสัตว์ป่าทุกชนิดได้ลดจำนวนลงอย่างมากทำให้ขาดความสมดุลทางธรรมชาติ  4.  การป้องกันไฟป่า  ไฟป่านอกจากจะทำให้ป่าไม้ถูกทำลายแล้วยังเป็นการทำลายแหล่งอาหารและที่อยู่อาศัยของสัตว์ป่าด้วย
5.  การปลูกฝังการให้ความรัก  และเมตตาต่อสัตว์อย่างถูกวิธีสัตว์ป่าทุกชนิดมีความรักชีวิตเหมือนกับมนุษย์ การฆ่าสัตว์ป่า การนำสัตว์ป่ามาเลี้ยงไว้ในบ้านเป็นการทรมานสัตว์ป่า ซึ่งมักไม่มีชีวิตรอด  6.  การเพาะพันธุ์เพิ่มสัตว์ป่าที่กำลังจะสูญพันธุ์ หรือมีจำนวนน้อยลง ควรมีการเพาะพันธุ์ขยายพันธุ์ให้มีจำนวนเพิ่มขึ้น เพื่อเป็นการทดแทนและเร่งให้มีสัตว์ป่าเพิ่มมากขึ้น

More Related Content

What's hot

วิเคราะห์หลักสูตรวิทยาศาสตร์ ป 3
วิเคราะห์หลักสูตรวิทยาศาสตร์ ป 3วิเคราะห์หลักสูตรวิทยาศาสตร์ ป 3
วิเคราะห์หลักสูตรวิทยาศาสตร์ ป 3Mam Chongruk
 
แบบทดสอบวิชาลูกเสือ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1
แบบทดสอบวิชาลูกเสือ   ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1แบบทดสอบวิชาลูกเสือ   ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1
แบบทดสอบวิชาลูกเสือ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1watdang
 
การชั่ง ชั้น ป.3
การชั่ง  ชั้น  ป.3การชั่ง  ชั้น  ป.3
การชั่ง ชั้น ป.3Dmath Danai
 
7.2 การประสานประโยชน์
7.2 การประสานประโยชน์7.2 การประสานประโยชน์
7.2 การประสานประโยชน์Jitjaree Lertwilaiwittaya
 
การอภิปรายและสรุปผลการวิจัย
การอภิปรายและสรุปผลการวิจัยการอภิปรายและสรุปผลการวิจัย
การอภิปรายและสรุปผลการวิจัยThana Chirapiwat
 
ใบงานที่ 1 เรื่อง ตลาดในระบบเศรษฐกิจ
ใบงานที่ 1  เรื่อง  ตลาดในระบบเศรษฐกิจใบงานที่ 1  เรื่อง  ตลาดในระบบเศรษฐกิจ
ใบงานที่ 1 เรื่อง ตลาดในระบบเศรษฐกิจไพบููลย์ หัดรัดชัย
 
สำนวนไทย พร้อมระบายสี
สำนวนไทย พร้อมระบายสีสำนวนไทย พร้อมระบายสี
สำนวนไทย พร้อมระบายสีariga sara
 
วรรณคดีและวรรณกรรม
วรรณคดีและวรรณกรรมวรรณคดีและวรรณกรรม
วรรณคดีและวรรณกรรมAor's Sometime
 
ตัวอย่างใบ เบิกค่าเดินทาง
ตัวอย่างใบ เบิกค่าเดินทางตัวอย่างใบ เบิกค่าเดินทาง
ตัวอย่างใบ เบิกค่าเดินทางWiroj Suknongbueng
 
กระดาษเส้น
กระดาษเส้นกระดาษเส้น
กระดาษเส้นTik Msr
 
อาหาร หลัก 5 หมู่
อาหาร หลัก 5 หมู่อาหาร หลัก 5 หมู่
อาหาร หลัก 5 หมู่an1030
 
กาพย์ห่อโคลงประพาสธารทองแดง
กาพย์ห่อโคลงประพาสธารทองแดงกาพย์ห่อโคลงประพาสธารทองแดง
กาพย์ห่อโคลงประพาสธารทองแดงLakkana Wuittiket
 
กาพย์ยานี
กาพย์ยานีกาพย์ยานี
กาพย์ยานีkhorntee
 
แบบประเมินกิจกรรมเข้าค่ายพักแรมลูกเสือ56
แบบประเมินกิจกรรมเข้าค่ายพักแรมลูกเสือ56แบบประเมินกิจกรรมเข้าค่ายพักแรมลูกเสือ56
แบบประเมินกิจกรรมเข้าค่ายพักแรมลูกเสือ56Dhanee Chant
 
โวหารภาพพจน์ในวรรณคดีไทย1
โวหารภาพพจน์ในวรรณคดีไทย1โวหารภาพพจน์ในวรรณคดีไทย1
โวหารภาพพจน์ในวรรณคดีไทย1Vorramon1
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๖ gpas 5 step ภาษาไทย.docx
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๖ gpas 5 step ภาษาไทย.docxหน่วยการเรียนรู้ที่ ๖ gpas 5 step ภาษาไทย.docx
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๖ gpas 5 step ภาษาไทย.docxSophinyaDara
 

What's hot (20)

วิเคราะห์หลักสูตรวิทยาศาสตร์ ป 3
วิเคราะห์หลักสูตรวิทยาศาสตร์ ป 3วิเคราะห์หลักสูตรวิทยาศาสตร์ ป 3
วิเคราะห์หลักสูตรวิทยาศาสตร์ ป 3
 
แบบทดสอบวิชาลูกเสือ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1
แบบทดสอบวิชาลูกเสือ   ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1แบบทดสอบวิชาลูกเสือ   ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1
แบบทดสอบวิชาลูกเสือ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1
 
การชั่ง ชั้น ป.3
การชั่ง  ชั้น  ป.3การชั่ง  ชั้น  ป.3
การชั่ง ชั้น ป.3
 
7.2 การประสานประโยชน์
7.2 การประสานประโยชน์7.2 การประสานประโยชน์
7.2 การประสานประโยชน์
 
ระดับภาษา 2
ระดับภาษา 2ระดับภาษา 2
ระดับภาษา 2
 
การอภิปรายและสรุปผลการวิจัย
การอภิปรายและสรุปผลการวิจัยการอภิปรายและสรุปผลการวิจัย
การอภิปรายและสรุปผลการวิจัย
 
ใบงานที่ 1 เรื่อง ตลาดในระบบเศรษฐกิจ
ใบงานที่ 1  เรื่อง  ตลาดในระบบเศรษฐกิจใบงานที่ 1  เรื่อง  ตลาดในระบบเศรษฐกิจ
ใบงานที่ 1 เรื่อง ตลาดในระบบเศรษฐกิจ
 
บัญชีต้นทุน1
บัญชีต้นทุน1บัญชีต้นทุน1
บัญชีต้นทุน1
 
ใบงานที่ 1 เรื่องคำนาม
ใบงานที่ 1  เรื่องคำนามใบงานที่ 1  เรื่องคำนาม
ใบงานที่ 1 เรื่องคำนาม
 
สำนวนไทย พร้อมระบายสี
สำนวนไทย พร้อมระบายสีสำนวนไทย พร้อมระบายสี
สำนวนไทย พร้อมระบายสี
 
วรรณคดีและวรรณกรรม
วรรณคดีและวรรณกรรมวรรณคดีและวรรณกรรม
วรรณคดีและวรรณกรรม
 
ตัวอย่างใบ เบิกค่าเดินทาง
ตัวอย่างใบ เบิกค่าเดินทางตัวอย่างใบ เบิกค่าเดินทาง
ตัวอย่างใบ เบิกค่าเดินทาง
 
กระดาษเส้น
กระดาษเส้นกระดาษเส้น
กระดาษเส้น
 
อาหาร หลัก 5 หมู่
อาหาร หลัก 5 หมู่อาหาร หลัก 5 หมู่
อาหาร หลัก 5 หมู่
 
กาพย์ห่อโคลงประพาสธารทองแดง
กาพย์ห่อโคลงประพาสธารทองแดงกาพย์ห่อโคลงประพาสธารทองแดง
กาพย์ห่อโคลงประพาสธารทองแดง
 
กาพย์ยานี
กาพย์ยานีกาพย์ยานี
กาพย์ยานี
 
การแนะแนว
การแนะแนวการแนะแนว
การแนะแนว
 
แบบประเมินกิจกรรมเข้าค่ายพักแรมลูกเสือ56
แบบประเมินกิจกรรมเข้าค่ายพักแรมลูกเสือ56แบบประเมินกิจกรรมเข้าค่ายพักแรมลูกเสือ56
แบบประเมินกิจกรรมเข้าค่ายพักแรมลูกเสือ56
 
โวหารภาพพจน์ในวรรณคดีไทย1
โวหารภาพพจน์ในวรรณคดีไทย1โวหารภาพพจน์ในวรรณคดีไทย1
โวหารภาพพจน์ในวรรณคดีไทย1
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๖ gpas 5 step ภาษาไทย.docx
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๖ gpas 5 step ภาษาไทย.docxหน่วยการเรียนรู้ที่ ๖ gpas 5 step ภาษาไทย.docx
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๖ gpas 5 step ภาษาไทย.docx
 

Viewers also liked

โครงงานสัตว์สงวน
โครงงานสัตว์สงวนโครงงานสัตว์สงวน
โครงงานสัตว์สงวนWannarat Kasemsri
 
ตัวอย่างบทคัดย่อ
ตัวอย่างบทคัดย่อตัวอย่างบทคัดย่อ
ตัวอย่างบทคัดย่อsukanya5729
 
โครงงานสื่อการเรียนรู้เกี่ยวกับทรัพยากรสัตว์ป่า
โครงงานสื่อการเรียนรู้เกี่ยวกับทรัพยากรสัตว์ป่าโครงงานสื่อการเรียนรู้เกี่ยวกับทรัพยากรสัตว์ป่า
โครงงานสื่อการเรียนรู้เกี่ยวกับทรัพยากรสัตว์ป่าภคพงษ์ ภุมรินทร์
 
สัตว์สงวน15ชนิด
สัตว์สงวน15ชนิดสัตว์สงวน15ชนิด
สัตว์สงวน15ชนิดPang Pond
 
สัตว์ป่า
สัตว์ป่าสัตว์ป่า
สัตว์ป่าJiraporn
 
สตอรี่บอร์ดลดโลกร้อน
สตอรี่บอร์ดลดโลกร้อนสตอรี่บอร์ดลดโลกร้อน
สตอรี่บอร์ดลดโลกร้อนVitsanu Nittayathammakul
 
การวิเคราะห์ความเป็นไปได้ของแนวทางการจัดการ
การวิเคราะห์ความเป็นไปได้ของแนวทางการจัดการการวิเคราะห์ความเป็นไปได้ของแนวทางการจัดการ
การวิเคราะห์ความเป็นไปได้ของแนวทางการจัดการUNDP
 
แนวทางในการจัดทำแผนธุรกิจพื้นที่คุ้มครอง
แนวทางในการจัดทำแผนธุรกิจพื้นที่คุ้มครองแนวทางในการจัดทำแผนธุรกิจพื้นที่คุ้มครอง
แนวทางในการจัดทำแผนธุรกิจพื้นที่คุ้มครองUNDP
 
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บทรูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บทAekapoj Poosathan
 

Viewers also liked (10)

โครงงานสัตว์สงวน
โครงงานสัตว์สงวนโครงงานสัตว์สงวน
โครงงานสัตว์สงวน
 
ตัวอย่างบทคัดย่อ
ตัวอย่างบทคัดย่อตัวอย่างบทคัดย่อ
ตัวอย่างบทคัดย่อ
 
โครงงานสื่อการเรียนรู้เกี่ยวกับทรัพยากรสัตว์ป่า
โครงงานสื่อการเรียนรู้เกี่ยวกับทรัพยากรสัตว์ป่าโครงงานสื่อการเรียนรู้เกี่ยวกับทรัพยากรสัตว์ป่า
โครงงานสื่อการเรียนรู้เกี่ยวกับทรัพยากรสัตว์ป่า
 
สัตว์สงวน15ชนิด
สัตว์สงวน15ชนิดสัตว์สงวน15ชนิด
สัตว์สงวน15ชนิด
 
สัตว์ป่า
สัตว์ป่าสัตว์ป่า
สัตว์ป่า
 
สตอรี่บอร์ดลดโลกร้อน
สตอรี่บอร์ดลดโลกร้อนสตอรี่บอร์ดลดโลกร้อน
สตอรี่บอร์ดลดโลกร้อน
 
การวิเคราะห์ความเป็นไปได้ของแนวทางการจัดการ
การวิเคราะห์ความเป็นไปได้ของแนวทางการจัดการการวิเคราะห์ความเป็นไปได้ของแนวทางการจัดการ
การวิเคราะห์ความเป็นไปได้ของแนวทางการจัดการ
 
แนวทางในการจัดทำแผนธุรกิจพื้นที่คุ้มครอง
แนวทางในการจัดทำแผนธุรกิจพื้นที่คุ้มครองแนวทางในการจัดทำแผนธุรกิจพื้นที่คุ้มครอง
แนวทางในการจัดทำแผนธุรกิจพื้นที่คุ้มครอง
 
บทที่1 บทนำ
บทที่1 บทนำบทที่1 บทนำ
บทที่1 บทนำ
 
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บทรูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
 

Similar to การอนุรักษ์สัตว์ป่า

โครงการปลูกป่าชายเลน1
โครงการปลูกป่าชายเลน1โครงการปลูกป่าชายเลน1
โครงการปลูกป่าชายเลน1nananattie
 
ใบกิจกรรม สังคม ป.4-6 เรื่องเศรษฐกิจพอเพียง+494+dltvsocp6+T1 p4 6-soc_sheet
ใบกิจกรรม สังคม ป.4-6 เรื่องเศรษฐกิจพอเพียง+494+dltvsocp6+T1 p4 6-soc_sheetใบกิจกรรม สังคม ป.4-6 เรื่องเศรษฐกิจพอเพียง+494+dltvsocp6+T1 p4 6-soc_sheet
ใบกิจกรรม สังคม ป.4-6 เรื่องเศรษฐกิจพอเพียง+494+dltvsocp6+T1 p4 6-soc_sheetPrachoom Rangkasikorn
 
ใบกิจกรรม สังคม ป.4-6 เรื่อง เศรษฐกิจพอเพียง+477+dltvsocp5+T1 p4 6-soc_sheet
ใบกิจกรรม สังคม ป.4-6 เรื่อง เศรษฐกิจพอเพียง+477+dltvsocp5+T1 p4 6-soc_sheetใบกิจกรรม สังคม ป.4-6 เรื่อง เศรษฐกิจพอเพียง+477+dltvsocp5+T1 p4 6-soc_sheet
ใบกิจกรรม สังคม ป.4-6 เรื่อง เศรษฐกิจพอเพียง+477+dltvsocp5+T1 p4 6-soc_sheetPrachoom Rangkasikorn
 
การแก้ไขปัญหาทรัพยากรป่าไม้
การแก้ไขปัญหาทรัพยากรป่าไม้การแก้ไขปัญหาทรัพยากรป่าไม้
การแก้ไขปัญหาทรัพยากรป่าไม้siwimon12090noonuch
 
หลักการอนุรักษ์
หลักการอนุรักษ์หลักการอนุรักษ์
หลักการอนุรักษ์fainaja
 
หลักการอนุรักษ์
หลักการอนุรักษ์หลักการอนุรักษ์
หลักการอนุรักษ์fainaja
 
หลักการอนุรักษ์
หลักการอนุรักษ์หลักการอนุรักษ์
หลักการอนุรักษ์fainaja
 
Sea turtles preservation
Sea turtles preservationSea turtles preservation
Sea turtles preservationaunun
 
โครงการปลูกป่าชายเลน
โครงการปลูกป่าชายเลนโครงการปลูกป่าชายเลน
โครงการปลูกป่าชายเลนMaiiTy
 
การปลูกป่าชายเลน
การปลูกป่าชายเลนการปลูกป่าชายเลน
การปลูกป่าชายเลนpangminpm
 
เศรษฐกิจพอเพียง1
เศรษฐกิจพอเพียง1เศรษฐกิจพอเพียง1
เศรษฐกิจพอเพียง1mingpimon
 
สัตว์ป่าคุ้มครอง
สัตว์ป่าคุ้มครองสัตว์ป่าคุ้มครอง
สัตว์ป่าคุ้มครองNooCake Prommali
 
รายงานผลการวิจัย ปี 2553 การจัดกิจกรรมปลูกป่าชายเลน ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
รายงานผลการวิจัย ปี 2553 การจัดกิจกรรมปลูกป่าชายเลน ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์รายงานผลการวิจัย ปี 2553 การจัดกิจกรรมปลูกป่าชายเลน ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
รายงานผลการวิจัย ปี 2553 การจัดกิจกรรมปลูกป่าชายเลน ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์Kobwit Piriyawat
 
โครงงานเศรษฐกิจพอเพียง
โครงงานเศรษฐกิจพอเพียงโครงงานเศรษฐกิจพอเพียง
โครงงานเศรษฐกิจพอเพียงsupanuch
 
โครงการป่าชุมชนเศรษฐกิจพอเพียง
โครงการป่าชุมชนเศรษฐกิจพอเพียงโครงการป่าชุมชนเศรษฐกิจพอเพียง
โครงการป่าชุมชนเศรษฐกิจพอเพียงLookNam Intira
 
โครงการเศรษฐกิจ
โครงการเศรษฐกิจโครงการเศรษฐกิจ
โครงการเศรษฐกิจsisirada
 
โครงการพระราชดำร
โครงการพระราชดำร โครงการพระราชดำร
โครงการพระราชดำร pang_patpp
 

Similar to การอนุรักษ์สัตว์ป่า (20)

โครงการปลูกป่าชายเลน1
โครงการปลูกป่าชายเลน1โครงการปลูกป่าชายเลน1
โครงการปลูกป่าชายเลน1
 
Forest
ForestForest
Forest
 
ม.6 นิเวศ
ม.6 นิเวศม.6 นิเวศ
ม.6 นิเวศ
 
ใบกิจกรรม สังคม ป.4-6 เรื่องเศรษฐกิจพอเพียง+494+dltvsocp6+T1 p4 6-soc_sheet
ใบกิจกรรม สังคม ป.4-6 เรื่องเศรษฐกิจพอเพียง+494+dltvsocp6+T1 p4 6-soc_sheetใบกิจกรรม สังคม ป.4-6 เรื่องเศรษฐกิจพอเพียง+494+dltvsocp6+T1 p4 6-soc_sheet
ใบกิจกรรม สังคม ป.4-6 เรื่องเศรษฐกิจพอเพียง+494+dltvsocp6+T1 p4 6-soc_sheet
 
ใบกิจกรรม สังคม ป.4-6 เรื่อง เศรษฐกิจพอเพียง+477+dltvsocp5+T1 p4 6-soc_sheet
ใบกิจกรรม สังคม ป.4-6 เรื่อง เศรษฐกิจพอเพียง+477+dltvsocp5+T1 p4 6-soc_sheetใบกิจกรรม สังคม ป.4-6 เรื่อง เศรษฐกิจพอเพียง+477+dltvsocp5+T1 p4 6-soc_sheet
ใบกิจกรรม สังคม ป.4-6 เรื่อง เศรษฐกิจพอเพียง+477+dltvsocp5+T1 p4 6-soc_sheet
 
การแก้ไขปัญหาทรัพยากรป่าไม้
การแก้ไขปัญหาทรัพยากรป่าไม้การแก้ไขปัญหาทรัพยากรป่าไม้
การแก้ไขปัญหาทรัพยากรป่าไม้
 
หลักการอนุรักษ์
หลักการอนุรักษ์หลักการอนุรักษ์
หลักการอนุรักษ์
 
หลักการอนุรักษ์
หลักการอนุรักษ์หลักการอนุรักษ์
หลักการอนุรักษ์
 
หลักการอนุรักษ์
หลักการอนุรักษ์หลักการอนุรักษ์
หลักการอนุรักษ์
 
Sea turtles preservation
Sea turtles preservationSea turtles preservation
Sea turtles preservation
 
โครงการปลูกป่าชายเลน
โครงการปลูกป่าชายเลนโครงการปลูกป่าชายเลน
โครงการปลูกป่าชายเลน
 
การปลูกป่าชายเลน
การปลูกป่าชายเลนการปลูกป่าชายเลน
การปลูกป่าชายเลน
 
เศรษฐกิจพอเพียง1
เศรษฐกิจพอเพียง1เศรษฐกิจพอเพียง1
เศรษฐกิจพอเพียง1
 
Animal
AnimalAnimal
Animal
 
สัตว์ป่าคุ้มครอง
สัตว์ป่าคุ้มครองสัตว์ป่าคุ้มครอง
สัตว์ป่าคุ้มครอง
 
รายงานผลการวิจัย ปี 2553 การจัดกิจกรรมปลูกป่าชายเลน ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
รายงานผลการวิจัย ปี 2553 การจัดกิจกรรมปลูกป่าชายเลน ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์รายงานผลการวิจัย ปี 2553 การจัดกิจกรรมปลูกป่าชายเลน ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
รายงานผลการวิจัย ปี 2553 การจัดกิจกรรมปลูกป่าชายเลน ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
 
โครงงานเศรษฐกิจพอเพียง
โครงงานเศรษฐกิจพอเพียงโครงงานเศรษฐกิจพอเพียง
โครงงานเศรษฐกิจพอเพียง
 
โครงการป่าชุมชนเศรษฐกิจพอเพียง
โครงการป่าชุมชนเศรษฐกิจพอเพียงโครงการป่าชุมชนเศรษฐกิจพอเพียง
โครงการป่าชุมชนเศรษฐกิจพอเพียง
 
โครงการเศรษฐกิจ
โครงการเศรษฐกิจโครงการเศรษฐกิจ
โครงการเศรษฐกิจ
 
โครงการพระราชดำร
โครงการพระราชดำร โครงการพระราชดำร
โครงการพระราชดำร
 

Recently uploaded

Meaning Recognition การใช้คำศัพท์ให้ตรงความหมาย.pdf
Meaning Recognition การใช้คำศัพท์ให้ตรงความหมาย.pdfMeaning Recognition การใช้คำศัพท์ให้ตรงความหมาย.pdf
Meaning Recognition การใช้คำศัพท์ให้ตรงความหมาย.pdfGeorge638435
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)Prachyanun Nilsook
 
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdfรายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdfNitayataNuansri
 

Recently uploaded (8)

Meaning Recognition การใช้คำศัพท์ให้ตรงความหมาย.pdf
Meaning Recognition การใช้คำศัพท์ให้ตรงความหมาย.pdfMeaning Recognition การใช้คำศัพท์ให้ตรงความหมาย.pdf
Meaning Recognition การใช้คำศัพท์ให้ตรงความหมาย.pdf
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
 
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdfรายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 

การอนุรักษ์สัตว์ป่า

  • 2. จัดทำโดย นาย กฤษฎา พิจิตรแสงเสรี เลขที่ 1 นาย สิทธิพร อินอ่อน เลขที่ 11 นาย ประชา ทุมบุญ เลขที่ 15 นาย ธนะพร นันท์คำ เลขที่ 5 นาย ปัญจลักษณ์ หาปู่ทน เลขที่ 9
  • 3. เสนอ ครู ชมัยพร โครตโยธา
  • 4. การอนุรักษ์สัตว์ป่า สัตว์ป่าเป็นทรัพยากรธรรมชาติที่สามารถทำให้เพิ่มจำนวนมากขึ้นได้แต่ถ้าหากสัตว์ป่าชนิดใดสูญพันธุ์ได้แล้วจะไม่สามารถสร้างพันธุ์ของสัตว์ป่าชนิดนั้นขึ้นมาได้อีกการอนุรักษ์สัตว์ป่าจึงควรมีหลักดังนี้
  • 5. 1. การใช้กฎหมาย ควบคุมเป็นการอนุรักษ์สัตว์ป่าทางตรงมีการป้องกันและปราบปรามผู้กระทำผิดพระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่าอยู่เสมอการจัดตั้งเขตอุทยานแห่งชาติเขตรักษาพันธุ์ป่าจึงควรมีหลักดังนี้ 2. การสงวนแหล่งที่อยู่อาศัยของสัตว์ป่า หมายถึง การป้องกัน รักษาป่าไม้ที่จัดเป็นเขตรักษาพันธ์สัตว์ป่าเขตป่าในอุทยานแห่งชาติเขตวนอุทยานต้องมีการป้องกันบำรุงรักษ และการปลูกพันธุ์ไม้ขึ้นมาใหม่การสงวน ทุ่งหญ้า การทำถ้ำ รู โพรง รักษาโป่งหรือที่ดินเค็มให้อยู่ในสภาพถาวร เช่น การนำเกลือไปไว้ในเขตดินโป่งบนเขาใหญ่ให้ช้างและสัตว์ทั้งหลายได้มากิน เป็นต้น
  • 6. 3. การเพาะพันธุ์เพิ่ม เช่น ตามสวนสัตว์ต่าง ๆ เขตรักษาพันธุ์สัตว์ หลายแห่ง เลี้ยงสัตว์บางชนิดไว้ในกรงเพื่อเพาะพันธุ์เพิ่มเมื่อมีมากแออัดจึงนำสัตว์บางชนิดไปปล่อยไว้ในป่าเปิดของอุทยานแห่งชาติ เช่น สัตว์ที่ มีมากจากสวนสัตว์ดุสิต เจ้าหน้าที่ได้นำไปปล่อยไว้ที่อุทยานแห่งชาติเขาเขียวเขาชมพู่ เป็นต้น
  • 7. 4. การค้นคว้าวิจัยทางวิชาการ ถือได้ว่าเป็นพื้นฐานของการจัดการ สัตว์ป่าให้มีจำนวนเพิ่มขึ้นในระดับที่พอเหมาะกับอาหารและที่หลบภัย ในท้องที่นั้น ๆ 5. การใช้ประโยชน์จากสัตว์ตรงตามหลักการอนุรักษ์ทรัพยากร โดยไม่เก็บทรัพยากรไว้เฉยๆเท่านั้นยังต้องรู้จักนำทรัพยากรนั้นๆมาใช้ให้เป็นประโยชน์มากที่สุด เช่น จัดสถานที่ชมสัตว์ป่าจัดสวนสัตว์ให้เป็นที่พักผ่อนหย่อนใจแก่มนุษย์ให้ความรู้ตามสมควรถ้ามีจำนวนสัตว์บางชนิดมากเกินไปก็ควรเปิดให้มีการล่าสัตว์นั้นๆตามหลักของสมดุลธรรมชาติ .
  • 8. การอนุรักษ์สัตว์ป่าในประเทศไทย พ . ศ . 2443 - ประเทศไทยมีกฎหมายคุ้มครองสัตว์ป่าเพียงฉบับเดียว คือ พระราชบัญญัติการรักษาช้างป่า ร . ศ . 119 แต่กฏหมายฉบับนี้มีเนื้อหาเพื่อรักษาช้างป่าอย่างเดียว - ในสมัยนั้นการล่าสัตว์ของชาวชนบทถือเป็นเรื่องปกติ - คนเมือง การล่าสัตว์เพื่อเอาเขาหรือหนังถือเป็นเกมกีฬาชนิดหนึ่ง
  • 9. พ . ศ . 2503 – ออกพระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พ . ศ . 2503 เนื่องจาก - หลังสงครามโลกครั้งที่ 2 อุปกรณ์ต่างๆ ทันสมัยขึ้นเข้าไปในเขตทุรกันดารได้ง่ายการล่าจึงมีมากขึ้น - การขยายพื้นที่การเกษตร บุกรุกแผ้วถางป่า - สัตว์ป่าลดจำนวนลงรวดเร็วบางชนิดสูญพันธุ์
  • 10. การสงวนและรักษาแหล่งที่อยู่อาศัยของสัตว์ป่า คือ การรักษาป่าไม้ประเภทต่างๆ ซึ่งมีความเหมาะสมต่อการดำรงชีวิตของสัตว์ป่าแต่ละชนิด ให้คงอยู่ตลอดไปโดยมีรูปแบบการจัดการพื้นที่เป็น 2 ลักษณะ 1 . เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า จัดตั้งขึ้นตาม พ . ร . บ . สงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พ . ศ . 2503 และ พ . ร . บ . สงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พ . ศ . 2535 เพื่อกำหนดพื้นที่ให้เป็นที่อยู่อาศัยของสัตว์ป่าโดยปลอดภัย เพื่อว่าสัตว์ป่าในพื้นที่ดังกล่าวจะได้มีโอกาสสืบพันธุ์และขยายพันธุ์ตามธรรมชาติได้มากขึ้น ทำให้สัตว์ป่าบางส่วนได้มีโอกาสขยายจำนวนออกไปในท้องถิ่นอื่นๆ ที่อยู่ใกล้เคียงกับเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า
  • 11. 2. เขตห้ามล่าสัตว์ป่า อาณาบริเวณที่ทางราชการได้กำหนดไว้ให้เป็นที่อยู่อาศัยของสัตว์ป่าบางชนิด โดยออกเป็นประกาศในราชกิจจานุเบกษาตามความในมาตรา 42 แห่งพระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า มักจะมีขนาดไม่กว้างเหมือนเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า และส่วนใหญ่จะเป็นบริเวณซึ่งใช้ในราชการหรือเพื่อใช้เพื่อสาธารณะประโยชน์ร่วมกัน
  • 12. การอนุรักษ์สัตว์ป่า สัตว์ป่ามีประโยชน์ต่อสิ่งแวดล้อมซึ่งรวมถึงคนเราด้วยทั้งโดยทางตรงและทางอ้อม จึงต้องมีวิธีการป้องกันและแก้ไขไม่ให้สัตว์ป่าลดจำนวนหรือสูญพันธุ์ด้วยการอนุรักษ์สัตว์ป่า ดังนี้ 1. กำหนดกฎหมายและวิธีการปฏิบัติอย่างเคร่งครัด เพื่อให้ป่าเป็นแหล่งอาหารที่อยู่อาศัยของสัตว์ป่า อาทิ เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขตห้ามล่าสัตว์ป่า เขตเพาะพันธุ์สัตว์ป่า ฯลฯ ให้มีมากเพียงพอ 2. การรณรงค์เผยแพร่ประชาสัมพันธ์ ให้เห็นความสำคัญในการอนุรักษ์สัตว์ป่าอย่างจริงจัง
  • 13. 3. การไม่ล่าสัตว์ป่า ไม่ควรมีการล่าสัตว์ป่าทุกชนิด ทั้งสัตว์ป่าสงวนสัตว์ป่าคุ้มครองเพราะปัจจุบันสัตว์ป่าทุกชนิดได้ลดจำนวนลงอย่างมากทำให้ขาดความสมดุลทางธรรมชาติ 4. การป้องกันไฟป่า ไฟป่านอกจากจะทำให้ป่าไม้ถูกทำลายแล้วยังเป็นการทำลายแหล่งอาหารและที่อยู่อาศัยของสัตว์ป่าด้วย
  • 14. 5. การปลูกฝังการให้ความรัก และเมตตาต่อสัตว์อย่างถูกวิธีสัตว์ป่าทุกชนิดมีความรักชีวิตเหมือนกับมนุษย์ การฆ่าสัตว์ป่า การนำสัตว์ป่ามาเลี้ยงไว้ในบ้านเป็นการทรมานสัตว์ป่า ซึ่งมักไม่มีชีวิตรอด 6. การเพาะพันธุ์เพิ่มสัตว์ป่าที่กำลังจะสูญพันธุ์ หรือมีจำนวนน้อยลง ควรมีการเพาะพันธุ์ขยายพันธุ์ให้มีจำนวนเพิ่มขึ้น เพื่อเป็นการทดแทนและเร่งให้มีสัตว์ป่าเพิ่มมากขึ้น