SlideShare a Scribd company logo
พระราชดาริว่า “…ป่าชายเลนมีประโยชน์ต่อระบบนิเวศน์ของพื้นที่
ชายทะเลและอ่าวไทย แต่ปัจจุบัน ป่าชายเลนของประเทศไทย กาลังถูกบุกรุกและถูก
ทาลายไป โดยผู้แสวงหาผลประโยชน์ส่วนตน จึงควรหาทางป้องกันอนุรักษ์และ
ขยายพันธุ์เพิ่มขึ้น โดยเฉพาะต้นโกงกาง เป็นไม้ชายเลนที่แปลก และขยายพันธุ์
ค่อนข้างยาก เพราะต้องอาศัยระบบน้าขึ้นน้าลงในการเติบโตด้วย จึงขอให้ส่วน
ราชการ ที่เกี่ยวข้อง คือกรมป่าไม้ กรมประมง กรมชลประทาน และกรมอุทกศาสตร์
ร่วมกันหาพื้นที่ที่เหมาะสม ในการทดลองขยายพันธุ์โกงกาง และปลูกสร้างป่าชาย
เลนกันต่อไป…”
ป่าชายเลนในประเทสไทย
           ป่าชายเลนเป็นระบบนิเวศที่ประกอบด้วยพืชและสัตว์นานาชนิด ดารงชีวิต
ร่วมกันในสภาพแวดล้อมที่เป็นดินเลน น้ากร่อย หรือมีน้าทะเลท่วมถึงสม่าเสมอ พบ
ทั่วไปตามที่ราบปากแม่น้า อ่าว บริเวณชายฝั่งทะเลในเขตน้าขึ้นน้าลง ทะเลสาบ และ
บริเวณรอบเกาะแก่งต่างๆ
           ป่าชายเลนประกอบด้วยพันธุ์ไม้หลายชนิดหลายตระกูล และเป็นพันธุ์ไม้ไม่
ผลัดใบ (evergreen species) ซึ่งมีลักษณะทางสรีรวิทยาและความต้องการสิ่งแวดล้อม
ที่คล้ายกัน ส่วนใหญ่ประกอบด้วยพันธุ์ไม้สกุลโกงกาง (Rhizophora sp.) เป็นไม้
สาคัญและมีไม้ตระกูลอื่นบ้าง ตัวอย่างเช่น ถั่วดา ถั่วขาว พังกาหัวสุมดอกแดง โปรง
ขาว โปรงแดง ตะบูนดา ตะบูนขาว แสมขาว แสมทะเล ลาพู ลาพูทะเล ตาตุ่มทะเล
เหงือกปลาหมอ เป็นต้น
สภาพแวดล้อมโดยทั่วไป
         สภาพแวดล้อมโดยทั่วไปของป่าชายเลนมีความแตกต่างออกไปอย่างมากจากป่า
ชนิดอื่นๆ โดยเฉพาะดิน ดินในป่าชายเลนมีความอุดมสมบูรณ์สูงจากธาตุอาหารที่มาจาก
การกันเซาะตามชายฝั่ง และแหล่งน้าลาธาร สารอินทรีย์จากซากพืชซากสัตว์ในบริเวณป่า
ชายเลนเอง โดยเฉพาะใบไม้ที่ร่วงหล่นทับถมกันเป็นจานวนมาก แพลงค์ตอนพืชและ
สาหร่าย น้าบริเวณนี้มีความเค็มค่อนข้างต่า ระดับความเค็มของน้าเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา
ตามระดับน้าที่ขึ้นลงและปริมาณน้าจืดไหลมาจากแม่น้าลาคลอง
         สัตว์ต่างๆที่อาศัยอยู่ในป่าชายเลน ต่างก็ได้รับอิทธิพลจากสภาพแวดล้อมที่ต่าง
ไปจากสัตว์ในป่าบกทั่วไปเช่นกัน โดยเฉพาะสัตว์ที่อาศัยอยู่ตามพื้นป่า ซึ่งอาศัยคืบคลาน
หรือเกาะหรือขุดรูอยู่ตามพื้นดิน รวมทั้งชนืดที่อาศัยอยู่ในน้าจะต้องมีการปรับตัวอย่างมาก
เพื่อการอยู่รอด เนื่องจากต้องประสบกับสภาวะต่างๆ ที่เปลี่ยนแปลงอยู่เป็นประจาหรือต้อง
อยู่ในสภาพไม่เหมาะสมต่อการดารงชีวิตโดยทั่วไป
สภาวะที่ทาให้มีการสูญเสียน้าออกจากลาตัว สภาพอุณหภูมิสูง สภาพที่มีปริมาณ
ออกซิเจนค่อนข้างต่าของดินเลน และการเปลี่ยนแปลงความเค็มของน้า สัตว์พวกนี้ได้แก่
หอย ปู กุ้ง หนอนตัวกลม หนอนตัวแบน ไส้เดือนทะเล และครัสเตเชียน (สัตว์ไม่มีกระดู
สันหลังจาพวกกุ้ง ปู) เป็นต้น
           ชุมชนในป่าชายเลนจะประกอบไปด้วยสิ่งมีชีวิตชนิดต่างๆจานวนมากที่
สามารถปรับตัวอยู่ได้ ทาให้ป่าชายเลนมีความอุดมสมบูรณ์ เป็นที่วางไข่และอนุบาลตัว
อ่อนและที่อยู่อาศัยของสัตว์ที่มีความสาคัญทางเศรษฐกิจหลายชนิด
ประโยชน์ของป่าชายเลน
   1. เป็นแหล่งพลังงาน อาหาร และที่อยู่อาศัยของพืชและสัตว์ตามธรรมชาติ
   2. เป็นแนวชายป้องกันฝั่งทะเลจากการกัดเซาะพังทลาย กาบังคลื่น ลม กระแสน้าและพายุ
   3. เป็นที่ดูดซับน้าเสียจากบ้านเรือน
   4. เป็นแหล่งวัตถุดิบผลิตภัณฑ์จากไม้ ที่ใช้ในการก่อสร้าง และอุตสาหกรรมอื่นๆ เช่น สิ่ง
ทอและหนังสัตว์น้าชายฝั่ง เช่น หอยแมลงภู่ กุ้ง ปลาในกระชัง เป็นต้น
   5. เป็นแหล่งเชื้อเพลิง เช่น การทาถ่านจากไม้ในป่าชายเลน
   6. เป็นแหล่งวัตถุดิบในการผลิตอาหาร ยา และเครื่องดื่ม
   7. เป็นแหล่งแร่ดีบุก
   8. เป็นแหล่งประมงใกล้ชายฝั่ง แหล่งอาศัยของลูกปลา ลูกกุ้ง และสัตว์
น้าวัยอ่อนอื่นๆ
   9. เป็นที่เหมาะสมในการเพาะเลี้ยงสัตว์น้าชายฝั่ง เช่น หอยแมลงภู่ กุ้ง
ปลาในกระชัง เป็นต้น
ปัจจัยสาคัญที่ทาให้พันธุ์ไม้ของป่าชายเลนขึ้นอยู่เป็นเขตหรือเป็นโซน
            1. ปัจจัยทางกายภาพและเคมีของดิน โกงกางใบใหญ่ชอบดินที่มีสภาพเป็น
โคลนนิ่ม ๆ โกงกางใบเล็กชอบดินเลนที่ไม่นิ่มเกินไป ไม้แสมชอบบริเวณชายหาดที่มี
ความลาดชันต่า สามารถทนต่อสภาพดินทรายได้เมื่อบริเวณนั้นมีน้าทะเลท่วมถึง ไม้
ถั่วขาวจะขึ้นในบริเวณดินเหนียวที่มีลักษณะค่อนข้างแข็ง มีชั้นของฮิวมัสและมีการระบาย
น้าที่ดี ต้นจากจะเป็นส่วนประกอบที่สาคัญตามบริเวณป่าชายเลนที่มีสภาพอิ่มตัวด้วยน้า
พวกปรงทะเลจะมีกระจายมากในบริเวณดินแฉะและน้ากร่อย
            2. ความเค็มของน้าในดิน โกงกางใบใหญ่ ลาพู ลาแพน เป็นพวกซึ่งต้องการ
ความเค็มสูงจึงมักพบขึ้นอยู่บริเวณติดกับทะเล สาหรับไม้แสมทะเลจะมีความทนทานต่อ
ความเค็มในช่วงกว้างโดยเจริญเติบโตได้ดี ตั้งแต่บริเวณ ที่มีความเค็มต่าจนถึงสูง ความ
เค็มไม่ใช่เป็นสิ่งสาคัญต่อการเจริญเติบโต แต่มีอิทธิพลต่อการลด การแก่งแย่งของพันธุ์
ไม้ต่างชนิดกัน ในประเทศไทย
สรุปสถานการณ์และปัญหาป่าชายเลน
สถานการณ์ของทรัพยากรป่าชายเลนที่เหลืออยู่ในปัจจุบัน[6] เห็นได้ว่าการจัดการป่าชาย
เลนในอดีตยังมีปัญหาข้อขัดข้องในทางปฏิบัติจาเป็น ต้องแก้ไข ปรับปรุงอีกเนื่องจาก
         1. พื้นที่ป่าชายเลนลดลงไปมากกว่าครึ่งจากอดีต หากสถานการณ์การใช้
ประโยชน์พื้นที่ป่าชายเลนยังเป็นไปในทิศทางที่เป็นอยู่ในปัจจุบัน ก็คาดได้ว่าพื้นที่ป่าชาย
เลนจะถูกแปรสภาพเพื่อกิจการอื่นอย่างต่อเนื่องต่อไป โดยเฉพาะอย่างยิ่งการทาบ่อเลี้ยง
กุ้ง
          2. สภาพป่าชายเลนที่เหลืออยู่ไม่อุดมสมบูรณ์ ทั้งด้านผลผลิตขั้นปฐมภูมิ
 ของระบบนิเวศในรูปของมวลชีวภาพของพืช และในด้านกาลังผลิตไม้เพื่อใช้
 ประโยชน์ทาเชื้อเพลิง ถ่าน หรือจากปริมาณสัตว์น้าที่ราษฎรจับได้จากนิเวศป่าชาย
 เลน
 3. ความเสื่อมโทรมของสภาพนิเวศสิ่งแวดล้อมชายฝั่งได้ทวีความรุนแรงและส่งผล
 กระทบเป็นลูกโซ่
จากการรวบรวบสถานการณ์ปัญหาที่เกิดขึ้นในป่าชายเลน สามารถสรุปได้ว่า สาเหตุสาคัญ
ที่ส่งผลทาให้พื้นที่ป่าชายเลนลดลงและเสื่อมโทรมอย่างมาก อาจแบ่งได้เป็น 2 ช่วง คือ
1. ระหว่างปี พ.ศ. 2504 – 2522 สาเหตุหลักของการทาลายป่าชายเลน ได้แก่
           - เกิดการบุกรุกพื้นที่ป่าเพื่อตัดไม้มาทาฟืนและถ่านในเชิงพาณิชย์
           - การทาเหมืองแร่ในป่าชายเลน
           - การสร้างท่าเรือและเขื่อน
2. ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2529 เป็นต้นไป สาเหตุหลักของการทาลายป่าชายเลน ได้แก่
           - การบุกรุกเพื่อใช้ประโยชน์ในการเพาะเลี้ยงสัตว์น้า เช่น ทานากุ้ง เพื่อการ
ส่งออก ซึ่งมีทั้งกิจการที่มีคนไทย และคนต่างชาติเป็นเจ้าของ
           - การขยายพื้นที่เมือง และชุมชนอุตสาหกรรม (สิริวัฒน์ วงษ์ศิริ, ศุภชัย หล่อโหะ
การ บก.,2532 : 42)
โครงการปลูกป่าชายเลน

More Related Content

What's hot

สื่อการเรียนการสอนวิชาวิทยาศาสตร์ เรื่อง ทรัพยากรป่าไม้
สื่อการเรียนการสอนวิชาวิทยาศาสตร์ เรื่อง ทรัพยากรป่าไม้สื่อการเรียนการสอนวิชาวิทยาศาสตร์ เรื่อง ทรัพยากรป่าไม้
สื่อการเรียนการสอนวิชาวิทยาศาสตร์ เรื่อง ทรัพยากรป่าไม้Alatreon Deathqz
 
การแก้ไขปัญหาทรัพยากรป่าไม้
การแก้ไขปัญหาทรัพยากรป่าไม้การแก้ไขปัญหาทรัพยากรป่าไม้
การแก้ไขปัญหาทรัพยากรป่าไม้siwimon12090noonuch
 
Type of forest
Type of forestType of forest
Type of forest
pukan19
 
โครงการเศรษฐกิจ
โครงการเศรษฐกิจโครงการเศรษฐกิจ
โครงการเศรษฐกิจsisirada
 
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้Kittayaporn Changpan
 
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
พัน พัน
 
โครงการติดตามการฟื้นตัวและการจัดการปะการังฟอกขาว
โครงการติดตามการฟื้นตัวและการจัดการปะการังฟอกขาวโครงการติดตามการฟื้นตัวและการจัดการปะการังฟอกขาว
โครงการติดตามการฟื้นตัวและการจัดการปะการังฟอกขาว
Auraphin Phetraksa
 
2ถิ่นกำเนิด
2ถิ่นกำเนิด2ถิ่นกำเนิด
2ถิ่นกำเนิด
มหัศจรรย์ ป่าสาคู
 
สถานภาพปะการังในเขต อุทยานแห่งชาติทางทะเล หลังปรากฏการณ์ปะการังฟอกขาว
สถานภาพปะการังในเขตอุทยานแห่งชาติทางทะเลหลังปรากฏการณ์ปะการังฟอกขาวสถานภาพปะการังในเขตอุทยานแห่งชาติทางทะเลหลังปรากฏการณ์ปะการังฟอกขาว
สถานภาพปะการังในเขต อุทยานแห่งชาติทางทะเล หลังปรากฏการณ์ปะการังฟอกขาว
Auraphin Phetraksa
 
บทที่ 23 มนุษย์กับความยั่งยืนของสิ่งแวดล้อม
บทที่ 23 มนุษย์กับความยั่งยืนของสิ่งแวดล้อมบทที่ 23 มนุษย์กับความยั่งยืนของสิ่งแวดล้อม
บทที่ 23 มนุษย์กับความยั่งยืนของสิ่งแวดล้อมฟลุ๊ค ลำพูน
 
ปะการังฟอกขาว
ปะการังฟอกขาวปะการังฟอกขาว
ปะการังฟอกขาว
Auraphin Phetraksa
 
ชนิดและความชุกชุมของปลาแนวปะการัง อาดัง ราวี ตรัง
ชนิดและความชุกชุมของปลาแนวปะการัง อาดัง ราวี ตรังชนิดและความชุกชุมของปลาแนวปะการัง อาดัง ราวี ตรัง
ชนิดและความชุกชุมของปลาแนวปะการัง อาดัง ราวี ตรัง
Auraphin Phetraksa
 
โครงการติดตามการฟื้นตัวและการจัดการปะการังฟอกขาว
โครงการติดตามการฟื้นตัวและการจัดการปะการังฟอกขาวโครงการติดตามการฟื้นตัวและการจัดการปะการังฟอกขาว
โครงการติดตามการฟื้นตัวและการจัดการปะการังฟอกขาว
Auraphin Phetraksa
 
หลักการอนุรักษ์
หลักการอนุรักษ์หลักการอนุรักษ์
หลักการอนุรักษ์
fainaja
 

What's hot (17)

สื่อการเรียนการสอนวิชาวิทยาศาสตร์ เรื่อง ทรัพยากรป่าไม้
สื่อการเรียนการสอนวิชาวิทยาศาสตร์ เรื่อง ทรัพยากรป่าไม้สื่อการเรียนการสอนวิชาวิทยาศาสตร์ เรื่อง ทรัพยากรป่าไม้
สื่อการเรียนการสอนวิชาวิทยาศาสตร์ เรื่อง ทรัพยากรป่าไม้
 
การแก้ไขปัญหาทรัพยากรป่าไม้
การแก้ไขปัญหาทรัพยากรป่าไม้การแก้ไขปัญหาทรัพยากรป่าไม้
การแก้ไขปัญหาทรัพยากรป่าไม้
 
Type of forest
Type of forestType of forest
Type of forest
 
โครงการเศรษฐกิจ
โครงการเศรษฐกิจโครงการเศรษฐกิจ
โครงการเศรษฐกิจ
 
ปกใน
ปกในปกใน
ปกใน
 
For
ForFor
For
 
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
 
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
 
โครงการติดตามการฟื้นตัวและการจัดการปะการังฟอกขาว
โครงการติดตามการฟื้นตัวและการจัดการปะการังฟอกขาวโครงการติดตามการฟื้นตัวและการจัดการปะการังฟอกขาว
โครงการติดตามการฟื้นตัวและการจัดการปะการังฟอกขาว
 
ว30103
ว30103ว30103
ว30103
 
2ถิ่นกำเนิด
2ถิ่นกำเนิด2ถิ่นกำเนิด
2ถิ่นกำเนิด
 
สถานภาพปะการังในเขต อุทยานแห่งชาติทางทะเล หลังปรากฏการณ์ปะการังฟอกขาว
สถานภาพปะการังในเขตอุทยานแห่งชาติทางทะเลหลังปรากฏการณ์ปะการังฟอกขาวสถานภาพปะการังในเขตอุทยานแห่งชาติทางทะเลหลังปรากฏการณ์ปะการังฟอกขาว
สถานภาพปะการังในเขต อุทยานแห่งชาติทางทะเล หลังปรากฏการณ์ปะการังฟอกขาว
 
บทที่ 23 มนุษย์กับความยั่งยืนของสิ่งแวดล้อม
บทที่ 23 มนุษย์กับความยั่งยืนของสิ่งแวดล้อมบทที่ 23 มนุษย์กับความยั่งยืนของสิ่งแวดล้อม
บทที่ 23 มนุษย์กับความยั่งยืนของสิ่งแวดล้อม
 
ปะการังฟอกขาว
ปะการังฟอกขาวปะการังฟอกขาว
ปะการังฟอกขาว
 
ชนิดและความชุกชุมของปลาแนวปะการัง อาดัง ราวี ตรัง
ชนิดและความชุกชุมของปลาแนวปะการัง อาดัง ราวี ตรังชนิดและความชุกชุมของปลาแนวปะการัง อาดัง ราวี ตรัง
ชนิดและความชุกชุมของปลาแนวปะการัง อาดัง ราวี ตรัง
 
โครงการติดตามการฟื้นตัวและการจัดการปะการังฟอกขาว
โครงการติดตามการฟื้นตัวและการจัดการปะการังฟอกขาวโครงการติดตามการฟื้นตัวและการจัดการปะการังฟอกขาว
โครงการติดตามการฟื้นตัวและการจัดการปะการังฟอกขาว
 
หลักการอนุรักษ์
หลักการอนุรักษ์หลักการอนุรักษ์
หลักการอนุรักษ์
 

Similar to โครงการปลูกป่าชายเลน

บทที่ 4
บทที่ 4บทที่ 4
8ความสำคัญต่อระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อม
8ความสำคัญต่อระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อม8ความสำคัญต่อระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อม
8ความสำคัญต่อระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อม
ครู กัน
 
8ความสำคัญต่อระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อม
8ความสำคัญต่อระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อม8ความสำคัญต่อระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อม
8ความสำคัญต่อระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อม
ครู กัน
 
ความยั่งยืนของท้องทะเลตะรุเตา คนรุ่นนี้ สู่คนรุ่นหน้า
ความยั่งยืนของท้องทะเลตะรุเตา คนรุ่นนี้ สู่คนรุ่นหน้าความยั่งยืนของท้องทะเลตะรุเตา คนรุ่นนี้ สู่คนรุ่นหน้า
ความยั่งยืนของท้องทะเลตะรุเตา คนรุ่นนี้ สู่คนรุ่นหน้า
yah2527
 
กิจกรรมทางเศรษฐกิจของประเทศไทย
กิจกรรมทางเศรษฐกิจของประเทศไทยกิจกรรมทางเศรษฐกิจของประเทศไทย
กิจกรรมทางเศรษฐกิจของประเทศไทย
wittawat_name
 
การปลูกป่าชายเลน
การปลูกป่าชายเลนการปลูกป่าชายเลน
การปลูกป่าชายเลนpangminpm
 
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย22
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย22ภูมิศาสตร์ประเทศไทย22
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย22Nongruk Srisukha
 
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย22
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย22ภูมิศาสตร์ประเทศไทย22
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย22Nongruk Srisukha
 
หน่วยที่2
หน่วยที่2หน่วยที่2
หน่วยที่2
Wan Ngamwongwan
 
ศูนย์วิจัยและศึกษาธรรมชาติป่าพรุสิริน
ศูนย์วิจัยและศึกษาธรรมชาติป่าพรุสิรินศูนย์วิจัยและศึกษาธรรมชาติป่าพรุสิริน
ศูนย์วิจัยและศึกษาธรรมชาติป่าพรุสิริน
moddodcom
 
ศูนย์วิจัยและศึกษาธรรมชาติป่าพรุสิริน
ศูนย์วิจัยและศึกษาธรรมชาติป่าพรุสิรินศูนย์วิจัยและศึกษาธรรมชาติป่าพรุสิริน
ศูนย์วิจัยและศึกษาธรรมชาติป่าพรุสิริน
moddodcom
 
ศูนย์วิจัยและศึกษาธรรมชาติป่าพรุสิริน
ศูนย์วิจัยและศึกษาธรรมชาติป่าพรุสิรินศูนย์วิจัยและศึกษาธรรมชาติป่าพรุสิริน
ศูนย์วิจัยและศึกษาธรรมชาติป่าพรุสิริน
moddodcom
 
รายงานผลการวิจัย ปี 2553 การจัดกิจกรรมปลูกป่าชายเลน ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
รายงานผลการวิจัย ปี 2553 การจัดกิจกรรมปลูกป่าชายเลน ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์รายงานผลการวิจัย ปี 2553 การจัดกิจกรรมปลูกป่าชายเลน ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
รายงานผลการวิจัย ปี 2553 การจัดกิจกรรมปลูกป่าชายเลน ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์Kobwit Piriyawat
 
บทที่ 5 ท้องถิ่นไทยภูมิภาคต่างๆ
บทที่  5  ท้องถิ่นไทยภูมิภาคต่างๆบทที่  5  ท้องถิ่นไทยภูมิภาคต่างๆ
บทที่ 5 ท้องถิ่นไทยภูมิภาคต่างๆ
pop Jaturong
 
การอนุรักษ์สัตว์ป่า
การอนุรักษ์สัตว์ป่าการอนุรักษ์สัตว์ป่า
การอนุรักษ์สัตว์ป่าKONGBENG
 
Ecosystem part 2
Ecosystem part 2Ecosystem part 2
Ecosystem part 2
pitsanu duangkartok
 

Similar to โครงการปลูกป่าชายเลน (20)

บทที่ 4
บทที่ 4บทที่ 4
บทที่ 4
 
8ความสำคัญต่อระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อม
8ความสำคัญต่อระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อม8ความสำคัญต่อระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อม
8ความสำคัญต่อระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อม
 
8ความสำคัญต่อระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อม
8ความสำคัญต่อระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อม8ความสำคัญต่อระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อม
8ความสำคัญต่อระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อม
 
ความยั่งยืนของท้องทะเลตะรุเตา คนรุ่นนี้ สู่คนรุ่นหน้า
ความยั่งยืนของท้องทะเลตะรุเตา คนรุ่นนี้ สู่คนรุ่นหน้าความยั่งยืนของท้องทะเลตะรุเตา คนรุ่นนี้ สู่คนรุ่นหน้า
ความยั่งยืนของท้องทะเลตะรุเตา คนรุ่นนี้ สู่คนรุ่นหน้า
 
กิจกรรมทางเศรษฐกิจของประเทศไทย
กิจกรรมทางเศรษฐกิจของประเทศไทยกิจกรรมทางเศรษฐกิจของประเทศไทย
กิจกรรมทางเศรษฐกิจของประเทศไทย
 
การปลูกป่าชายเลน
การปลูกป่าชายเลนการปลูกป่าชายเลน
การปลูกป่าชายเลน
 
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย22
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย22ภูมิศาสตร์ประเทศไทย22
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย22
 
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย22
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย22ภูมิศาสตร์ประเทศไทย22
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย22
 
032147
032147032147
032147
 
032147 2
032147 2032147 2
032147 2
 
032147
032147032147
032147
 
หน่วยที่2
หน่วยที่2หน่วยที่2
หน่วยที่2
 
ศูนย์วิจัยและศึกษาธรรมชาติป่าพรุสิริน
ศูนย์วิจัยและศึกษาธรรมชาติป่าพรุสิรินศูนย์วิจัยและศึกษาธรรมชาติป่าพรุสิริน
ศูนย์วิจัยและศึกษาธรรมชาติป่าพรุสิริน
 
ศูนย์วิจัยและศึกษาธรรมชาติป่าพรุสิริน
ศูนย์วิจัยและศึกษาธรรมชาติป่าพรุสิรินศูนย์วิจัยและศึกษาธรรมชาติป่าพรุสิริน
ศูนย์วิจัยและศึกษาธรรมชาติป่าพรุสิริน
 
ศูนย์วิจัยและศึกษาธรรมชาติป่าพรุสิริน
ศูนย์วิจัยและศึกษาธรรมชาติป่าพรุสิรินศูนย์วิจัยและศึกษาธรรมชาติป่าพรุสิริน
ศูนย์วิจัยและศึกษาธรรมชาติป่าพรุสิริน
 
รายงานผลการวิจัย ปี 2553 การจัดกิจกรรมปลูกป่าชายเลน ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
รายงานผลการวิจัย ปี 2553 การจัดกิจกรรมปลูกป่าชายเลน ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์รายงานผลการวิจัย ปี 2553 การจัดกิจกรรมปลูกป่าชายเลน ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
รายงานผลการวิจัย ปี 2553 การจัดกิจกรรมปลูกป่าชายเลน ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
 
ต้นกก
ต้นกกต้นกก
ต้นกก
 
บทที่ 5 ท้องถิ่นไทยภูมิภาคต่างๆ
บทที่  5  ท้องถิ่นไทยภูมิภาคต่างๆบทที่  5  ท้องถิ่นไทยภูมิภาคต่างๆ
บทที่ 5 ท้องถิ่นไทยภูมิภาคต่างๆ
 
การอนุรักษ์สัตว์ป่า
การอนุรักษ์สัตว์ป่าการอนุรักษ์สัตว์ป่า
การอนุรักษ์สัตว์ป่า
 
Ecosystem part 2
Ecosystem part 2Ecosystem part 2
Ecosystem part 2
 

โครงการปลูกป่าชายเลน

  • 1. พระราชดาริว่า “…ป่าชายเลนมีประโยชน์ต่อระบบนิเวศน์ของพื้นที่ ชายทะเลและอ่าวไทย แต่ปัจจุบัน ป่าชายเลนของประเทศไทย กาลังถูกบุกรุกและถูก ทาลายไป โดยผู้แสวงหาผลประโยชน์ส่วนตน จึงควรหาทางป้องกันอนุรักษ์และ ขยายพันธุ์เพิ่มขึ้น โดยเฉพาะต้นโกงกาง เป็นไม้ชายเลนที่แปลก และขยายพันธุ์ ค่อนข้างยาก เพราะต้องอาศัยระบบน้าขึ้นน้าลงในการเติบโตด้วย จึงขอให้ส่วน ราชการ ที่เกี่ยวข้อง คือกรมป่าไม้ กรมประมง กรมชลประทาน และกรมอุทกศาสตร์ ร่วมกันหาพื้นที่ที่เหมาะสม ในการทดลองขยายพันธุ์โกงกาง และปลูกสร้างป่าชาย เลนกันต่อไป…”
  • 2. ป่าชายเลนในประเทสไทย ป่าชายเลนเป็นระบบนิเวศที่ประกอบด้วยพืชและสัตว์นานาชนิด ดารงชีวิต ร่วมกันในสภาพแวดล้อมที่เป็นดินเลน น้ากร่อย หรือมีน้าทะเลท่วมถึงสม่าเสมอ พบ ทั่วไปตามที่ราบปากแม่น้า อ่าว บริเวณชายฝั่งทะเลในเขตน้าขึ้นน้าลง ทะเลสาบ และ บริเวณรอบเกาะแก่งต่างๆ ป่าชายเลนประกอบด้วยพันธุ์ไม้หลายชนิดหลายตระกูล และเป็นพันธุ์ไม้ไม่ ผลัดใบ (evergreen species) ซึ่งมีลักษณะทางสรีรวิทยาและความต้องการสิ่งแวดล้อม ที่คล้ายกัน ส่วนใหญ่ประกอบด้วยพันธุ์ไม้สกุลโกงกาง (Rhizophora sp.) เป็นไม้ สาคัญและมีไม้ตระกูลอื่นบ้าง ตัวอย่างเช่น ถั่วดา ถั่วขาว พังกาหัวสุมดอกแดง โปรง ขาว โปรงแดง ตะบูนดา ตะบูนขาว แสมขาว แสมทะเล ลาพู ลาพูทะเล ตาตุ่มทะเล เหงือกปลาหมอ เป็นต้น
  • 3. สภาพแวดล้อมโดยทั่วไป สภาพแวดล้อมโดยทั่วไปของป่าชายเลนมีความแตกต่างออกไปอย่างมากจากป่า ชนิดอื่นๆ โดยเฉพาะดิน ดินในป่าชายเลนมีความอุดมสมบูรณ์สูงจากธาตุอาหารที่มาจาก การกันเซาะตามชายฝั่ง และแหล่งน้าลาธาร สารอินทรีย์จากซากพืชซากสัตว์ในบริเวณป่า ชายเลนเอง โดยเฉพาะใบไม้ที่ร่วงหล่นทับถมกันเป็นจานวนมาก แพลงค์ตอนพืชและ สาหร่าย น้าบริเวณนี้มีความเค็มค่อนข้างต่า ระดับความเค็มของน้าเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา ตามระดับน้าที่ขึ้นลงและปริมาณน้าจืดไหลมาจากแม่น้าลาคลอง สัตว์ต่างๆที่อาศัยอยู่ในป่าชายเลน ต่างก็ได้รับอิทธิพลจากสภาพแวดล้อมที่ต่าง ไปจากสัตว์ในป่าบกทั่วไปเช่นกัน โดยเฉพาะสัตว์ที่อาศัยอยู่ตามพื้นป่า ซึ่งอาศัยคืบคลาน หรือเกาะหรือขุดรูอยู่ตามพื้นดิน รวมทั้งชนืดที่อาศัยอยู่ในน้าจะต้องมีการปรับตัวอย่างมาก เพื่อการอยู่รอด เนื่องจากต้องประสบกับสภาวะต่างๆ ที่เปลี่ยนแปลงอยู่เป็นประจาหรือต้อง อยู่ในสภาพไม่เหมาะสมต่อการดารงชีวิตโดยทั่วไป
  • 4. สภาวะที่ทาให้มีการสูญเสียน้าออกจากลาตัว สภาพอุณหภูมิสูง สภาพที่มีปริมาณ ออกซิเจนค่อนข้างต่าของดินเลน และการเปลี่ยนแปลงความเค็มของน้า สัตว์พวกนี้ได้แก่ หอย ปู กุ้ง หนอนตัวกลม หนอนตัวแบน ไส้เดือนทะเล และครัสเตเชียน (สัตว์ไม่มีกระดู สันหลังจาพวกกุ้ง ปู) เป็นต้น ชุมชนในป่าชายเลนจะประกอบไปด้วยสิ่งมีชีวิตชนิดต่างๆจานวนมากที่ สามารถปรับตัวอยู่ได้ ทาให้ป่าชายเลนมีความอุดมสมบูรณ์ เป็นที่วางไข่และอนุบาลตัว อ่อนและที่อยู่อาศัยของสัตว์ที่มีความสาคัญทางเศรษฐกิจหลายชนิด
  • 5. ประโยชน์ของป่าชายเลน 1. เป็นแหล่งพลังงาน อาหาร และที่อยู่อาศัยของพืชและสัตว์ตามธรรมชาติ 2. เป็นแนวชายป้องกันฝั่งทะเลจากการกัดเซาะพังทลาย กาบังคลื่น ลม กระแสน้าและพายุ 3. เป็นที่ดูดซับน้าเสียจากบ้านเรือน 4. เป็นแหล่งวัตถุดิบผลิตภัณฑ์จากไม้ ที่ใช้ในการก่อสร้าง และอุตสาหกรรมอื่นๆ เช่น สิ่ง ทอและหนังสัตว์น้าชายฝั่ง เช่น หอยแมลงภู่ กุ้ง ปลาในกระชัง เป็นต้น 5. เป็นแหล่งเชื้อเพลิง เช่น การทาถ่านจากไม้ในป่าชายเลน 6. เป็นแหล่งวัตถุดิบในการผลิตอาหาร ยา และเครื่องดื่ม 7. เป็นแหล่งแร่ดีบุก 8. เป็นแหล่งประมงใกล้ชายฝั่ง แหล่งอาศัยของลูกปลา ลูกกุ้ง และสัตว์ น้าวัยอ่อนอื่นๆ 9. เป็นที่เหมาะสมในการเพาะเลี้ยงสัตว์น้าชายฝั่ง เช่น หอยแมลงภู่ กุ้ง ปลาในกระชัง เป็นต้น
  • 6. ปัจจัยสาคัญที่ทาให้พันธุ์ไม้ของป่าชายเลนขึ้นอยู่เป็นเขตหรือเป็นโซน 1. ปัจจัยทางกายภาพและเคมีของดิน โกงกางใบใหญ่ชอบดินที่มีสภาพเป็น โคลนนิ่ม ๆ โกงกางใบเล็กชอบดินเลนที่ไม่นิ่มเกินไป ไม้แสมชอบบริเวณชายหาดที่มี ความลาดชันต่า สามารถทนต่อสภาพดินทรายได้เมื่อบริเวณนั้นมีน้าทะเลท่วมถึง ไม้ ถั่วขาวจะขึ้นในบริเวณดินเหนียวที่มีลักษณะค่อนข้างแข็ง มีชั้นของฮิวมัสและมีการระบาย น้าที่ดี ต้นจากจะเป็นส่วนประกอบที่สาคัญตามบริเวณป่าชายเลนที่มีสภาพอิ่มตัวด้วยน้า พวกปรงทะเลจะมีกระจายมากในบริเวณดินแฉะและน้ากร่อย 2. ความเค็มของน้าในดิน โกงกางใบใหญ่ ลาพู ลาแพน เป็นพวกซึ่งต้องการ ความเค็มสูงจึงมักพบขึ้นอยู่บริเวณติดกับทะเล สาหรับไม้แสมทะเลจะมีความทนทานต่อ ความเค็มในช่วงกว้างโดยเจริญเติบโตได้ดี ตั้งแต่บริเวณ ที่มีความเค็มต่าจนถึงสูง ความ เค็มไม่ใช่เป็นสิ่งสาคัญต่อการเจริญเติบโต แต่มีอิทธิพลต่อการลด การแก่งแย่งของพันธุ์ ไม้ต่างชนิดกัน ในประเทศไทย
  • 7. สรุปสถานการณ์และปัญหาป่าชายเลน สถานการณ์ของทรัพยากรป่าชายเลนที่เหลืออยู่ในปัจจุบัน[6] เห็นได้ว่าการจัดการป่าชาย เลนในอดีตยังมีปัญหาข้อขัดข้องในทางปฏิบัติจาเป็น ต้องแก้ไข ปรับปรุงอีกเนื่องจาก 1. พื้นที่ป่าชายเลนลดลงไปมากกว่าครึ่งจากอดีต หากสถานการณ์การใช้ ประโยชน์พื้นที่ป่าชายเลนยังเป็นไปในทิศทางที่เป็นอยู่ในปัจจุบัน ก็คาดได้ว่าพื้นที่ป่าชาย เลนจะถูกแปรสภาพเพื่อกิจการอื่นอย่างต่อเนื่องต่อไป โดยเฉพาะอย่างยิ่งการทาบ่อเลี้ยง กุ้ง 2. สภาพป่าชายเลนที่เหลืออยู่ไม่อุดมสมบูรณ์ ทั้งด้านผลผลิตขั้นปฐมภูมิ ของระบบนิเวศในรูปของมวลชีวภาพของพืช และในด้านกาลังผลิตไม้เพื่อใช้ ประโยชน์ทาเชื้อเพลิง ถ่าน หรือจากปริมาณสัตว์น้าที่ราษฎรจับได้จากนิเวศป่าชาย เลน 3. ความเสื่อมโทรมของสภาพนิเวศสิ่งแวดล้อมชายฝั่งได้ทวีความรุนแรงและส่งผล กระทบเป็นลูกโซ่
  • 8. จากการรวบรวบสถานการณ์ปัญหาที่เกิดขึ้นในป่าชายเลน สามารถสรุปได้ว่า สาเหตุสาคัญ ที่ส่งผลทาให้พื้นที่ป่าชายเลนลดลงและเสื่อมโทรมอย่างมาก อาจแบ่งได้เป็น 2 ช่วง คือ 1. ระหว่างปี พ.ศ. 2504 – 2522 สาเหตุหลักของการทาลายป่าชายเลน ได้แก่ - เกิดการบุกรุกพื้นที่ป่าเพื่อตัดไม้มาทาฟืนและถ่านในเชิงพาณิชย์ - การทาเหมืองแร่ในป่าชายเลน - การสร้างท่าเรือและเขื่อน 2. ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2529 เป็นต้นไป สาเหตุหลักของการทาลายป่าชายเลน ได้แก่ - การบุกรุกเพื่อใช้ประโยชน์ในการเพาะเลี้ยงสัตว์น้า เช่น ทานากุ้ง เพื่อการ ส่งออก ซึ่งมีทั้งกิจการที่มีคนไทย และคนต่างชาติเป็นเจ้าของ - การขยายพื้นที่เมือง และชุมชนอุตสาหกรรม (สิริวัฒน์ วงษ์ศิริ, ศุภชัย หล่อโหะ การ บก.,2532 : 42)