SlideShare a Scribd company logo
1 of 34
Download to read offline
หลักการอนุรักษ์
ทรัพยากรธรรมชาติ
มีแนวทางการอนุรกษ์ดังนี้
                               ั
      1. การใช้แบบยั่งยืน (sustainable utilization)
หมายถึงการใช้ทรัพยากรธรรมชาติอย่างเหมาะสมให้ได้ประโยชน์สูงสุด
เมื่อใช้แล้วเกิดมลพิษน้อยที่สุดหรือไม่เกิดเลย นาของเสียมาใช้ประโยชน์
หรื อ รี ไ ซเคิ ล (Recycle) ถ้ า ในสั ง คม ไม่ ร ะมั ด ระวั ง การใช้
ทรัพยากรธรรมชาติแล้ว จะก่อให้เกิดปัญหาการขาดแคลนทรัพยากร
และปัญหาสิ่งแวดล้อมตามมา ดังนั้นจึงต้องใช้ทรัพยากรธรรมชาติให้
พอดี ซึ่งส่งผลให้เกิดการใช้อย่างยั่งยืนอย่างมีประสิทธิภาพ
2. การกักเก็บ (storage) หมายถึง การรวบรวมและกักเก็บ
ทรัพยากรที่มีแนวโน้มจะขาดแคลนได้เพื่อเอาไว้ใช้ในอนาคต เช่น การ
ถนอมอาหาร การทายุ้งฉาง การกักเก็บน้า การกักเก็บเพื่อ ความมั่นคง
เช่น การกักเก็บรักษาป่าไม้ แร่ น้ามันปิโตรเลียม แก๊สธรรมชาติ ถ่าน
หิน น้า เป็นต้น
3. การรักษาซ่อมแซม (repair) เมื่อทรัพยากรถูกทาลายโดย
มนุ ษ ย์ หรื อ โดยธรรมชาติ ก็ ต ามมีค วามจ าเป็ น ที่ จะต้ อ งรั กษา หรื อ
ซ่อมแซมให้กลับมาเป็นปกติ เช่น การเติมอากาศในบ่อบาบัดน้าเสียการ
ปลูกป่าทดแทน การเพาะพันธุ์สัตว์ป่าเพื่อนาไปปล่อยกลับสู่ธรรมชาติ
4. การฟื้นฟู (rehabilitation) เมื่อทรัพยากรธรรมชาติ
เกิดความเสื่อมโทรมไม่ว่าจะมากหรือน้อยก็ตาม จึงจาเป็นต้องมีการ
ฟื้นฟูเพื่อให้อยู่ในสภาพปกติ เพื่อให้สามารถใช้ทรัพยากรที่ได้อีก และ
ใช้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ เช่น การเสริมสร้างที่อยู่อาศัยให้สิ่งมีชีวิตใน
ทะเล ด้วยการสร้างแนวปะการังเทียมจากแท่งคอนกรีตหรือยางรถยนต์
หรือการปลูกป่า เป็นต้น
5. การป้องกัน (prevention) เป็นการหาวิธีป้องกันและ
คุ้ ม ครองเพื่ อ ปกป้ อ งคุ้ ม ครองทรั พ ยากรที่ ก าลั ง ถู ก ท าลาย หรื อ มี
แนวโน้ ม ว่ า จะถู ก ท าลายให้ ส ามารถอยู่ ใ นสภาพปกติ เช่ น การออก
กฎหมายหรื อ พระราชบั ญ ญั ติ คุ้ ม ครอง การรณรงค์ แ ละให้ ค วามรู้
เกี่ยวกับการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ เป็นต้น
การอนุรักษ์
ทรัพยากรต่างๆ
น้้า
     1. การใช้น้าอย่างประหยัด นอกจากจะช่วยลดค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับค่า
น้ าลงได้ แ ล้ ว ยั ง ท าให้ ป ริ ม าณน้ าเสี ย ที่ จ ะทิ้ ง ลงแหล่ ง น้ าลดลง และ
ป้องกันการขาดแคลนน้าได้ด้วย
     2. การสงวนน้้าไว้ใช้ ในบางฤดูหรือในสภาวะที่มีน้ามากเหลือใช้
ควรมีการเก็บน้าไว้ใช้ เช่น การทาบ่อเก็บน้า การใส่โอ่งน้า การขุดลอก
แหล่งน้า รวมทั้งการสร้างอ่างเก็บน้าไว้เพื่อการเกษตร
3. การพัฒนาแหล่ ง น้้า ในบางพื้น ที่ ขาดแคลนน้า จาเป็น ที่
จะต้ อ งหาแหล่ ง น้ าเพิ่ ม เติ ม เพื่ อ ให้ มี น้ าไว้ ใ ช้ ทั้ ง ในครั ว เรื อ นและใน
การเกษตรได้อย่างเพียงพอ ปัจจุบันการนาน้าบาดาลขึ้นมาใช้กาลัง
แพร่ ห ลายมาก แต่ อ าจมี ปั ญ หาเรื่ อ งแผ่ น ดิ น ทรุ ด เช่ น ในบริ เ วณ
กรุงเทพฯ ทาให้เกิดดินทรุดได้ จึงควรมีมาตรการกาหนดว่าเขตใดควร
ใช้น้าใต้ดินได้มากน้อยเพียงใด
4. การป้องกันน้้าเสีย การไม่ทิ้งขยะ สิ่งปฏิกูล และสารพิษลง
ในแหล่งน้า น้าเสียที่เกิดจากโรงงานอุตสาหกรรม โรงพยาบาล ควรมี
การบ าบั ด และขจั ด สารพิ ษ ก่อ นที่ จ ะปล่ อ ยลงสู่ แ หล่ ง น้ า การวางท่ อ
ระบายน้าจากบ้านเรือน การวางฝังการก่อสร้างโดยไม่ให้น้าสกปรกไหล
ลงสู่แม่น้าลาคลอง
           5. การน้าน้้าเสียกลับไปใช้ น้าที่ไม่สามารถใช้ได้ในกิจการหนึ่ง
เช่น น้าทิ้งจากการล้างภาชนะอาหาร สามารถนาไปรดต้นไม้ โรงงาน
บางแห่งอาจนาน้าทิ้งมาทาให้สะอาดแล้วนากลับมาใช้ใหม่
ดิน
         1. การใช้ดินอย่างถูกต้องเหมาะสม การปลูกพืชควรคานึงถึง
ชนิดของพืชที่ เหมาะสมกับคุณสมบัติของดิน การปลูกพืชและการไถ
พรวนตามแนวระดับเพื่อป้องกันการชะล้างพังทลายของหน้าดิน
         2. การปรับปรุง บ้า รุงดิน การเพิ่มธาตุอาหารให้แก่ดิน เช่น
การใส่ปุ๋ยพืชสด ปุ๋ยคอก การปลูกพืชตระกูลถั่ว การใส่ปูนขาวในดินที่
เป็นกรด การแก้ไขพื้นที่ดินเค็มด้วยการระบายน้าเข้าที่ดิน เป็นต้น
3. การป้องกันการเสื่อมโทรมของดิน ได้แก่ การปลูกพืชคลุม
ดิน การปลูกพืชหมุนเวียน การปลูกพืชบังลม การไถพรวนตามแนว
ระดับ การทาคันดินป้องกันการไหลชะล้างหน้าดิน รวมทั้งการไม่เผาป่า
หรือการทาไร่เลื่อนลอย
          4. การให้ความชุ่มชื้นแก่ดิน การระบายน้าในดินที่มีน้าขังออก
การจัดส่งน้าเข้าสู่ที่ดินและการใช้วัสดุ เช่น หญ้าหรือฟางคลุมหน้าดินจะ
ช่วยให้ดินมีความอุดมสมบูรณ์
ป่าไม้
      1. การก้าหนดเขตการใช้ประโยชน์ที่ดินป่าไม้
      2. การอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้ เกี่ยวกับงานป้องกันรักษาป่า การ
อนุรักษ์สิ่งแวดล้อมและสันทนาการ
      3. การจัดการที่ดินท้ากินให้แก่ราษฎรผู้ยากไร้ในท้องถิ่น
      4. การพัฒนาป่าไม้ เช่น การทาไม้ การเก็บหาของป่า การปลูกป่า
การบารุงป่าไม้ การค้นคว้าวิจัย และอุตสาหกรรม การบริหารทั่วไป
สัตว์ป่า
         1. กฎหมาย กฎหมายคุ้มครองสัตว์ป่าควรกว้างแต่รัดกุม เพื่อ
คุ้มครองชิวิตสัตว์ป่าให้ปลอดภัย กฎหมายคุ้มครองสัตว์ป่าของไทยที่ใช้
กันอยู่เป็นพระราชบัญญัติ พ.ศ. 2535 ที่สาคัญคือการควบคุมดูแลให้
เกิดการปฏิบัติของทุกคนบุคคลเป็นไปตามกฎหมาย
         2. การควบคุ ม สั ต ว์ ที่ กิ น สั ต ว์ อื่ น เป็ น อาหาร มาตรการนี้ ใ ช้
ปฏิบัติกันมากในระยะของการจัดการสัตว์ป่าในสหรัฐอเมริกา หลายครั้ง
ที่มีการให้รางวัลสาหรับการฆ่าสัตว์ที่กินสัตว์อื่น
3. การพัฒนาที่อยู่อาศัย แนวทางการจัดการสัตว์ป่าที่ดีที่สุดใน
ปัจจุบันคือ เพิ่มที่อยู่อาศัย พร้อมกับปรับปรุงคุณภาพที่อยู่อาศัยที่มีอยู่
ให้ดีขึ้น เพราะว่าไม่ว่าจะออกกฎหมายคุ้มครองสัตว์ป่าควบคุมสัตว์ที่กิน
สัตว์ ขยายพันธุ์เทียม หรือนาสัตว์จากที่อื่นเข้ามาเลี้ยง สัตว์ป่าก็ยังคง
อยู่ในอันตราย ถ้าขาดที่อยู่อาศัย
         4. การรณรงค์เผยแพร่ประชาสัมพันธ์ ให้เห็นความสาคัญใน
การอนุรักษ์สัตว์ป่าอย่างจริงจัง
         5. การไม่ล่าสัตว์ป่า ไม่ควรมีการล่าสัตว์ป่าทุกชนิด ทั้งสัตว์ป่า
สงวนและสัตว์ป่าคุ้มครอง เพราะปัจจุบันสัตว์ป่าทุกชนิดได้ลดจานวนลง
อย่างมากทาให้ขาดความสมดุลทางธรรมชาติ
6. การป้องกันไฟป่า ไฟป่านอกจากจะทาให้ป่าไม้ สัตว์ป่าถูก
ทาลายแล้วยังเป็นการทาลายแหล่งอาหารและที่อยู่อาศัยของสัตว์ป่า
ด้วย
          7. การปลูกฝังการให้ความรักและเมตตาต่อสัตว์อย่างถูกวิธ ี
สัตว์ป่าทุกชนิดมีความรักชีวิตเหมือนกับมนุษย์ การฆ่าสัตว์ป่า การนา
สัตว์ป่ามาเลี้ยงไว้ในบ้านเป็นการทรมานสัตว์ป่าซึ่งมักไม่มีชีวิตรอด
          8. การเพาะพั น ธุ์ สั ต ว์ ป่ า ที่ ก้ า ลั ง จะสู ญ พั น ธุ์ ห รื อ มี จ้ า นวน
น้อยลง ควรมีการเพาะพันธุ์ขยายพันธุ์ให้มีจานวนเพิ่มขึ้น เพื่อเป็นการ
ทดแทนและเร่งให้มีสัตว์ป่าเพิ่มขึ้น
แร่ธาตุ
          1. การใช้แร่ธาตุอย่างประหยัด ในการทาเหมืองแร่บางอย่าง
นั้นบางที ท รั พยากรแร่ ธ าตุที่ ได้ม าอาจมี หลายชนิด ดังนั้ นจึ งควรจะ
พยายามใช้ให้คุ้มค่าทุกชนิด อย่างประหยัดและลดการสูญเปล่า
          2. การส้ารวจแหล่งแร่ ควรมีการเร่งรัดการสารวจทรัพยากร
แร่ธาตุให้ครอบคลุมทั่วประเทศ เพื่อประโยชน์ในการวางแผนการใช้
ประโยชน์อย่างคุ้มค่า
3. การใช้แร่ชนิดอื่นทดแทน พยายามหาแร่ธาตุอื่น ๆ มาใช้
ทดแทนแร่ที่ใช้กันมาก อาทิการใช้อลูมิเนียมแทนเหล็ก
          4. น้า แร่ ที่ใช้ แล้ วกลับ มาใช้อี ก อาทิ ภาชนะเครื่อ งใช้ที่ เป็ น
อลูมิเนียมบางอย่างที่หมดสภาพการใช้แล้วสามารถนากลับมาหลอมใช้
ใหม่ได้อีก
          5. การจัดเก็บภาษีและค่าภาคหลวงแร ่ ต้องให้สอดคล้องกับ
จานวนแร่และราคาของแร่ด้วย
พลังงาน
          1. ใช้พลังงานอย่างประหยัด เช่น การใช้พลังงานไฟฟ้าถ้าไม่ใช้
ปิดสวิตช์ ถอดปลั๊กให้เรียบร้อย
          2. หาแหล่งพลังงานทดแทนแหล่งพลังงานที่มีอยู่เดิม
ป่าชายเลน
         1. การใช้ประโยชน์อย่างยาวนาน ปัจจุบันพื้นที่ป่าชายเลน ได้
ถูกทาลายลงอย่างมากโดยเฉพาะจากการตัดถนน การทานากุ้ง ดังนั้น
จึงควรมีมาตรการที่เหมาะสมในการใช้ประโยชน์ป่าชายเลน
         2. การปลูกป่า ควรมีการฟื้นฟูป่าชายเลนที่เสื่อมสภาพ การ
ปลูกสร้างป่าชายเลนขึ้นใหม่ในบริเวณที่สภาพแวดล้อมเอื้ออานวย
3. การใช้ ป่ า ชายเลนอย่ า งผสมผสาน ในกรณี ที่ มี ค วาม
ต้องการใช้ประโยชน์จากป่าชายเลน ควรพิจารณาอย่างรอบคอบและใช้
ให้คุ้มค่าในทรัพยากรที่มีอยู่ในบริเวณนั้นหลายๆ อย่างผสมผสานกัน
ไป
ปะการัง
         1. ไม่เก็บปะการังที่หักหรือเก็บขึ้นมาจากท้องทะเล ชีวิตนับ
ร้อยนับพันชีวิตที่ต้องตายลงจากโครงสร้างของปะการังที่ต้องใช้เวลานับ
ร้อยนับพันปีในการเจริญเติบโต และการเสื่อมสลายของปะการังนั้น
นาไปสู่ผลของการเสื่อมสูญอาหารจากทะเลในอนาคต เพราะปะการัง
เป็นที่อยู่อาศัยของชีวิตจากท้องทะเล เราจึงไม่ควรเก็บ ซื้อปะการังมา
เป็นของที่ระลึก หรือประดับตู้ปลา
2. ไม่ทิ้งสมอเรือในแนวปะการัง การทอดสมอเรือในแนว
ปะการังเพื่อจอดเรือในแต่ละครั้งจะสร้างความเสียหายให้กับปะการัง
ปัจจุบันได้มีการแก้ไขโดยการวางทุ่นเพื่อผูกเรือแทนการทอดสมอเรือ
เพื่อการคุ้มครองปะการัง
         3. ไม่ทิ้งขยะ นักท่องเที่ยวและประชาชนทั่วไปต้องไม่ทิ้งขยะ
และเศษสิ่งของลงท้อ งทะเล เพราะธรรมชาติจ ะสวยงามได้ต ลอดไป
ตราบเท่าเราไม่เข้าไปทาลาย
4. ประชาสัมพันธ์ให้มีการตระหนักถึงคุณค่าของทรัพยากร
ปะการัง โดยให้มีการศึกษาและเผยแพร่ความรู้และคุณค่าของปะการัง
ให้ กั บ บุ ค คลทุ ก ประเภท ทั้ ง ในระดั บ ท้ อ งถิ่ น และระดั บ ชาติ ในการ
ป้องกันและฟื้นฟูปะการัง
             5. ส่งเสริมให้กลุ่มชุมชน องค์กรเอกชนสมาคมหรือชมรมการ
ท่องเที่ยว ร่วมกันจัดกิจกรรมในเรื่องการรักษาความสะอาด เพื่อการ
คุ้มครองปะการัง
อ้างอิง
http://www.krumonbs.ob.tc/html/09.html

http://www.rmuti.ac.th/user/thanyaphak/Web%20EMR/W
eb%20IS%20Environment%20gr.3/page15_tem.htm

http://www.rmuti.ac.th/user/thanyaphak/Web%20EMR/W
eb%20IS%20Environment%20gr.3/page21_tem.htm

http://www.rmuti.ac.th/user/thanyaphak/Web%20EMR/W
eb%20IS%20Environment%20gr.3/page22_tem.htm
สมาชิก
นายพงศธร           หวลสวาสดิ์   เลขที่   13
นายสถาพร           ทองใบ        เลขที่   15
นางสาวรุ่งฤดี      พูลก้าลัง    เลขที่   18
นางสาวชฏาภรณ์      มากบุญ       เลขที่   25
นางสาววิไลลักษณ์   เขมารมย์     เลขที่   27
นางสาวศิริวิมล     แสนสวัสดิ์   เลขที่   31

More Related Content

Similar to หลักการอนุรักษ์

หลักการอนุรักษ์ทรัพยากร
หลักการอนุรักษ์ทรัพยากรหลักการอนุรักษ์ทรัพยากร
หลักการอนุรักษ์ทรัพยากรfainaja
 
หลักการอนุรักษ์ทรัพยากร
หลักการอนุรักษ์ทรัพยากรหลักการอนุรักษ์ทรัพยากร
หลักการอนุรักษ์ทรัพยากรfainaja
 
หลักการอนุรักษ์ทรัพยากร
หลักการอนุรักษ์ทรัพยากรหลักการอนุรักษ์ทรัพยากร
หลักการอนุรักษ์ทรัพยากรfainaja
 
หลักการอนุรักษ์ทรัพยากร
หลักการอนุรักษ์ทรัพยากรหลักการอนุรักษ์ทรัพยากร
หลักการอนุรักษ์ทรัพยากรfainaja
 
หลักการอนุรักษ์ทรัพยากร
หลักการอนุรักษ์ทรัพยากรหลักการอนุรักษ์ทรัพยากร
หลักการอนุรักษ์ทรัพยากรfainaja
 
หลักการอนุรักษ์ทรัพยากร
หลักการอนุรักษ์ทรัพยากรหลักการอนุรักษ์ทรัพยากร
หลักการอนุรักษ์ทรัพยากรfainaja
 
การปลูกป่าชายเลน
การปลูกป่าชายเลนการปลูกป่าชายเลน
การปลูกป่าชายเลนpangminpm
 
ทรัพยากรน้ำ
ทรัพยากรน้ำทรัพยากรน้ำ
ทรัพยากรน้ำnunticha
 
การท่องเที่ยวเชิง อนุรักษ์ 223
การท่องเที่ยวเชิง อนุรักษ์  223การท่องเที่ยวเชิง อนุรักษ์  223
การท่องเที่ยวเชิง อนุรักษ์ 223ธนพร แซ่เอี้ยว
 
ทรัพยากรธรรมชาติ (Natural resource)
ทรัพยากรธรรมชาติ (Natural resource)ทรัพยากรธรรมชาติ (Natural resource)
ทรัพยากรธรรมชาติ (Natural resource)Araya Toonton
 
การวิเคราะห์โครงการป่าชุมชนเศรษฐกิจพอเพียง
การวิเคราะห์โครงการป่าชุมชนเศรษฐกิจพอเพียงการวิเคราะห์โครงการป่าชุมชนเศรษฐกิจพอเพียง
การวิเคราะห์โครงการป่าชุมชนเศรษฐกิจพอเพียงsavokclash
 
โครงการป่าชุมชนเศรษฐกิจพอเพียง
โครงการป่าชุมชนเศรษฐกิจพอเพียงโครงการป่าชุมชนเศรษฐกิจพอเพียง
โครงการป่าชุมชนเศรษฐกิจพอเพียงLookNam Intira
 
โครงการปลูกหญ้าแฝก1
โครงการปลูกหญ้าแฝก1โครงการปลูกหญ้าแฝก1
โครงการปลูกหญ้าแฝก1Nuttayaporn2138
 
รายงานผลการวิจัย ปี 2553 การจัดกิจกรรมปลูกป่าชายเลน ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
รายงานผลการวิจัย ปี 2553 การจัดกิจกรรมปลูกป่าชายเลน ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์รายงานผลการวิจัย ปี 2553 การจัดกิจกรรมปลูกป่าชายเลน ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
รายงานผลการวิจัย ปี 2553 การจัดกิจกรรมปลูกป่าชายเลน ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์Kobwit Piriyawat
 
สิ่งแวดล้อม
สิ่งแวดล้อมสิ่งแวดล้อม
สิ่งแวดล้อมkasarin rodsi
 
ใบความรู้เรื่องงานประดิษฐ์
ใบความรู้เรื่องงานประดิษฐ์ใบความรู้เรื่องงานประดิษฐ์
ใบความรู้เรื่องงานประดิษฐ์Duangsuwun Lasadang
 
โครงการพระราชดำริ 32.
โครงการพระราชดำริ 32.โครงการพระราชดำริ 32.
โครงการพระราชดำริ 32.muk290140
 
โครงการพระราชดำริ
โครงการพระราชดำริโครงการพระราชดำริ
โครงการพระราชดำริtipfylovely
 
โครงการพระราชดำร
โครงการพระราชดำร โครงการพระราชดำร
โครงการพระราชดำร pang_patpp
 

Similar to หลักการอนุรักษ์ (20)

หลักการอนุรักษ์ทรัพยากร
หลักการอนุรักษ์ทรัพยากรหลักการอนุรักษ์ทรัพยากร
หลักการอนุรักษ์ทรัพยากร
 
หลักการอนุรักษ์ทรัพยากร
หลักการอนุรักษ์ทรัพยากรหลักการอนุรักษ์ทรัพยากร
หลักการอนุรักษ์ทรัพยากร
 
หลักการอนุรักษ์ทรัพยากร
หลักการอนุรักษ์ทรัพยากรหลักการอนุรักษ์ทรัพยากร
หลักการอนุรักษ์ทรัพยากร
 
หลักการอนุรักษ์ทรัพยากร
หลักการอนุรักษ์ทรัพยากรหลักการอนุรักษ์ทรัพยากร
หลักการอนุรักษ์ทรัพยากร
 
หลักการอนุรักษ์ทรัพยากร
หลักการอนุรักษ์ทรัพยากรหลักการอนุรักษ์ทรัพยากร
หลักการอนุรักษ์ทรัพยากร
 
หลักการอนุรักษ์ทรัพยากร
หลักการอนุรักษ์ทรัพยากรหลักการอนุรักษ์ทรัพยากร
หลักการอนุรักษ์ทรัพยากร
 
การปลูกป่าชายเลน
การปลูกป่าชายเลนการปลูกป่าชายเลน
การปลูกป่าชายเลน
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
ทรัพยากรน้ำ
ทรัพยากรน้ำทรัพยากรน้ำ
ทรัพยากรน้ำ
 
การท่องเที่ยวเชิง อนุรักษ์ 223
การท่องเที่ยวเชิง อนุรักษ์  223การท่องเที่ยวเชิง อนุรักษ์  223
การท่องเที่ยวเชิง อนุรักษ์ 223
 
ทรัพยากรธรรมชาติ (Natural resource)
ทรัพยากรธรรมชาติ (Natural resource)ทรัพยากรธรรมชาติ (Natural resource)
ทรัพยากรธรรมชาติ (Natural resource)
 
การวิเคราะห์โครงการป่าชุมชนเศรษฐกิจพอเพียง
การวิเคราะห์โครงการป่าชุมชนเศรษฐกิจพอเพียงการวิเคราะห์โครงการป่าชุมชนเศรษฐกิจพอเพียง
การวิเคราะห์โครงการป่าชุมชนเศรษฐกิจพอเพียง
 
โครงการป่าชุมชนเศรษฐกิจพอเพียง
โครงการป่าชุมชนเศรษฐกิจพอเพียงโครงการป่าชุมชนเศรษฐกิจพอเพียง
โครงการป่าชุมชนเศรษฐกิจพอเพียง
 
โครงการปลูกหญ้าแฝก1
โครงการปลูกหญ้าแฝก1โครงการปลูกหญ้าแฝก1
โครงการปลูกหญ้าแฝก1
 
รายงานผลการวิจัย ปี 2553 การจัดกิจกรรมปลูกป่าชายเลน ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
รายงานผลการวิจัย ปี 2553 การจัดกิจกรรมปลูกป่าชายเลน ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์รายงานผลการวิจัย ปี 2553 การจัดกิจกรรมปลูกป่าชายเลน ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
รายงานผลการวิจัย ปี 2553 การจัดกิจกรรมปลูกป่าชายเลน ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
 
สิ่งแวดล้อม
สิ่งแวดล้อมสิ่งแวดล้อม
สิ่งแวดล้อม
 
ใบความรู้เรื่องงานประดิษฐ์
ใบความรู้เรื่องงานประดิษฐ์ใบความรู้เรื่องงานประดิษฐ์
ใบความรู้เรื่องงานประดิษฐ์
 
โครงการพระราชดำริ 32.
โครงการพระราชดำริ 32.โครงการพระราชดำริ 32.
โครงการพระราชดำริ 32.
 
โครงการพระราชดำริ
โครงการพระราชดำริโครงการพระราชดำริ
โครงการพระราชดำริ
 
โครงการพระราชดำร
โครงการพระราชดำร โครงการพระราชดำร
โครงการพระราชดำร
 

More from fainaja

หลักการอนุรักษ์
หลักการอนุรักษ์หลักการอนุรักษ์
หลักการอนุรักษ์fainaja
 
ทรัพยากรอากาศ2
ทรัพยากรอากาศ2ทรัพยากรอากาศ2
ทรัพยากรอากาศ2fainaja
 
ทรัพยากรอากาศ2
ทรัพยากรอากาศ2ทรัพยากรอากาศ2
ทรัพยากรอากาศ2fainaja
 
ทรัพยากรอากาศ
ทรัพยากรอากาศ ทรัพยากรอากาศ
ทรัพยากรอากาศ fainaja
 
โรคทางพันธุกรรม
โรคทางพันธุกรรมโรคทางพันธุกรรม
โรคทางพันธุกรรมfainaja
 
โรคทางพันธุกรรมเพรเดอร์2
โรคทางพันธุกรรมเพรเดอร์2โรคทางพันธุกรรมเพรเดอร์2
โรคทางพันธุกรรมเพรเดอร์2fainaja
 
โรคG6 pd[1]
โรคG6 pd[1]โรคG6 pd[1]
โรคG6 pd[1]fainaja
 
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรมใหม่มาก
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรมใหม่มากโรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรมใหม่มาก
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรมใหม่มากfainaja
 
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรมใหม่
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรมใหม่โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรมใหม่
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรมใหม่fainaja
 
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรมโรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรมfainaja
 
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม4
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม4โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม4
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม4fainaja
 
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม4
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม4โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม4
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม4fainaja
 
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม4
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม4โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม4
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม4fainaja
 
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม4
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม4โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม4
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม4fainaja
 
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม2
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม2โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม2
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม2fainaja
 
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม2
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม2โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม2
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม2fainaja
 
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรมโรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรมfainaja
 

More from fainaja (17)

หลักการอนุรักษ์
หลักการอนุรักษ์หลักการอนุรักษ์
หลักการอนุรักษ์
 
ทรัพยากรอากาศ2
ทรัพยากรอากาศ2ทรัพยากรอากาศ2
ทรัพยากรอากาศ2
 
ทรัพยากรอากาศ2
ทรัพยากรอากาศ2ทรัพยากรอากาศ2
ทรัพยากรอากาศ2
 
ทรัพยากรอากาศ
ทรัพยากรอากาศ ทรัพยากรอากาศ
ทรัพยากรอากาศ
 
โรคทางพันธุกรรม
โรคทางพันธุกรรมโรคทางพันธุกรรม
โรคทางพันธุกรรม
 
โรคทางพันธุกรรมเพรเดอร์2
โรคทางพันธุกรรมเพรเดอร์2โรคทางพันธุกรรมเพรเดอร์2
โรคทางพันธุกรรมเพรเดอร์2
 
โรคG6 pd[1]
โรคG6 pd[1]โรคG6 pd[1]
โรคG6 pd[1]
 
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรมใหม่มาก
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรมใหม่มากโรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรมใหม่มาก
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรมใหม่มาก
 
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรมใหม่
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรมใหม่โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรมใหม่
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรมใหม่
 
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรมโรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม
 
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม4
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม4โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม4
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม4
 
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม4
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม4โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม4
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม4
 
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม4
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม4โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม4
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม4
 
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม4
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม4โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม4
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม4
 
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม2
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม2โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม2
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม2
 
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม2
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม2โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม2
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม2
 
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรมโรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม
 

หลักการอนุรักษ์

  • 2. มีแนวทางการอนุรกษ์ดังนี้ ั 1. การใช้แบบยั่งยืน (sustainable utilization) หมายถึงการใช้ทรัพยากรธรรมชาติอย่างเหมาะสมให้ได้ประโยชน์สูงสุด เมื่อใช้แล้วเกิดมลพิษน้อยที่สุดหรือไม่เกิดเลย นาของเสียมาใช้ประโยชน์ หรื อ รี ไ ซเคิ ล (Recycle) ถ้ า ในสั ง คม ไม่ ร ะมั ด ระวั ง การใช้ ทรัพยากรธรรมชาติแล้ว จะก่อให้เกิดปัญหาการขาดแคลนทรัพยากร และปัญหาสิ่งแวดล้อมตามมา ดังนั้นจึงต้องใช้ทรัพยากรธรรมชาติให้ พอดี ซึ่งส่งผลให้เกิดการใช้อย่างยั่งยืนอย่างมีประสิทธิภาพ
  • 3. 2. การกักเก็บ (storage) หมายถึง การรวบรวมและกักเก็บ ทรัพยากรที่มีแนวโน้มจะขาดแคลนได้เพื่อเอาไว้ใช้ในอนาคต เช่น การ ถนอมอาหาร การทายุ้งฉาง การกักเก็บน้า การกักเก็บเพื่อ ความมั่นคง เช่น การกักเก็บรักษาป่าไม้ แร่ น้ามันปิโตรเลียม แก๊สธรรมชาติ ถ่าน หิน น้า เป็นต้น
  • 4. 3. การรักษาซ่อมแซม (repair) เมื่อทรัพยากรถูกทาลายโดย มนุ ษ ย์ หรื อ โดยธรรมชาติ ก็ ต ามมีค วามจ าเป็ น ที่ จะต้ อ งรั กษา หรื อ ซ่อมแซมให้กลับมาเป็นปกติ เช่น การเติมอากาศในบ่อบาบัดน้าเสียการ ปลูกป่าทดแทน การเพาะพันธุ์สัตว์ป่าเพื่อนาไปปล่อยกลับสู่ธรรมชาติ
  • 5. 4. การฟื้นฟู (rehabilitation) เมื่อทรัพยากรธรรมชาติ เกิดความเสื่อมโทรมไม่ว่าจะมากหรือน้อยก็ตาม จึงจาเป็นต้องมีการ ฟื้นฟูเพื่อให้อยู่ในสภาพปกติ เพื่อให้สามารถใช้ทรัพยากรที่ได้อีก และ ใช้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ เช่น การเสริมสร้างที่อยู่อาศัยให้สิ่งมีชีวิตใน ทะเล ด้วยการสร้างแนวปะการังเทียมจากแท่งคอนกรีตหรือยางรถยนต์ หรือการปลูกป่า เป็นต้น
  • 6. 5. การป้องกัน (prevention) เป็นการหาวิธีป้องกันและ คุ้ ม ครองเพื่ อ ปกป้ อ งคุ้ ม ครองทรั พ ยากรที่ ก าลั ง ถู ก ท าลาย หรื อ มี แนวโน้ ม ว่ า จะถู ก ท าลายให้ ส ามารถอยู่ ใ นสภาพปกติ เช่ น การออก กฎหมายหรื อ พระราชบั ญ ญั ติ คุ้ ม ครอง การรณรงค์ แ ละให้ ค วามรู้ เกี่ยวกับการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ เป็นต้น
  • 8. น้้า 1. การใช้น้าอย่างประหยัด นอกจากจะช่วยลดค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับค่า น้ าลงได้ แ ล้ ว ยั ง ท าให้ ป ริ ม าณน้ าเสี ย ที่ จ ะทิ้ ง ลงแหล่ ง น้ าลดลง และ ป้องกันการขาดแคลนน้าได้ด้วย 2. การสงวนน้้าไว้ใช้ ในบางฤดูหรือในสภาวะที่มีน้ามากเหลือใช้ ควรมีการเก็บน้าไว้ใช้ เช่น การทาบ่อเก็บน้า การใส่โอ่งน้า การขุดลอก แหล่งน้า รวมทั้งการสร้างอ่างเก็บน้าไว้เพื่อการเกษตร
  • 9. 3. การพัฒนาแหล่ ง น้้า ในบางพื้น ที่ ขาดแคลนน้า จาเป็น ที่ จะต้ อ งหาแหล่ ง น้ าเพิ่ ม เติ ม เพื่ อ ให้ มี น้ าไว้ ใ ช้ ทั้ ง ในครั ว เรื อ นและใน การเกษตรได้อย่างเพียงพอ ปัจจุบันการนาน้าบาดาลขึ้นมาใช้กาลัง แพร่ ห ลายมาก แต่ อ าจมี ปั ญ หาเรื่ อ งแผ่ น ดิ น ทรุ ด เช่ น ในบริ เ วณ กรุงเทพฯ ทาให้เกิดดินทรุดได้ จึงควรมีมาตรการกาหนดว่าเขตใดควร ใช้น้าใต้ดินได้มากน้อยเพียงใด
  • 10. 4. การป้องกันน้้าเสีย การไม่ทิ้งขยะ สิ่งปฏิกูล และสารพิษลง ในแหล่งน้า น้าเสียที่เกิดจากโรงงานอุตสาหกรรม โรงพยาบาล ควรมี การบ าบั ด และขจั ด สารพิ ษ ก่อ นที่ จ ะปล่ อ ยลงสู่ แ หล่ ง น้ า การวางท่ อ ระบายน้าจากบ้านเรือน การวางฝังการก่อสร้างโดยไม่ให้น้าสกปรกไหล ลงสู่แม่น้าลาคลอง 5. การน้าน้้าเสียกลับไปใช้ น้าที่ไม่สามารถใช้ได้ในกิจการหนึ่ง เช่น น้าทิ้งจากการล้างภาชนะอาหาร สามารถนาไปรดต้นไม้ โรงงาน บางแห่งอาจนาน้าทิ้งมาทาให้สะอาดแล้วนากลับมาใช้ใหม่
  • 11.
  • 12. ดิน 1. การใช้ดินอย่างถูกต้องเหมาะสม การปลูกพืชควรคานึงถึง ชนิดของพืชที่ เหมาะสมกับคุณสมบัติของดิน การปลูกพืชและการไถ พรวนตามแนวระดับเพื่อป้องกันการชะล้างพังทลายของหน้าดิน 2. การปรับปรุง บ้า รุงดิน การเพิ่มธาตุอาหารให้แก่ดิน เช่น การใส่ปุ๋ยพืชสด ปุ๋ยคอก การปลูกพืชตระกูลถั่ว การใส่ปูนขาวในดินที่ เป็นกรด การแก้ไขพื้นที่ดินเค็มด้วยการระบายน้าเข้าที่ดิน เป็นต้น
  • 13. 3. การป้องกันการเสื่อมโทรมของดิน ได้แก่ การปลูกพืชคลุม ดิน การปลูกพืชหมุนเวียน การปลูกพืชบังลม การไถพรวนตามแนว ระดับ การทาคันดินป้องกันการไหลชะล้างหน้าดิน รวมทั้งการไม่เผาป่า หรือการทาไร่เลื่อนลอย 4. การให้ความชุ่มชื้นแก่ดิน การระบายน้าในดินที่มีน้าขังออก การจัดส่งน้าเข้าสู่ที่ดินและการใช้วัสดุ เช่น หญ้าหรือฟางคลุมหน้าดินจะ ช่วยให้ดินมีความอุดมสมบูรณ์
  • 14.
  • 15. ป่าไม้ 1. การก้าหนดเขตการใช้ประโยชน์ที่ดินป่าไม้ 2. การอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้ เกี่ยวกับงานป้องกันรักษาป่า การ อนุรักษ์สิ่งแวดล้อมและสันทนาการ 3. การจัดการที่ดินท้ากินให้แก่ราษฎรผู้ยากไร้ในท้องถิ่น 4. การพัฒนาป่าไม้ เช่น การทาไม้ การเก็บหาของป่า การปลูกป่า การบารุงป่าไม้ การค้นคว้าวิจัย และอุตสาหกรรม การบริหารทั่วไป
  • 16.
  • 17. สัตว์ป่า 1. กฎหมาย กฎหมายคุ้มครองสัตว์ป่าควรกว้างแต่รัดกุม เพื่อ คุ้มครองชิวิตสัตว์ป่าให้ปลอดภัย กฎหมายคุ้มครองสัตว์ป่าของไทยที่ใช้ กันอยู่เป็นพระราชบัญญัติ พ.ศ. 2535 ที่สาคัญคือการควบคุมดูแลให้ เกิดการปฏิบัติของทุกคนบุคคลเป็นไปตามกฎหมาย 2. การควบคุ ม สั ต ว์ ที่ กิ น สั ต ว์ อื่ น เป็ น อาหาร มาตรการนี้ ใ ช้ ปฏิบัติกันมากในระยะของการจัดการสัตว์ป่าในสหรัฐอเมริกา หลายครั้ง ที่มีการให้รางวัลสาหรับการฆ่าสัตว์ที่กินสัตว์อื่น
  • 18. 3. การพัฒนาที่อยู่อาศัย แนวทางการจัดการสัตว์ป่าที่ดีที่สุดใน ปัจจุบันคือ เพิ่มที่อยู่อาศัย พร้อมกับปรับปรุงคุณภาพที่อยู่อาศัยที่มีอยู่ ให้ดีขึ้น เพราะว่าไม่ว่าจะออกกฎหมายคุ้มครองสัตว์ป่าควบคุมสัตว์ที่กิน สัตว์ ขยายพันธุ์เทียม หรือนาสัตว์จากที่อื่นเข้ามาเลี้ยง สัตว์ป่าก็ยังคง อยู่ในอันตราย ถ้าขาดที่อยู่อาศัย 4. การรณรงค์เผยแพร่ประชาสัมพันธ์ ให้เห็นความสาคัญใน การอนุรักษ์สัตว์ป่าอย่างจริงจัง 5. การไม่ล่าสัตว์ป่า ไม่ควรมีการล่าสัตว์ป่าทุกชนิด ทั้งสัตว์ป่า สงวนและสัตว์ป่าคุ้มครอง เพราะปัจจุบันสัตว์ป่าทุกชนิดได้ลดจานวนลง อย่างมากทาให้ขาดความสมดุลทางธรรมชาติ
  • 19. 6. การป้องกันไฟป่า ไฟป่านอกจากจะทาให้ป่าไม้ สัตว์ป่าถูก ทาลายแล้วยังเป็นการทาลายแหล่งอาหารและที่อยู่อาศัยของสัตว์ป่า ด้วย 7. การปลูกฝังการให้ความรักและเมตตาต่อสัตว์อย่างถูกวิธ ี สัตว์ป่าทุกชนิดมีความรักชีวิตเหมือนกับมนุษย์ การฆ่าสัตว์ป่า การนา สัตว์ป่ามาเลี้ยงไว้ในบ้านเป็นการทรมานสัตว์ป่าซึ่งมักไม่มีชีวิตรอด 8. การเพาะพั น ธุ์ สั ต ว์ ป่ า ที่ ก้ า ลั ง จะสู ญ พั น ธุ์ ห รื อ มี จ้ า นวน น้อยลง ควรมีการเพาะพันธุ์ขยายพันธุ์ให้มีจานวนเพิ่มขึ้น เพื่อเป็นการ ทดแทนและเร่งให้มีสัตว์ป่าเพิ่มขึ้น
  • 20.
  • 21. แร่ธาตุ 1. การใช้แร่ธาตุอย่างประหยัด ในการทาเหมืองแร่บางอย่าง นั้นบางที ท รั พยากรแร่ ธ าตุที่ ได้ม าอาจมี หลายชนิด ดังนั้ นจึ งควรจะ พยายามใช้ให้คุ้มค่าทุกชนิด อย่างประหยัดและลดการสูญเปล่า 2. การส้ารวจแหล่งแร่ ควรมีการเร่งรัดการสารวจทรัพยากร แร่ธาตุให้ครอบคลุมทั่วประเทศ เพื่อประโยชน์ในการวางแผนการใช้ ประโยชน์อย่างคุ้มค่า
  • 22. 3. การใช้แร่ชนิดอื่นทดแทน พยายามหาแร่ธาตุอื่น ๆ มาใช้ ทดแทนแร่ที่ใช้กันมาก อาทิการใช้อลูมิเนียมแทนเหล็ก 4. น้า แร่ ที่ใช้ แล้ วกลับ มาใช้อี ก อาทิ ภาชนะเครื่อ งใช้ที่ เป็ น อลูมิเนียมบางอย่างที่หมดสภาพการใช้แล้วสามารถนากลับมาหลอมใช้ ใหม่ได้อีก 5. การจัดเก็บภาษีและค่าภาคหลวงแร ่ ต้องให้สอดคล้องกับ จานวนแร่และราคาของแร่ด้วย
  • 23.
  • 24. พลังงาน 1. ใช้พลังงานอย่างประหยัด เช่น การใช้พลังงานไฟฟ้าถ้าไม่ใช้ ปิดสวิตช์ ถอดปลั๊กให้เรียบร้อย 2. หาแหล่งพลังงานทดแทนแหล่งพลังงานที่มีอยู่เดิม
  • 25.
  • 26. ป่าชายเลน 1. การใช้ประโยชน์อย่างยาวนาน ปัจจุบันพื้นที่ป่าชายเลน ได้ ถูกทาลายลงอย่างมากโดยเฉพาะจากการตัดถนน การทานากุ้ง ดังนั้น จึงควรมีมาตรการที่เหมาะสมในการใช้ประโยชน์ป่าชายเลน 2. การปลูกป่า ควรมีการฟื้นฟูป่าชายเลนที่เสื่อมสภาพ การ ปลูกสร้างป่าชายเลนขึ้นใหม่ในบริเวณที่สภาพแวดล้อมเอื้ออานวย
  • 27. 3. การใช้ ป่ า ชายเลนอย่ า งผสมผสาน ในกรณี ที่ มี ค วาม ต้องการใช้ประโยชน์จากป่าชายเลน ควรพิจารณาอย่างรอบคอบและใช้ ให้คุ้มค่าในทรัพยากรที่มีอยู่ในบริเวณนั้นหลายๆ อย่างผสมผสานกัน ไป
  • 28.
  • 29. ปะการัง 1. ไม่เก็บปะการังที่หักหรือเก็บขึ้นมาจากท้องทะเล ชีวิตนับ ร้อยนับพันชีวิตที่ต้องตายลงจากโครงสร้างของปะการังที่ต้องใช้เวลานับ ร้อยนับพันปีในการเจริญเติบโต และการเสื่อมสลายของปะการังนั้น นาไปสู่ผลของการเสื่อมสูญอาหารจากทะเลในอนาคต เพราะปะการัง เป็นที่อยู่อาศัยของชีวิตจากท้องทะเล เราจึงไม่ควรเก็บ ซื้อปะการังมา เป็นของที่ระลึก หรือประดับตู้ปลา
  • 30. 2. ไม่ทิ้งสมอเรือในแนวปะการัง การทอดสมอเรือในแนว ปะการังเพื่อจอดเรือในแต่ละครั้งจะสร้างความเสียหายให้กับปะการัง ปัจจุบันได้มีการแก้ไขโดยการวางทุ่นเพื่อผูกเรือแทนการทอดสมอเรือ เพื่อการคุ้มครองปะการัง 3. ไม่ทิ้งขยะ นักท่องเที่ยวและประชาชนทั่วไปต้องไม่ทิ้งขยะ และเศษสิ่งของลงท้อ งทะเล เพราะธรรมชาติจ ะสวยงามได้ต ลอดไป ตราบเท่าเราไม่เข้าไปทาลาย
  • 31. 4. ประชาสัมพันธ์ให้มีการตระหนักถึงคุณค่าของทรัพยากร ปะการัง โดยให้มีการศึกษาและเผยแพร่ความรู้และคุณค่าของปะการัง ให้ กั บ บุ ค คลทุ ก ประเภท ทั้ ง ในระดั บ ท้ อ งถิ่ น และระดั บ ชาติ ในการ ป้องกันและฟื้นฟูปะการัง 5. ส่งเสริมให้กลุ่มชุมชน องค์กรเอกชนสมาคมหรือชมรมการ ท่องเที่ยว ร่วมกันจัดกิจกรรมในเรื่องการรักษาความสะอาด เพื่อการ คุ้มครองปะการัง
  • 32.
  • 34. สมาชิก นายพงศธร หวลสวาสดิ์ เลขที่ 13 นายสถาพร ทองใบ เลขที่ 15 นางสาวรุ่งฤดี พูลก้าลัง เลขที่ 18 นางสาวชฏาภรณ์ มากบุญ เลขที่ 25 นางสาววิไลลักษณ์ เขมารมย์ เลขที่ 27 นางสาวศิริวิมล แสนสวัสดิ์ เลขที่ 31