SlideShare a Scribd company logo
โครงงานเรื่อง สัตว์ป่าสงวน15ชนิดของประเทศไทย
ชื่อโครงงาน สัตว์ป่าสงวน 15 ชนิด ของไทย (Wildlife Preservation of Thailand)
ชื่อผู้จัดทาโครงงาน
1.นางสาวจอมขวัญ จอมจันทร์ เลขที่ 8
2.นางสาวฉัตรดริน ชุ่มคา เลขที่ 26
ชื่อครูที่ปรึกษาโครงงาน
ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ในปัจจุบันสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรรอบตัวของเราเริ่มมีจานวนลดลง ไม่ว่าจะเป็นป่าไม้หรือสัตว์ป่า เราควรจะตระหนัก และเห็น
ความสาคัญ โดยการให้ความรู้ความสาคัญ ซึ่งในประเทศไทยนั้นมีสัตว์ป่าหายากหลายชนิด และมีสัตว์ป่าสงวนถึง15ชนิดด้วยกัน
ที่มาและความสาคัญ
สัตว์ป่าสงวน หมายถึง สัตว์ป่าที่หายาก กาหนดตามบัญชีท้ายพระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พ.ศ. 2503 จานวน
9 ชนิด เป็นสัตว์ป่าเลี้ยงลูกด้วยนมทั้งหมด ได้แก่ แรด กระซู่ กูปรี ควายป่า ละองหรือละมั่ง สมัน เนื้อทราย เลียงผา และกวางผา
สัตว์ป่าสงวนเป็นสัตว์หายาก, ใกล้จะสูญพันธุ์ หรืออาจจะสูญพันธุ์ไปแล้ว จึงจาเป็นต้องมีบทบัญญัติเข้มงวดกวดขัน เพื่อป้องกัน
ไม่ให้เกิดอันตรายแก่สัตว์ป่าที่ยังมีชีวิตอยู่หรือซากสัตว์ป่า ซึ่งอาจจะตกไปอยู่ยังต่างประเทศด้วยการซื้อขาย
ต่อมาเมื่อสถานการณ์ของสัตว์ป่าในประเทศไทยเปลี่ยนแปลงไป สัตว์ป่าหลายชนิดมีแนวโน้มถูกคุกคามเสี่ยงต่อการสูญพันธุ์มากยิ่งขึ้น ประกอบกับ
เพื่อให้เกิดความสอดคล้องกับความร่วมมือระหว่างประเทศในการควบคุมดูแลการค้าหรือการลักลอบค้าสัตว์ป่าในรูปแบบต่าง ๆ ตามอนุสัญญาว่าด้วย
การค้าระหว่างประเทศว่าด้วยชนิดสัตว์ป่าและพืชป่าหรือ CITES ซึ่งประเทศไทยได้ร่วมลงนามรับรองอนุสัญญาในปี พ.ศ. 2518 และได้ให้สัตยาบัน
เมื่อวันที่ 21 มกราคม พ.ศ. 2526 นับเป็นสมาชิกลาดับที่ 80 จึงได้มีการพิจารณาแก้ไขปรับปรุงพระราชบัญญัติฉบับเดิมและตราพระราชบัญญัติ
สงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พ.ศ. 2535 ขึ้นใหม่เมื่อวันที่ 19 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2535
สัตว์ป่าสงวนตามในพระราชบัญญัติฉบับใหม่ หมายถึง สัตว์ป่าที่หายากตามบัญชีท้ายพระราชบัญญัติฉบับนี้และตามที่กาหนดโดยตราเป็น
พระราชกฤษฎีกา ทาให้สามารถเปลี่ยนแปลงชนิดสัตว์ป่าสงวนได้โดยสะดวกโดยออกเป็นพระราชกฤษฎีกาแก้ไขหรือเพิ่มเติมเท่านั้น ไม่ต้องถึงกับต้อง
แก้ไขพระราชบัญญัติอย่างของเดิม ทั้งนี้ได้มีการเพิ่มเติมชนิดสัตว์ป่าที่มีสภาพล่อแหลมต่อการสูญพันธุ์อย่างยิ่ง 7 ชนิด และตัดสัตว์ป่าที่ไม่อยู่ใน
สถานะใกล้จะสูญพันธุ์เนื่องจากการที่สามารถเพาะเลี้ยงขยายพันธุ์ได้มาก 1 ชนิด คือ เนื้อทราย รวมกับสัตว์ป่าสงวนเดิม 8 ชนิดรวมเป็น 15 ชนิด
ข้อควรทราบบางประการจากพระราชบัญญัติ
• 1. สัตว์ป่าสงวนและสัตว์ป่าคุ้มครอง เป็นสัตว์ป่าที่ห้ามล่า พยายามล่า ห้ามค้า ห้ามนาเข้าหรือส่งออก เว้นแต่จะได้รับอนุญาต
ผู้ฝ่าฝืนมีโทษจาคุกไม่เกินสี่ปี หรือปรับไม่เกินสี่หมื่นบาท หรือทั้งจาทั้งปรับ
• 2. ห้ามครอบครองสัตว์ป่าสงวนและสัตว์ป่าคุ้มครอง เว้นแต่จะได้รับอนุญาต ผู้ฝ่าฝืนมีโทษจาคุกไม่เกินสามปี หรือปรับไม่เกินสามหมื่นบาท หรือทั้งจาทั้ง
ปรับ ในกรณีที่สัตว์ที่ครอบครองเป็นสัตว์ที่มาจากการเพาะพันธุ์ที่ไม่ถูกต้อง จะต้องโทษจาคุกไม่เกินหนึ่งปี หรือปรับไม่เกินหนึ่งหมื่นบาท หรือทั้งจาทั้งปรับ
• 3. ห้ามเพาะพันธุ์สัตว์ป่าสงวนและสัตว์ป่าคุ้มครอง เว้นแต่จะได้รับอนุญาต ผู้ฝ่าฝืนมีโทษจาคุกไม่เกินสามปี หรือปรับไม่เกินสามหมื่นบาท หรือทั้งจาทั้งปรับ
• 4. ในกรณีที่การล่าเป็นการล่าเพื่อปกป้องตนเองหรือผู้อื่นหรือทรัพย์สิน หรือเหตุอื่นที่เห็นว่าเป็นการกระทาที่ควรแก่เหตุ ไม่ต้องรับโทษ
• 5. การห้ามการครอบครองและห้ามค้า มีผลไปถึงไข่และซากของสัตว์เหล่านั้นด้วย
• 6. ห้ามเก็บหรือทาอันตรายรังของสัตว์ ยกเว้นรังนกอีแอ่น (นกแอ่นกินรัง) ซึ่งต้องได้รับอนุญาตเช่นกัน
นกเจ้าฟ้าหญิงสิรินธร แรด กระซู่ กูปรี เลียงผา
สมัน นกกระเรียน นกแต้วแล้วท้องดาควายป่า แมวลายหินอ่อน
กวางผา เก้งหม้อ สมเสร็จ พะยูน ละอง ละมั่ง
นกเจ้าฟ้าหญิงสิรินธร
แรด
กระซู่
กูปรี
เลียงผา
สมัน
นกกระเรียน
นกแต้วแล้วท้องดา
ควายป่า
แมวลายหินอ่อน
กวางผา
เก้งหม้อ
สมเสร็จ
พะยูน
ละอง ละมั่ง
รายละเอียด
นกเจ้าฟ้าหญิงสิรินธร
• ชื่อสามัญ : White-eyed River-Martin
• ชื่อวิทยาศาสตร์ : Pseudochelidon sirintarae
• ชื่ออื่น : นกเจ้าฟ้า
• เป็นนกนางแอ่นชนิดหนึ่ง ขนาดวัดจากปลายจงอยปากถึงโคนหางยาวประมาณ 15 ซม. พบครั้งแรกในประเทศไทยเมื่อปี พ.ศ.2511 บริเวณ
บึงบรเพ็ด จ.นครสวรรค์ เพียงแห่งเดียวในโลกและไม่พบที่อื่นอีกเลย เป็นนกที่อพยพมาในฤดูหนาว ส่วนในฤดูอื่นเชื่อว่าจะอยู่บริเวณ
ต้นแม่น้าปิง ชอบเกาะนอนในพงหญ้า นอนอยู่รวมกับฝูงนกนางแอ่นชนิดอื่น ๆ ตามใบอ้อ และใบสนุ่น โฉบจับแมลงเป็นอาหาร
ปัจจุบันเชื่อว่าสูญพันธุ์ไปแล้ว
แรด
• ชื่อสามัญ : Javan Rhinoceros
• ชื่อวิทยาศาสตร์ : Rhinoceros sondaicus
• ชื่ออื่น : แรดชวา
• มีนอเดียว ความสูงที่ระดับไหล่ 1.70-1.75 เมตร น้าหนัก 1,500-2,000 กก. ชอบนอนในปลัก โคลนตม หนองน้า เพื่อไม่ให้ถูกแมลง
รบกวน มีสายตาไม่ค่อยดีนัก แต่ประสาทสัมผัสในการรับกลิ่นดีมาก ชอบกินยอดไม้ ใบไม้และผลไม้ ตกลูกครั้งละ 1 ตัว ตั้งท้องนาน 16
เดือน อาศัยอยู่ในป่าทึบ โดยเฉพาะบริเวณที่มีแหล่งน้าอุดมสมบูรณ์ ครั้งหนึ่งเคยมีพบในบริเวณป่าชายแดนไทย พม่า ลงไปทางใต้ แต่ไม่
มีใครพบแรดในธรรมชาติในเมืองไทยเป็นเวลากว่า 30 ปีแล้ว ประชากรแรดในประเทศอื่น ๆ ก็อยู่ในภาวะคล้ายคลึงกัน ปัจจุบันยังมีเหลือ
แรดอยู่ในธรรมชาติเพียง 20-30 ตัวเท่านั้น โดยอยู่ในอุทยานแห่งชาติแห่งหนึ่งในประเทศเวียดนาม
กระซู่
• ชื่อสามัญ : Sumatran Rhinoceros ชื่อวิทยาศาสตร์ : Dicermocerus sumatraensis
• ชื่ออื่น : แรดสุมาตรา
• เป็นแรดพันธุ์เล็กที่สุดในบรรดาแรด 5 ชนิดของโลก มี 2 นอ ความสูงที่ระดับไหล่ 1.0 - 1.4 เมตร น้าหนัก 900-1,000 กก. มีขนปกคลุม
ทั้งตัว ปีนเขาเก่ง มีประสาทในการรับกลิ่นดีมาก เมื่อพบสิ่งกีดขวางจะไม่ข้าม แต่มักใช้หัวดันให้พ้นทางเดิน ชอบกินกิ่งไม้ ใบไม้และผลไม้
ตกลูกครั้งละ 1 ตัว ตั้งท้องนานประมาณ 7-8 เดือน ปัจจุบันหายากมาก คาดว่าจะพบได้ในบริเวณป่าทึบตามแนวพรมแดนไทย-พม่า และ
ชายแดนไทย-มาเลเซีย รายงานล่าสุดในปี พ.ศ.2539 พบรอยเท้าที่เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าภูเขียว จังหวัดชัยภูมิ นอกจากนี้ยังมีกระจัดกระจาย
ตามป่าต่าง ๆ แห่งละตัวสองตัว เช่น แก่งกระจาน จังหวัดเพชรบุรี ห้วยขาแข้ง จังหวัดอุทัยธานี ฮาลา-บาลา จังหวัดนราธิวาส เขาสก
จังหวัดสุราษฎร์ธานี
• ชื่อสามัญ : Sumatran Rhinoceros
• ชื่อวิทยาศาสตร์ : Bos sauveli
• ชื่ออื่น : แรดสุมาตรา
• ตัวผู้ มีขนสีดา ขนาดความสูง 1.71 - 1.90 เมตร ขนาดลาตัว 2.10 - 2.22 เมตร น้าหนักตัวประมาณ 700 - 900 กิโลกรัม เขาโค้งเป็นวง
กว้างตีโค้งไปข้างหน้า ปลายเขาแตกออกเป็นพู่คล้ายเส้นไม้กวาดแข็ง ขามีถุงเท้าสีขาว ตัวผู้ที่มีอายุมาก จะมีเหนียงใต้คอยาวห้อยลงมาจน
เกือบจะถึงดิน ใช้ในการระบายความร้อน
• ตัวเมีย มีขนสีเทา เขาตีวงแคบม้วนขึ้นด้านบน ไม่มีพู่ที่ปลายเขา โคนเขาใหญ่ ปลายเขาแหลม ไม่มีการแตกกิ่ง ยาวประมาณ 1 เมตร
• ปัจจุบันไม่มีการรายงานการพบมานานแล้ว จนครั้งหนึ่งเคยเชื่อว่าสูญพันธุ์ไปแล้ว แต่ปัจจุบันเชื่อว่าอาจจะยังพอมีหลงเหลืออยู่ในชายแดนไทยกับ
กัมพูชาแถบจังหวัดศรีสะเกษ เพราะมักจะมีข่าวพบสัตว์ลักษณะคล้ายกูปรีแต่ไม่มีหลักฐานยืนยันที่น่าเชื่อถือพอ นอกจากคาเล่าลือเท่านั้น
กูปรี
เลียงผา
• ชื่อสามัญ : Serow
• ชื่อวิทยาศาสตร์ : Capricornis sumatraensis
• เป็นสัตว์กีบคู่ มีเขาจาพวกแพะ ความสูงที่ระดับไหล่ 85-94 ซ.ม. น้าหนักประมาณ 85-140 กก. อาศัยอยู่ตามภูเขาที่มีหน้าผาหรือถ้า
สามารถเคลื่อนที่ในที่สูงชันอย่างว่องไวและปราดเปรียวมาก สามารถว่ายน้าข้ามระหว่างเกาะกับแผ่นดินได้ มีอวัยวะรับสัมผัส ทั้งตา หู
และจมูกดี กินพืชที่ขึ้นอยู่ตามที่สูง ตกลูกครั้งละ 1 ตัว ตั้งท้องนาน 7-8 เดือน ปัจจุบันลดจานวนลงไปมากเนื่องจาก ถูกล่าเพื่อเอาเขา
และทาน้ามันเลียงผา
สมัน
• ชื่อสามัญ : Schomburgk’s Deer
• ชื่อวิทยาศาสตร์ : Cervus schomburgki
• ชื่ออื่น : เนื้อสมัน
• เป็นกวางขนาดกลาง ความสูงระดับไหล่ 1 เมตร ได้ชื่อว่ามีเขาสวยที่สุด การแตกแขนงของเขาเมื่อโตเต็มวัยจะมีลักษณะคล้ายสุ่มที่หงายขึ้น
จึงเรียกว่า "กวางเขาสุ่ม" ชอบกินยอดหญ้าอ่อน ผลไม้ และใบไม้ อยู่รวมกันเป็นฝูงเล็ก ๆ อาศัยอยู่เฉพาะที่ราบต่าในภาคกลางของ
ประเทศไทยเท่านั้น โดยเฉพาะบริเวณรอบ ๆ กรุงเทพฯ ปทุมธานี อยุธยา สมุทรปราการ สมันได้สูญพันธุ์ไปโดยสมบูรณ์เมื่อราวปี 2475
แม้แต่สมันตัวสุดท้ายของโลกก็ตายด้วยมือของมนุษย์
นกกระเรียน
• ชื่อสามัญ : Sarus Crane
• ชื่อวิทยาศาสตร์ : Grus antigone sharpii
• ชื่ออื่น : _
• อยู่ในตระกูลนกบินได้ขนาดใหญ่ที่สุด สูงประมาณ 150 ซม. พบตามหนอง บึง และท้องทุ่ง หากินเป็นคู่และกลุ่มครอบครัว จับคู่แบบ
ผัวเดียวเมียเดียว กินแมลง สัตว์เลื้อยคลาน สัตว์น้า เมล็ดพืช และต้นอ่อนของพืชน้า ปัจจุบันไม่พบในประเทศไทยเพราะถูกล่า และ
แหล่งที่อยู่อาศัยถูกทาลาย แต่ยังพบในประเทศลาวและเขมร
นกแต้วแล้วท้องดา• ชื่อสามัญ : Gurney's Pitta
• ชื่อวิทยาศาสตร์ : Pitta gurney
• ชื่ออื่น : _
• ขนาดลาตัววัดจากจงอยปากถึงโคนหางยาว 21 ซม. อาศัยอยู่เฉพาะในป่าดิบที่ราบต่า ชอบทารังบนกอระกา และกอหวาย ซึ่งมีหนามแหลม
ชอบกินไส้เดือน ส่งเสียกร้อง "วัก วัก" เพื่อประกาศอาณาเขตและร้องหาคู่ ส่งเสียงร้อง "แต้ว แต้ว" ขณะตกใจ ฤดูผสมพันธุ์เริ่มเดือน
พฤษภาคม ปัจจุบันพบแห่งเดียวในโลก ที่เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าเขาประ-บางคราม (เขานอจู้จี้) จ.กระบี่ คาดว่าเหลืออยู่ไม่เกิน 100 ตัว
และมีแนวโน้มว่าจะสูญพันธุ์ในไม่ช้าเนื่องจาก ถิ่นที่อยู่กาลังถูกบุกรุกอย่างรุนแรง
ควายป่า
• ชื่อสามัญ : Wild Water Buffalo
• ชื่อวิทยาศาสตร์ : Bubalus bubalis
• ชื่ออื่น : มหิงสา
• เป็นบรรพบุรุษของควายบ้าน ขนาดของลาตัวใหญ่กว่าควายบ้าน รอบคอด้านหน้ามีรอยสีขาวเป็นรูปพระจันทร์เสี้ยวหงายอยู่ เรียกว่า "รอย
เชียดคอ" ขาทั้งสี่มีสีขาวเหมือนใส่ถุงเท้า แต่ในธรรมชาติมักไม่เห็นถุงเท้านี้ เพราะควายป่าชอบแช่และลุยปลักโคลนจนถุงเท้าเปื้อนไปหมด
ความสูงที่ระดับไหล่ 1.6-1.9 เมตร น้าหนักถึง 800-1,200 กก. แต่ปราดเปรียวมาก ชอบนอนแช่ปลักให้ดินโคลนพอกลาตัวเพื่อป้องกัน
แมลงรบกวน มีนิสัยชอบอยู่เป็นฝูง เมื่อบาดเจ็บจะดุร้ายมาก กินใบไม้ หญ้า และหน่อไม้ ตกลูกครั้งละ 1 ตัว ตั้งท้องนานประมาณ
10 เดือน ปัจจุบันพบบริเวณเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง จ.อุทัยธานี เท่านั้น
แมวลายหินอ่อน
• ชื่อสามัญ : Marbled Cat
• ชื่อวิทยาศาสตร์ : Pardofelis marmorata
• ชื่ออื่น : _
• เป็นแมวป่าขนาดกลาง น้าหนักประมาณ 4-5 กก. อยู่ในป่าดงดิบและป่าดิบชื้น ชอบอยู่บนต้นไม้ หากินในเวลากลางคืน
อาหารได้แก่ แมลง งู นก หนู และสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมขนาดเล็ก ปัจจุบันหายากมาก มีรายงานพบเพียงไม่กี่แห่งเท่านั้น
เช่น เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง อุทยานแห่งชาติปางสีดา อุทยานแห่งชาติเขาใหญ่ และอุทยานแห่งชาติทับลาน
กวางผา
• ชื่อสามัญ : Goral
• ชื่อวิทยาศาสตร์ : Naemorhedus griseus
• ชื่ออื่น : ม้าเทวดา
• มีลักษณะคล้ายแพะ ความสูงที่ระดับไหล่ 50-70 ซม. น้าหนักประมาณ 20-32 กก. มีขาแข็งแรงสามารถกระโดดตามชะง่อนผาได้อย่าง
ว่องไวและแม่นยา พบตามยอดเขาสูงชัน สูงจากระดับน้าทะเลมากกว่า 1,000 เมตร ซึ่งมีอากาศหนาวเย็นเกือบตลอดปี อาหารได้แก่
พืชตามสันเขาและหน้าผาหิน ตกลูกครั้งละ 1 ตัว ตั้งท้องนาน 6-8 เดือน อายุประมาณ 8-10 ปี ปัจจุบันเหลืออยู่จานวนน้อย
พบบริเวณเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าแม่ตื่น จ.ตาก
เก้งหม้อ
• ชื่อสามัญ : Fea’s Barking Deer
• ชื่อวิทยาศาสตร์ : Muntiacus feai
• ชื่ออื่น : เก้งดา, กวางจุก
• เป็นเก้งที่มีสีคล้ากว่าเก้งธรรมดา ทางด้านบนสีดาตัดกับสีขาวด้านล่างชัดเจน บริเวณโคนเขามีขนยาวแน่นและฟูเป็นกระจุก
ชอบอาศัยอยู่เดี่ยว ๆ ในป่าดงดิบตามลาดเขา จะอยู่เป็นคู่เฉพาะในฤดูผสมพันธุ์เท่านั้น กินใบไม้ หญ้าและผลไม้ ตกลูกครั้งละ 1 ตัว ตั้งท้อง
นาน 6 เดือน พบบริเวณชายแดนไทย-พม่า และในภาคใต้ของไทย เป็นสัตว์
สมเสร็จ
• ชื่อสามัญ : Malayan Tapir
• ชื่อวิทยาศาสตร์ : Tapirus indicus
• ชื่ออื่น : ผสมเสร็จ
• เป็นสัตว์หากินกลางคืน น้าหนักประมาณ 250-300 กก. มีประสาทสัมผัสทางกลิ่นและเสียงดีมาก มีจมูกเหมือนงวงช้าง
รูปร่างเหมือนหมู เท้าเหมือนแรด จึงเรียกว่าผสมเสร็จหรือสมเสร็จ มักหากินตามที่รกทึบ ตกลูกครั้งละ 1 ตัว ตั้งท้องนาน 13 เดือน
พบบริเวณป่าชายแดนไทย-พม่า ตลอดลงไปจนถึงภาคใต้ของไทย
พะยูน
• ชื่อสามัญ : Dugong
• ชื่อวิทยาศาสตร์ : Dugong dugon
• ชื่ออื่น : หมูน้า, ปลาพะยูน
• สัตว์ทะเลเลี้ยงลูกด้วยนม น้าหนักประมาณ 300 กก. ชอบอยู่รวมกันเป็นฝูง กินหญ้าทะเลตามบริเวณน้าตื้นใกล้ชายฝั่ง
ออกลูกครั้งละ 1 ตัว ตั้งท้องนาน 1 ปี ลดจานวนลงมากเพราะติดอวน และหญ้าทะเลซึ่งเป็นแหล่งอาหารสาคัญ
ถูกทาลาย ปัจจุบันพบอยู่บริเวณเกาะลิบงและหาดเจ้าไหม จ.ตรัง ประมาณ 40-50 ตัว
ละอง ละมั่ง
• ชื่อสามัญ : Eld's Deer
• ชื่อวิทยาศาสตร์ : Cervus eldi
• ชื่ออื่น : -
• ละอง เป็นชื่อเรียกตัวผู้ ส่วนละมั่งเป็นชื่อเรียกตัวเมีย ความสูงที่ระดับไหล่ 1.2 - 1.3 เมตร หนักประมาณ 95-150 กก. ชอบอยู่รวมกัน
เป็นฝูงเล็ก ๆ ออกหากินทั้งกลางวันและกลางคืน กินใบไม้ ใบหญ้า และผลไม้เป็นอาหาร ตกลูกครั้งละ 1 ตัว ตั้งท้องประมาณ 7-8 เดือน
มีสองชนิดย่อย คือ C. e. thamin และ C. e. siamensis ปัจจุบันละองและละมั่งได้สูญพันธุ์ไปจากธรรมชาติของไทยไปแล้ว แต่คาดว่ายัง
มีเหลืออยู่ตามบริเวณเทือกเขาพนมดงรัก ชายแดนไทย-กัมพูชา และบริเวณเทือกเขาตะนาวศรีชายแดนไทย-พม่า
แนวทางการอนุรักษ์
1. ออกกฎหมาย คือ การออกกฎหมายควบคุม คุ้มครองป้องกันสัตว์ป่า มิให้ลดจานวนน้อยลง หรือสูญพันธุ์ไป เป็นการควบคุมการใช้
ทรัพยากรธรรมชาติสัตว์ปาให้มีผลประโยชน์ต่อส่วนรวมและประเทศชาติมากที่สุด ซึ่งในประเทศไทยเราก็มีพระราชบัญญัติสงวนและ
คุ้มครองสัตว์ป่า พ.ศ. 2503 ซึ่งประกอบด้วยกฎเกณฑ์ ข้อบังคับระเบียบการต่างๆ เกี่ยวกับการค้าสัตว์ป่า การค้าซากสัตว์ปา การล่าสัตว์ป่า
ระยะเวลาและวิธีการล่า หรือการจับสัตว์ การครอบครองสัตว์ป่าและซากของสัตว์ป่า วิธีการปฏิบัติตามกฎหมาย การควบคุมการส่งสัตว์ป่า
ออกนอกราชอาณาจักร การกาหนดโทษผู้ฝ่าฝืนเกี่ยวกับผู้กระทาผิดกฎหมาย
• 2. การควบคุมศัตรูสัตว์ เพื่อเป็นการป้องกันสัตว์ป่าถูกทาลาย ป้องกัน มิให้สัตว์เลี้ยงเข้าไปอยู่ร่วมกับสัตว์ป่า
อันจะทาให้เกิดโรคระบาดหรือทาลายที่อยู่อาศัยของสัตว์ป่า
• 3. การจัดตั้งเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า หรือการสงวนแหล่งที่อยู่อาศัยของสัตว์ป่า เป็นการจัดพื้นที่ป่าง่ายปลอดภัย และสัตว์ป่ามีโอกาส
ขยายพันธุ์เพิ่มขึ้น เช่น จัดตั้งเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขตห้ามล่าสัตว์ป่า การจัดตั้งก็อาศัยกฎหมาย สาหรับการจัดตั้งเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า
ก็เพื่อให้สัตว์ป่าได้อาศัยอยู่อย่างปลอดภัย มีโอกาสขยายพันธุ์ตามธรรมชาติเพิ่มขึ้นและสัตว์ป่าบางส่วนจะกระจายจานวนไปอาศัยอยู่
ในพื้นที่ข้างเคียง การจัดตั้งเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า นอกจากจะจัดตั้งเพื่อคุ้มครองสัตว์โดยทั่วไปแล้วบางส่วนยังจัดขึ้นเป็นพิเศษ คือ
คุ้มครองป้องกันมิให้สัตว์ป่าที่หาได้ยากบางชนิดต้องสูญพันธุ์ไปภายในเขตอนุรักษ์สัตว์ป่า ก็จัดให้มีการควบคุมป้องกัน
การปรับปรุงแหล่งอาหารของสัตว์ ฯลฯ เป็นต้น
• 4. ขยายพันธุ์สัตว์ป่าให้เพิ่มขึ้น โดยวิธีการตั้งฟาร์มเพาะเลี้ยงสัตว์ป่า โดยจะได้มีการผสมพันธุ์ตามธรรมชาติ หรือจัดให้มีการผสมเทียม
สาหรับสัตว์ที่หาได้ยาก การจัดตั้งฟาร์มเพาะเลี้ยงย่อมทาให้สัตว์ป่าบางชนิดที่มีความสาคัญทางเศรษฐกิจ ก็จะเป็นประโยชน์ต่อประเทศชาติ
โดยเฉพาะในด้านการค้า
• 5. การปรับปรุงที่อยู่อาศัยของสัตว์ป่า หรือ (Biological Values) การปรับปรุงแหล่งน้า ที่หลบภัย การปลูกอาหารสัตว์เพิ่มเติมหรือการ
ปรับปรุงสภาพป่าให้มีอาหารสัตว์เพิ่มเติม เช่น การทาแหล่งน้าการตัดวัชพืชไม้พื้นล่างในป่าออกให้มีพืชชนิดอื่นที่เป็นอาหารสัตว์ ขึ้นอยู่และ
จัดให้มีการควบคุมพื้นที่นั้น เพื่อที่จะให้มีการดาเนินงานอนุรักษ์สัตว์ป่าสาเร็จตามความมุ่งหมายที่ให้ทรัพยากรธรรมชาติ สัตว์ป่าคงมีอยู่
ตลอดไปก็โดยปฏิบัติตามหลักการทั้งห้าประการดังกล่าวแล้ว
นางสาวจอมขวัญ จอมจันทร์ เลขที่ 8
นางสาวฉัตรดริน ชุ่มคา เลขที่ 26
แหล่งอ้างอิง
http://www.seub.or.th
https://orrawan.wordpress.com

More Related Content

What's hot

ไม้ดอกไม้ประดับ
ไม้ดอกไม้ประดับไม้ดอกไม้ประดับ
ไม้ดอกไม้ประดับWanlop Chimpalee
 
แบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อ
แบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อแบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อ
แบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อkrupornpana55
 
ตัวอย่างแผนการสอนรวม7e
ตัวอย่างแผนการสอนรวม7eตัวอย่างแผนการสอนรวม7e
ตัวอย่างแผนการสอนรวม7e
kroojaja
 
ค.ร.น.และห.ร.ม
ค.ร.น.และห.ร.มค.ร.น.และห.ร.ม
ค.ร.น.และห.ร.มkruminsana
 
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่มอาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด รวมเล่ม
I'Mah Sunshine
 
เฉลย แบบทดสอบหลังเรียน
เฉลย แบบทดสอบหลังเรียนเฉลย แบบทดสอบหลังเรียน
เฉลย แบบทดสอบหลังเรียนTong Thitiphong
 
สรุป พรบ.สงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า
สรุป พรบ.สงวนและคุ้มครองสัตว์ป่าสรุป พรบ.สงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า
สรุป พรบ.สงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า
Sireethorn Jaidee
 
ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศ
ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศ
ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศ
พัน พัน
 
1 แบบฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์วิชาฟิสกส์ เรื่อง ความหนาแน่น
1 แบบฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์วิชาฟิสกส์ เรื่อง ความหนาแน่น1 แบบฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์วิชาฟิสกส์ เรื่อง ความหนาแน่น
1 แบบฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์วิชาฟิสกส์ เรื่อง ความหนาแน่น
KruNistha Akkho
 
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอาหารและโภชนาการ
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอาหารและโภชนาการแผนจัดการเรียนรู้เรื่องอาหารและโภชนาการ
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอาหารและโภชนาการ
tassanee chaicharoen
 
Ppt. คุณแม่วัยใส
Ppt. คุณแม่วัยใสPpt. คุณแม่วัยใส
Ppt. คุณแม่วัยใส
Prachaya Sriswang
 
สัตว์ป่า
สัตว์ป่าสัตว์ป่า
สัตว์ป่าJiraporn
 
แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง การสื่อสารของมนุษย์
แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง การสื่อสารของมนุษย์แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง การสื่อสารของมนุษย์
แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง การสื่อสารของมนุษย์Sivagon Soontong
 
อนุกรมวิธาน+อาณาจักรสัตว์
อนุกรมวิธาน+อาณาจักรสัตว์อนุกรมวิธาน+อาณาจักรสัตว์
อนุกรมวิธาน+อาณาจักรสัตว์feeonameray
 
PICO : ค้นข้อมูลอย่างไรให้ตรงประเด็นการรักษา
PICO : ค้นข้อมูลอย่างไรให้ตรงประเด็นการรักษาPICO : ค้นข้อมูลอย่างไรให้ตรงประเด็นการรักษา
PICO : ค้นข้อมูลอย่างไรให้ตรงประเด็นการรักษา
songsri
 
การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน
การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียนการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน
การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียนkrupornpana55
 
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยมและการออกแบบการสอน
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยมและการออกแบบการสอนทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยมและการออกแบบการสอน
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยมและการออกแบบการสอนNisachol Poljorhor
 
แผนที่ 1 ค่าประจำหลักของทศนิยม
แผนที่ 1 ค่าประจำหลักของทศนิยมแผนที่ 1 ค่าประจำหลักของทศนิยม
แผนที่ 1 ค่าประจำหลักของทศนิยม
Kamolthip Boonpo
 

What's hot (20)

ไม้ดอกไม้ประดับ
ไม้ดอกไม้ประดับไม้ดอกไม้ประดับ
ไม้ดอกไม้ประดับ
 
แบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อ
แบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อแบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อ
แบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อ
 
ตัวอย่างแผนการสอนรวม7e
ตัวอย่างแผนการสอนรวม7eตัวอย่างแผนการสอนรวม7e
ตัวอย่างแผนการสอนรวม7e
 
ค.ร.น.และห.ร.ม
ค.ร.น.และห.ร.มค.ร.น.และห.ร.ม
ค.ร.น.และห.ร.ม
 
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่มอาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด รวมเล่ม
 
เฉลย แบบทดสอบหลังเรียน
เฉลย แบบทดสอบหลังเรียนเฉลย แบบทดสอบหลังเรียน
เฉลย แบบทดสอบหลังเรียน
 
สรุป พรบ.สงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า
สรุป พรบ.สงวนและคุ้มครองสัตว์ป่าสรุป พรบ.สงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า
สรุป พรบ.สงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า
 
ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศ
ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศ
ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศ
 
1 แบบฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์วิชาฟิสกส์ เรื่อง ความหนาแน่น
1 แบบฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์วิชาฟิสกส์ เรื่อง ความหนาแน่น1 แบบฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์วิชาฟิสกส์ เรื่อง ความหนาแน่น
1 แบบฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์วิชาฟิสกส์ เรื่อง ความหนาแน่น
 
09 การให้เหตุผลและตรรกศาสตร์ ตอนที่3_สัจนิรันดร์และการอ้างเหตุผล
09 การให้เหตุผลและตรรกศาสตร์ ตอนที่3_สัจนิรันดร์และการอ้างเหตุผล09 การให้เหตุผลและตรรกศาสตร์ ตอนที่3_สัจนิรันดร์และการอ้างเหตุผล
09 การให้เหตุผลและตรรกศาสตร์ ตอนที่3_สัจนิรันดร์และการอ้างเหตุผล
 
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอาหารและโภชนาการ
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอาหารและโภชนาการแผนจัดการเรียนรู้เรื่องอาหารและโภชนาการ
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอาหารและโภชนาการ
 
Ppt. คุณแม่วัยใส
Ppt. คุณแม่วัยใสPpt. คุณแม่วัยใส
Ppt. คุณแม่วัยใส
 
สัตว์ป่า
สัตว์ป่าสัตว์ป่า
สัตว์ป่า
 
แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง การสื่อสารของมนุษย์
แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง การสื่อสารของมนุษย์แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง การสื่อสารของมนุษย์
แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง การสื่อสารของมนุษย์
 
อนุกรมวิธาน+อาณาจักรสัตว์
อนุกรมวิธาน+อาณาจักรสัตว์อนุกรมวิธาน+อาณาจักรสัตว์
อนุกรมวิธาน+อาณาจักรสัตว์
 
PICO : ค้นข้อมูลอย่างไรให้ตรงประเด็นการรักษา
PICO : ค้นข้อมูลอย่างไรให้ตรงประเด็นการรักษาPICO : ค้นข้อมูลอย่างไรให้ตรงประเด็นการรักษา
PICO : ค้นข้อมูลอย่างไรให้ตรงประเด็นการรักษา
 
การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน
การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียนการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน
การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน
 
15แบบทดสอบเทคโนโลยีชีวภาพ
15แบบทดสอบเทคโนโลยีชีวภาพ15แบบทดสอบเทคโนโลยีชีวภาพ
15แบบทดสอบเทคโนโลยีชีวภาพ
 
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยมและการออกแบบการสอน
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยมและการออกแบบการสอนทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยมและการออกแบบการสอน
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยมและการออกแบบการสอน
 
แผนที่ 1 ค่าประจำหลักของทศนิยม
แผนที่ 1 ค่าประจำหลักของทศนิยมแผนที่ 1 ค่าประจำหลักของทศนิยม
แผนที่ 1 ค่าประจำหลักของทศนิยม
 

Viewers also liked

การอนุรักษ์สัตว์ป่า
การอนุรักษ์สัตว์ป่าการอนุรักษ์สัตว์ป่า
การอนุรักษ์สัตว์ป่าKONGBENG
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
Nuntachat Sangtong
 
งานนำเสนอลิ้งค์ สัตว์ (1)
งานนำเสนอลิ้งค์ สัตว์ (1)งานนำเสนอลิ้งค์ สัตว์ (1)
งานนำเสนอลิ้งค์ สัตว์ (1)
Wannarat Kasemsri
 
สัตว์ป่าสงวน
สัตว์ป่าสงวนสัตว์ป่าสงวน
สัตว์ป่าสงวน
Piangtawan Tianloek
 
ตัวอย่างบทคัดย่อ
ตัวอย่างบทคัดย่อตัวอย่างบทคัดย่อ
ตัวอย่างบทคัดย่อsukanya5729
 
โครงงานหนังสือเล่มเล็กอาเซียน
โครงงานหนังสือเล่มเล็กอาเซียนโครงงานหนังสือเล่มเล็กอาเซียน
โครงงานหนังสือเล่มเล็กอาเซียนRatirat Nakrob
 
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บทรูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บทAekapoj Poosathan
 

Viewers also liked (8)

การอนุรักษ์สัตว์ป่า
การอนุรักษ์สัตว์ป่าการอนุรักษ์สัตว์ป่า
การอนุรักษ์สัตว์ป่า
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
งานนำเสนอลิ้งค์ สัตว์ (1)
งานนำเสนอลิ้งค์ สัตว์ (1)งานนำเสนอลิ้งค์ สัตว์ (1)
งานนำเสนอลิ้งค์ สัตว์ (1)
 
สัตว์ป่าสงวน
สัตว์ป่าสงวนสัตว์ป่าสงวน
สัตว์ป่าสงวน
 
โครงงานสังคม ม.ปลาย
โครงงานสังคม ม.ปลายโครงงานสังคม ม.ปลาย
โครงงานสังคม ม.ปลาย
 
ตัวอย่างบทคัดย่อ
ตัวอย่างบทคัดย่อตัวอย่างบทคัดย่อ
ตัวอย่างบทคัดย่อ
 
โครงงานหนังสือเล่มเล็กอาเซียน
โครงงานหนังสือเล่มเล็กอาเซียนโครงงานหนังสือเล่มเล็กอาเซียน
โครงงานหนังสือเล่มเล็กอาเซียน
 
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บทรูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
 

Similar to สัตว์สงวน15ชนิด

สัตว์สงวนในประเทศไทย
สัตว์สงวนในประเทศไทยสัตว์สงวนในประเทศไทย
สัตว์สงวนในประเทศไทย
SupaatikanSupakritta
 
สัตว์ป่า
สัตว์ป่าสัตว์ป่า
สัตว์ป่าJiraporn
 
โครงงานสื่อการเรียนรู้เกี่ยวกับทรัพยากรสัตว์ป่า
โครงงานสื่อการเรียนรู้เกี่ยวกับทรัพยากรสัตว์ป่าโครงงานสื่อการเรียนรู้เกี่ยวกับทรัพยากรสัตว์ป่า
โครงงานสื่อการเรียนรู้เกี่ยวกับทรัพยากรสัตว์ป่า
ภคพงษ์ ภุมรินทร์
 
Assignment 9-Digital Book
Assignment 9-Digital BookAssignment 9-Digital Book
Assignment 9-Digital Book
Jintana Deenang
 
โครงการปลูกป่าชายเลน1
โครงการปลูกป่าชายเลน1โครงการปลูกป่าชายเลน1
โครงการปลูกป่าชายเลน1nananattie
 
สัตว์ป่าคุ้มครอง
สัตว์ป่าคุ้มครองสัตว์ป่าคุ้มครอง
สัตว์ป่าคุ้มครองNooCake Prommali
 
โครงการเศรษฐกิจ
โครงการเศรษฐกิจโครงการเศรษฐกิจ
โครงการเศรษฐกิจsisirada
 
Sea turtles preservation
Sea turtles preservationSea turtles preservation
Sea turtles preservationaunun
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอมrohanlathel
 
เล่ม 1 ตอนที่ 3 ตัวอย่างโครงงานวิทยาศาสตร์
เล่ม 1 ตอนที่ 3 ตัวอย่างโครงงานวิทยาศาสตร์เล่ม 1 ตอนที่ 3 ตัวอย่างโครงงานวิทยาศาสตร์
เล่ม 1 ตอนที่ 3 ตัวอย่างโครงงานวิทยาศาสตร์Ausa Suradech
 
042147
042147042147
042147
teryberry
 
พะยูน
พะยูนพะยูน
พะยูน
teryberry
 
E0b982e0b884e0b8a3e0b887e0b887e0b8b2e0b899e0b980e0b884e0b8a3e0b8b7e0b988e0b8a...
E0b982e0b884e0b8a3e0b887e0b887e0b8b2e0b899e0b980e0b884e0b8a3e0b8b7e0b988e0b8a...E0b982e0b884e0b8a3e0b887e0b887e0b8b2e0b899e0b980e0b884e0b8a3e0b8b7e0b988e0b8a...
E0b982e0b884e0b8a3e0b887e0b887e0b8b2e0b899e0b980e0b884e0b8a3e0b8b7e0b988e0b8a...MukMik Melody
 
รายงานโครงงานวิทย์ เรื่อง การสำรวจและเพาะเลี้ยงบึ้งขายาว (Haplopelma longipes...
รายงานโครงงานวิทย์ เรื่อง การสำรวจและเพาะเลี้ยงบึ้งขายาว (Haplopelma longipes...รายงานโครงงานวิทย์ เรื่อง การสำรวจและเพาะเลี้ยงบึ้งขายาว (Haplopelma longipes...
รายงานโครงงานวิทย์ เรื่อง การสำรวจและเพาะเลี้ยงบึ้งขายาว (Haplopelma longipes...
Sircom Smarnbua
 

Similar to สัตว์สงวน15ชนิด (20)

สัตว์สงวนในประเทศไทย
สัตว์สงวนในประเทศไทยสัตว์สงวนในประเทศไทย
สัตว์สงวนในประเทศไทย
 
สัตว์ป่า
สัตว์ป่าสัตว์ป่า
สัตว์ป่า
 
Animal
AnimalAnimal
Animal
 
โครงงานสื่อการเรียนรู้เกี่ยวกับทรัพยากรสัตว์ป่า
โครงงานสื่อการเรียนรู้เกี่ยวกับทรัพยากรสัตว์ป่าโครงงานสื่อการเรียนรู้เกี่ยวกับทรัพยากรสัตว์ป่า
โครงงานสื่อการเรียนรู้เกี่ยวกับทรัพยากรสัตว์ป่า
 
Assignment 9-Digital Book
Assignment 9-Digital BookAssignment 9-Digital Book
Assignment 9-Digital Book
 
Manybio
ManybioManybio
Manybio
 
โครงการปลูกป่าชายเลน1
โครงการปลูกป่าชายเลน1โครงการปลูกป่าชายเลน1
โครงการปลูกป่าชายเลน1
 
Animal
AnimalAnimal
Animal
 
สัตว์ป่าคุ้มครอง
สัตว์ป่าคุ้มครองสัตว์ป่าคุ้มครอง
สัตว์ป่าคุ้มครอง
 
โครงการเศรษฐกิจ
โครงการเศรษฐกิจโครงการเศรษฐกิจ
โครงการเศรษฐกิจ
 
Sea turtles preservation
Sea turtles preservationSea turtles preservation
Sea turtles preservation
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
Pw ecosystem
Pw ecosystemPw ecosystem
Pw ecosystem
 
เล่ม 1 ตอนที่ 3 ตัวอย่างโครงงานวิทยาศาสตร์
เล่ม 1 ตอนที่ 3 ตัวอย่างโครงงานวิทยาศาสตร์เล่ม 1 ตอนที่ 3 ตัวอย่างโครงงานวิทยาศาสตร์
เล่ม 1 ตอนที่ 3 ตัวอย่างโครงงานวิทยาศาสตร์
 
042147
042147042147
042147
 
พะยูน
พะยูนพะยูน
พะยูน
 
E0b982e0b884e0b8a3e0b887e0b887e0b8b2e0b899e0b980e0b884e0b8a3e0b8b7e0b988e0b8a...
E0b982e0b884e0b8a3e0b887e0b887e0b8b2e0b899e0b980e0b884e0b8a3e0b8b7e0b988e0b8a...E0b982e0b884e0b8a3e0b887e0b887e0b8b2e0b899e0b980e0b884e0b8a3e0b8b7e0b988e0b8a...
E0b982e0b884e0b8a3e0b887e0b887e0b8b2e0b899e0b980e0b884e0b8a3e0b8b7e0b988e0b8a...
 
รายงานโครงงานวิทย์ เรื่อง การสำรวจและเพาะเลี้ยงบึ้งขายาว (Haplopelma longipes...
รายงานโครงงานวิทย์ เรื่อง การสำรวจและเพาะเลี้ยงบึ้งขายาว (Haplopelma longipes...รายงานโครงงานวิทย์ เรื่อง การสำรวจและเพาะเลี้ยงบึ้งขายาว (Haplopelma longipes...
รายงานโครงงานวิทย์ เรื่อง การสำรวจและเพาะเลี้ยงบึ้งขายาว (Haplopelma longipes...
 
The best conservation
The best conservationThe best conservation
The best conservation
 
The best conservation
The best conservationThe best conservation
The best conservation
 

สัตว์สงวน15ชนิด

  • 2. ชื่อโครงงาน สัตว์ป่าสงวน 15 ชนิด ของไทย (Wildlife Preservation of Thailand) ชื่อผู้จัดทาโครงงาน 1.นางสาวจอมขวัญ จอมจันทร์ เลขที่ 8 2.นางสาวฉัตรดริน ชุ่มคา เลขที่ 26 ชื่อครูที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
  • 3. ในปัจจุบันสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรรอบตัวของเราเริ่มมีจานวนลดลง ไม่ว่าจะเป็นป่าไม้หรือสัตว์ป่า เราควรจะตระหนัก และเห็น ความสาคัญ โดยการให้ความรู้ความสาคัญ ซึ่งในประเทศไทยนั้นมีสัตว์ป่าหายากหลายชนิด และมีสัตว์ป่าสงวนถึง15ชนิดด้วยกัน ที่มาและความสาคัญ สัตว์ป่าสงวน หมายถึง สัตว์ป่าที่หายาก กาหนดตามบัญชีท้ายพระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พ.ศ. 2503 จานวน 9 ชนิด เป็นสัตว์ป่าเลี้ยงลูกด้วยนมทั้งหมด ได้แก่ แรด กระซู่ กูปรี ควายป่า ละองหรือละมั่ง สมัน เนื้อทราย เลียงผา และกวางผา สัตว์ป่าสงวนเป็นสัตว์หายาก, ใกล้จะสูญพันธุ์ หรืออาจจะสูญพันธุ์ไปแล้ว จึงจาเป็นต้องมีบทบัญญัติเข้มงวดกวดขัน เพื่อป้องกัน ไม่ให้เกิดอันตรายแก่สัตว์ป่าที่ยังมีชีวิตอยู่หรือซากสัตว์ป่า ซึ่งอาจจะตกไปอยู่ยังต่างประเทศด้วยการซื้อขาย
  • 4. ต่อมาเมื่อสถานการณ์ของสัตว์ป่าในประเทศไทยเปลี่ยนแปลงไป สัตว์ป่าหลายชนิดมีแนวโน้มถูกคุกคามเสี่ยงต่อการสูญพันธุ์มากยิ่งขึ้น ประกอบกับ เพื่อให้เกิดความสอดคล้องกับความร่วมมือระหว่างประเทศในการควบคุมดูแลการค้าหรือการลักลอบค้าสัตว์ป่าในรูปแบบต่าง ๆ ตามอนุสัญญาว่าด้วย การค้าระหว่างประเทศว่าด้วยชนิดสัตว์ป่าและพืชป่าหรือ CITES ซึ่งประเทศไทยได้ร่วมลงนามรับรองอนุสัญญาในปี พ.ศ. 2518 และได้ให้สัตยาบัน เมื่อวันที่ 21 มกราคม พ.ศ. 2526 นับเป็นสมาชิกลาดับที่ 80 จึงได้มีการพิจารณาแก้ไขปรับปรุงพระราชบัญญัติฉบับเดิมและตราพระราชบัญญัติ สงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พ.ศ. 2535 ขึ้นใหม่เมื่อวันที่ 19 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2535 สัตว์ป่าสงวนตามในพระราชบัญญัติฉบับใหม่ หมายถึง สัตว์ป่าที่หายากตามบัญชีท้ายพระราชบัญญัติฉบับนี้และตามที่กาหนดโดยตราเป็น พระราชกฤษฎีกา ทาให้สามารถเปลี่ยนแปลงชนิดสัตว์ป่าสงวนได้โดยสะดวกโดยออกเป็นพระราชกฤษฎีกาแก้ไขหรือเพิ่มเติมเท่านั้น ไม่ต้องถึงกับต้อง แก้ไขพระราชบัญญัติอย่างของเดิม ทั้งนี้ได้มีการเพิ่มเติมชนิดสัตว์ป่าที่มีสภาพล่อแหลมต่อการสูญพันธุ์อย่างยิ่ง 7 ชนิด และตัดสัตว์ป่าที่ไม่อยู่ใน สถานะใกล้จะสูญพันธุ์เนื่องจากการที่สามารถเพาะเลี้ยงขยายพันธุ์ได้มาก 1 ชนิด คือ เนื้อทราย รวมกับสัตว์ป่าสงวนเดิม 8 ชนิดรวมเป็น 15 ชนิด
  • 5. ข้อควรทราบบางประการจากพระราชบัญญัติ • 1. สัตว์ป่าสงวนและสัตว์ป่าคุ้มครอง เป็นสัตว์ป่าที่ห้ามล่า พยายามล่า ห้ามค้า ห้ามนาเข้าหรือส่งออก เว้นแต่จะได้รับอนุญาต ผู้ฝ่าฝืนมีโทษจาคุกไม่เกินสี่ปี หรือปรับไม่เกินสี่หมื่นบาท หรือทั้งจาทั้งปรับ • 2. ห้ามครอบครองสัตว์ป่าสงวนและสัตว์ป่าคุ้มครอง เว้นแต่จะได้รับอนุญาต ผู้ฝ่าฝืนมีโทษจาคุกไม่เกินสามปี หรือปรับไม่เกินสามหมื่นบาท หรือทั้งจาทั้ง ปรับ ในกรณีที่สัตว์ที่ครอบครองเป็นสัตว์ที่มาจากการเพาะพันธุ์ที่ไม่ถูกต้อง จะต้องโทษจาคุกไม่เกินหนึ่งปี หรือปรับไม่เกินหนึ่งหมื่นบาท หรือทั้งจาทั้งปรับ • 3. ห้ามเพาะพันธุ์สัตว์ป่าสงวนและสัตว์ป่าคุ้มครอง เว้นแต่จะได้รับอนุญาต ผู้ฝ่าฝืนมีโทษจาคุกไม่เกินสามปี หรือปรับไม่เกินสามหมื่นบาท หรือทั้งจาทั้งปรับ • 4. ในกรณีที่การล่าเป็นการล่าเพื่อปกป้องตนเองหรือผู้อื่นหรือทรัพย์สิน หรือเหตุอื่นที่เห็นว่าเป็นการกระทาที่ควรแก่เหตุ ไม่ต้องรับโทษ • 5. การห้ามการครอบครองและห้ามค้า มีผลไปถึงไข่และซากของสัตว์เหล่านั้นด้วย • 6. ห้ามเก็บหรือทาอันตรายรังของสัตว์ ยกเว้นรังนกอีแอ่น (นกแอ่นกินรัง) ซึ่งต้องได้รับอนุญาตเช่นกัน
  • 6. นกเจ้าฟ้าหญิงสิรินธร แรด กระซู่ กูปรี เลียงผา สมัน นกกระเรียน นกแต้วแล้วท้องดาควายป่า แมวลายหินอ่อน
  • 7. กวางผา เก้งหม้อ สมเสร็จ พะยูน ละอง ละมั่ง
  • 23. นกเจ้าฟ้าหญิงสิรินธร • ชื่อสามัญ : White-eyed River-Martin • ชื่อวิทยาศาสตร์ : Pseudochelidon sirintarae • ชื่ออื่น : นกเจ้าฟ้า • เป็นนกนางแอ่นชนิดหนึ่ง ขนาดวัดจากปลายจงอยปากถึงโคนหางยาวประมาณ 15 ซม. พบครั้งแรกในประเทศไทยเมื่อปี พ.ศ.2511 บริเวณ บึงบรเพ็ด จ.นครสวรรค์ เพียงแห่งเดียวในโลกและไม่พบที่อื่นอีกเลย เป็นนกที่อพยพมาในฤดูหนาว ส่วนในฤดูอื่นเชื่อว่าจะอยู่บริเวณ ต้นแม่น้าปิง ชอบเกาะนอนในพงหญ้า นอนอยู่รวมกับฝูงนกนางแอ่นชนิดอื่น ๆ ตามใบอ้อ และใบสนุ่น โฉบจับแมลงเป็นอาหาร ปัจจุบันเชื่อว่าสูญพันธุ์ไปแล้ว
  • 24. แรด • ชื่อสามัญ : Javan Rhinoceros • ชื่อวิทยาศาสตร์ : Rhinoceros sondaicus • ชื่ออื่น : แรดชวา • มีนอเดียว ความสูงที่ระดับไหล่ 1.70-1.75 เมตร น้าหนัก 1,500-2,000 กก. ชอบนอนในปลัก โคลนตม หนองน้า เพื่อไม่ให้ถูกแมลง รบกวน มีสายตาไม่ค่อยดีนัก แต่ประสาทสัมผัสในการรับกลิ่นดีมาก ชอบกินยอดไม้ ใบไม้และผลไม้ ตกลูกครั้งละ 1 ตัว ตั้งท้องนาน 16 เดือน อาศัยอยู่ในป่าทึบ โดยเฉพาะบริเวณที่มีแหล่งน้าอุดมสมบูรณ์ ครั้งหนึ่งเคยมีพบในบริเวณป่าชายแดนไทย พม่า ลงไปทางใต้ แต่ไม่ มีใครพบแรดในธรรมชาติในเมืองไทยเป็นเวลากว่า 30 ปีแล้ว ประชากรแรดในประเทศอื่น ๆ ก็อยู่ในภาวะคล้ายคลึงกัน ปัจจุบันยังมีเหลือ แรดอยู่ในธรรมชาติเพียง 20-30 ตัวเท่านั้น โดยอยู่ในอุทยานแห่งชาติแห่งหนึ่งในประเทศเวียดนาม
  • 25. กระซู่ • ชื่อสามัญ : Sumatran Rhinoceros ชื่อวิทยาศาสตร์ : Dicermocerus sumatraensis • ชื่ออื่น : แรดสุมาตรา • เป็นแรดพันธุ์เล็กที่สุดในบรรดาแรด 5 ชนิดของโลก มี 2 นอ ความสูงที่ระดับไหล่ 1.0 - 1.4 เมตร น้าหนัก 900-1,000 กก. มีขนปกคลุม ทั้งตัว ปีนเขาเก่ง มีประสาทในการรับกลิ่นดีมาก เมื่อพบสิ่งกีดขวางจะไม่ข้าม แต่มักใช้หัวดันให้พ้นทางเดิน ชอบกินกิ่งไม้ ใบไม้และผลไม้ ตกลูกครั้งละ 1 ตัว ตั้งท้องนานประมาณ 7-8 เดือน ปัจจุบันหายากมาก คาดว่าจะพบได้ในบริเวณป่าทึบตามแนวพรมแดนไทย-พม่า และ ชายแดนไทย-มาเลเซีย รายงานล่าสุดในปี พ.ศ.2539 พบรอยเท้าที่เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าภูเขียว จังหวัดชัยภูมิ นอกจากนี้ยังมีกระจัดกระจาย ตามป่าต่าง ๆ แห่งละตัวสองตัว เช่น แก่งกระจาน จังหวัดเพชรบุรี ห้วยขาแข้ง จังหวัดอุทัยธานี ฮาลา-บาลา จังหวัดนราธิวาส เขาสก จังหวัดสุราษฎร์ธานี
  • 26. • ชื่อสามัญ : Sumatran Rhinoceros • ชื่อวิทยาศาสตร์ : Bos sauveli • ชื่ออื่น : แรดสุมาตรา • ตัวผู้ มีขนสีดา ขนาดความสูง 1.71 - 1.90 เมตร ขนาดลาตัว 2.10 - 2.22 เมตร น้าหนักตัวประมาณ 700 - 900 กิโลกรัม เขาโค้งเป็นวง กว้างตีโค้งไปข้างหน้า ปลายเขาแตกออกเป็นพู่คล้ายเส้นไม้กวาดแข็ง ขามีถุงเท้าสีขาว ตัวผู้ที่มีอายุมาก จะมีเหนียงใต้คอยาวห้อยลงมาจน เกือบจะถึงดิน ใช้ในการระบายความร้อน • ตัวเมีย มีขนสีเทา เขาตีวงแคบม้วนขึ้นด้านบน ไม่มีพู่ที่ปลายเขา โคนเขาใหญ่ ปลายเขาแหลม ไม่มีการแตกกิ่ง ยาวประมาณ 1 เมตร • ปัจจุบันไม่มีการรายงานการพบมานานแล้ว จนครั้งหนึ่งเคยเชื่อว่าสูญพันธุ์ไปแล้ว แต่ปัจจุบันเชื่อว่าอาจจะยังพอมีหลงเหลืออยู่ในชายแดนไทยกับ กัมพูชาแถบจังหวัดศรีสะเกษ เพราะมักจะมีข่าวพบสัตว์ลักษณะคล้ายกูปรีแต่ไม่มีหลักฐานยืนยันที่น่าเชื่อถือพอ นอกจากคาเล่าลือเท่านั้น กูปรี
  • 27. เลียงผา • ชื่อสามัญ : Serow • ชื่อวิทยาศาสตร์ : Capricornis sumatraensis • เป็นสัตว์กีบคู่ มีเขาจาพวกแพะ ความสูงที่ระดับไหล่ 85-94 ซ.ม. น้าหนักประมาณ 85-140 กก. อาศัยอยู่ตามภูเขาที่มีหน้าผาหรือถ้า สามารถเคลื่อนที่ในที่สูงชันอย่างว่องไวและปราดเปรียวมาก สามารถว่ายน้าข้ามระหว่างเกาะกับแผ่นดินได้ มีอวัยวะรับสัมผัส ทั้งตา หู และจมูกดี กินพืชที่ขึ้นอยู่ตามที่สูง ตกลูกครั้งละ 1 ตัว ตั้งท้องนาน 7-8 เดือน ปัจจุบันลดจานวนลงไปมากเนื่องจาก ถูกล่าเพื่อเอาเขา และทาน้ามันเลียงผา
  • 28. สมัน • ชื่อสามัญ : Schomburgk’s Deer • ชื่อวิทยาศาสตร์ : Cervus schomburgki • ชื่ออื่น : เนื้อสมัน • เป็นกวางขนาดกลาง ความสูงระดับไหล่ 1 เมตร ได้ชื่อว่ามีเขาสวยที่สุด การแตกแขนงของเขาเมื่อโตเต็มวัยจะมีลักษณะคล้ายสุ่มที่หงายขึ้น จึงเรียกว่า "กวางเขาสุ่ม" ชอบกินยอดหญ้าอ่อน ผลไม้ และใบไม้ อยู่รวมกันเป็นฝูงเล็ก ๆ อาศัยอยู่เฉพาะที่ราบต่าในภาคกลางของ ประเทศไทยเท่านั้น โดยเฉพาะบริเวณรอบ ๆ กรุงเทพฯ ปทุมธานี อยุธยา สมุทรปราการ สมันได้สูญพันธุ์ไปโดยสมบูรณ์เมื่อราวปี 2475 แม้แต่สมันตัวสุดท้ายของโลกก็ตายด้วยมือของมนุษย์
  • 29. นกกระเรียน • ชื่อสามัญ : Sarus Crane • ชื่อวิทยาศาสตร์ : Grus antigone sharpii • ชื่ออื่น : _ • อยู่ในตระกูลนกบินได้ขนาดใหญ่ที่สุด สูงประมาณ 150 ซม. พบตามหนอง บึง และท้องทุ่ง หากินเป็นคู่และกลุ่มครอบครัว จับคู่แบบ ผัวเดียวเมียเดียว กินแมลง สัตว์เลื้อยคลาน สัตว์น้า เมล็ดพืช และต้นอ่อนของพืชน้า ปัจจุบันไม่พบในประเทศไทยเพราะถูกล่า และ แหล่งที่อยู่อาศัยถูกทาลาย แต่ยังพบในประเทศลาวและเขมร
  • 30. นกแต้วแล้วท้องดา• ชื่อสามัญ : Gurney's Pitta • ชื่อวิทยาศาสตร์ : Pitta gurney • ชื่ออื่น : _ • ขนาดลาตัววัดจากจงอยปากถึงโคนหางยาว 21 ซม. อาศัยอยู่เฉพาะในป่าดิบที่ราบต่า ชอบทารังบนกอระกา และกอหวาย ซึ่งมีหนามแหลม ชอบกินไส้เดือน ส่งเสียกร้อง "วัก วัก" เพื่อประกาศอาณาเขตและร้องหาคู่ ส่งเสียงร้อง "แต้ว แต้ว" ขณะตกใจ ฤดูผสมพันธุ์เริ่มเดือน พฤษภาคม ปัจจุบันพบแห่งเดียวในโลก ที่เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าเขาประ-บางคราม (เขานอจู้จี้) จ.กระบี่ คาดว่าเหลืออยู่ไม่เกิน 100 ตัว และมีแนวโน้มว่าจะสูญพันธุ์ในไม่ช้าเนื่องจาก ถิ่นที่อยู่กาลังถูกบุกรุกอย่างรุนแรง
  • 31. ควายป่า • ชื่อสามัญ : Wild Water Buffalo • ชื่อวิทยาศาสตร์ : Bubalus bubalis • ชื่ออื่น : มหิงสา • เป็นบรรพบุรุษของควายบ้าน ขนาดของลาตัวใหญ่กว่าควายบ้าน รอบคอด้านหน้ามีรอยสีขาวเป็นรูปพระจันทร์เสี้ยวหงายอยู่ เรียกว่า "รอย เชียดคอ" ขาทั้งสี่มีสีขาวเหมือนใส่ถุงเท้า แต่ในธรรมชาติมักไม่เห็นถุงเท้านี้ เพราะควายป่าชอบแช่และลุยปลักโคลนจนถุงเท้าเปื้อนไปหมด ความสูงที่ระดับไหล่ 1.6-1.9 เมตร น้าหนักถึง 800-1,200 กก. แต่ปราดเปรียวมาก ชอบนอนแช่ปลักให้ดินโคลนพอกลาตัวเพื่อป้องกัน แมลงรบกวน มีนิสัยชอบอยู่เป็นฝูง เมื่อบาดเจ็บจะดุร้ายมาก กินใบไม้ หญ้า และหน่อไม้ ตกลูกครั้งละ 1 ตัว ตั้งท้องนานประมาณ 10 เดือน ปัจจุบันพบบริเวณเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง จ.อุทัยธานี เท่านั้น
  • 32. แมวลายหินอ่อน • ชื่อสามัญ : Marbled Cat • ชื่อวิทยาศาสตร์ : Pardofelis marmorata • ชื่ออื่น : _ • เป็นแมวป่าขนาดกลาง น้าหนักประมาณ 4-5 กก. อยู่ในป่าดงดิบและป่าดิบชื้น ชอบอยู่บนต้นไม้ หากินในเวลากลางคืน อาหารได้แก่ แมลง งู นก หนู และสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมขนาดเล็ก ปัจจุบันหายากมาก มีรายงานพบเพียงไม่กี่แห่งเท่านั้น เช่น เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง อุทยานแห่งชาติปางสีดา อุทยานแห่งชาติเขาใหญ่ และอุทยานแห่งชาติทับลาน
  • 33. กวางผา • ชื่อสามัญ : Goral • ชื่อวิทยาศาสตร์ : Naemorhedus griseus • ชื่ออื่น : ม้าเทวดา • มีลักษณะคล้ายแพะ ความสูงที่ระดับไหล่ 50-70 ซม. น้าหนักประมาณ 20-32 กก. มีขาแข็งแรงสามารถกระโดดตามชะง่อนผาได้อย่าง ว่องไวและแม่นยา พบตามยอดเขาสูงชัน สูงจากระดับน้าทะเลมากกว่า 1,000 เมตร ซึ่งมีอากาศหนาวเย็นเกือบตลอดปี อาหารได้แก่ พืชตามสันเขาและหน้าผาหิน ตกลูกครั้งละ 1 ตัว ตั้งท้องนาน 6-8 เดือน อายุประมาณ 8-10 ปี ปัจจุบันเหลืออยู่จานวนน้อย พบบริเวณเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าแม่ตื่น จ.ตาก
  • 34. เก้งหม้อ • ชื่อสามัญ : Fea’s Barking Deer • ชื่อวิทยาศาสตร์ : Muntiacus feai • ชื่ออื่น : เก้งดา, กวางจุก • เป็นเก้งที่มีสีคล้ากว่าเก้งธรรมดา ทางด้านบนสีดาตัดกับสีขาวด้านล่างชัดเจน บริเวณโคนเขามีขนยาวแน่นและฟูเป็นกระจุก ชอบอาศัยอยู่เดี่ยว ๆ ในป่าดงดิบตามลาดเขา จะอยู่เป็นคู่เฉพาะในฤดูผสมพันธุ์เท่านั้น กินใบไม้ หญ้าและผลไม้ ตกลูกครั้งละ 1 ตัว ตั้งท้อง นาน 6 เดือน พบบริเวณชายแดนไทย-พม่า และในภาคใต้ของไทย เป็นสัตว์
  • 35. สมเสร็จ • ชื่อสามัญ : Malayan Tapir • ชื่อวิทยาศาสตร์ : Tapirus indicus • ชื่ออื่น : ผสมเสร็จ • เป็นสัตว์หากินกลางคืน น้าหนักประมาณ 250-300 กก. มีประสาทสัมผัสทางกลิ่นและเสียงดีมาก มีจมูกเหมือนงวงช้าง รูปร่างเหมือนหมู เท้าเหมือนแรด จึงเรียกว่าผสมเสร็จหรือสมเสร็จ มักหากินตามที่รกทึบ ตกลูกครั้งละ 1 ตัว ตั้งท้องนาน 13 เดือน พบบริเวณป่าชายแดนไทย-พม่า ตลอดลงไปจนถึงภาคใต้ของไทย
  • 36. พะยูน • ชื่อสามัญ : Dugong • ชื่อวิทยาศาสตร์ : Dugong dugon • ชื่ออื่น : หมูน้า, ปลาพะยูน • สัตว์ทะเลเลี้ยงลูกด้วยนม น้าหนักประมาณ 300 กก. ชอบอยู่รวมกันเป็นฝูง กินหญ้าทะเลตามบริเวณน้าตื้นใกล้ชายฝั่ง ออกลูกครั้งละ 1 ตัว ตั้งท้องนาน 1 ปี ลดจานวนลงมากเพราะติดอวน และหญ้าทะเลซึ่งเป็นแหล่งอาหารสาคัญ ถูกทาลาย ปัจจุบันพบอยู่บริเวณเกาะลิบงและหาดเจ้าไหม จ.ตรัง ประมาณ 40-50 ตัว
  • 37. ละอง ละมั่ง • ชื่อสามัญ : Eld's Deer • ชื่อวิทยาศาสตร์ : Cervus eldi • ชื่ออื่น : - • ละอง เป็นชื่อเรียกตัวผู้ ส่วนละมั่งเป็นชื่อเรียกตัวเมีย ความสูงที่ระดับไหล่ 1.2 - 1.3 เมตร หนักประมาณ 95-150 กก. ชอบอยู่รวมกัน เป็นฝูงเล็ก ๆ ออกหากินทั้งกลางวันและกลางคืน กินใบไม้ ใบหญ้า และผลไม้เป็นอาหาร ตกลูกครั้งละ 1 ตัว ตั้งท้องประมาณ 7-8 เดือน มีสองชนิดย่อย คือ C. e. thamin และ C. e. siamensis ปัจจุบันละองและละมั่งได้สูญพันธุ์ไปจากธรรมชาติของไทยไปแล้ว แต่คาดว่ายัง มีเหลืออยู่ตามบริเวณเทือกเขาพนมดงรัก ชายแดนไทย-กัมพูชา และบริเวณเทือกเขาตะนาวศรีชายแดนไทย-พม่า
  • 38. แนวทางการอนุรักษ์ 1. ออกกฎหมาย คือ การออกกฎหมายควบคุม คุ้มครองป้องกันสัตว์ป่า มิให้ลดจานวนน้อยลง หรือสูญพันธุ์ไป เป็นการควบคุมการใช้ ทรัพยากรธรรมชาติสัตว์ปาให้มีผลประโยชน์ต่อส่วนรวมและประเทศชาติมากที่สุด ซึ่งในประเทศไทยเราก็มีพระราชบัญญัติสงวนและ คุ้มครองสัตว์ป่า พ.ศ. 2503 ซึ่งประกอบด้วยกฎเกณฑ์ ข้อบังคับระเบียบการต่างๆ เกี่ยวกับการค้าสัตว์ป่า การค้าซากสัตว์ปา การล่าสัตว์ป่า ระยะเวลาและวิธีการล่า หรือการจับสัตว์ การครอบครองสัตว์ป่าและซากของสัตว์ป่า วิธีการปฏิบัติตามกฎหมาย การควบคุมการส่งสัตว์ป่า ออกนอกราชอาณาจักร การกาหนดโทษผู้ฝ่าฝืนเกี่ยวกับผู้กระทาผิดกฎหมาย
  • 39. • 2. การควบคุมศัตรูสัตว์ เพื่อเป็นการป้องกันสัตว์ป่าถูกทาลาย ป้องกัน มิให้สัตว์เลี้ยงเข้าไปอยู่ร่วมกับสัตว์ป่า อันจะทาให้เกิดโรคระบาดหรือทาลายที่อยู่อาศัยของสัตว์ป่า • 3. การจัดตั้งเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า หรือการสงวนแหล่งที่อยู่อาศัยของสัตว์ป่า เป็นการจัดพื้นที่ป่าง่ายปลอดภัย และสัตว์ป่ามีโอกาส ขยายพันธุ์เพิ่มขึ้น เช่น จัดตั้งเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขตห้ามล่าสัตว์ป่า การจัดตั้งก็อาศัยกฎหมาย สาหรับการจัดตั้งเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ก็เพื่อให้สัตว์ป่าได้อาศัยอยู่อย่างปลอดภัย มีโอกาสขยายพันธุ์ตามธรรมชาติเพิ่มขึ้นและสัตว์ป่าบางส่วนจะกระจายจานวนไปอาศัยอยู่ ในพื้นที่ข้างเคียง การจัดตั้งเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า นอกจากจะจัดตั้งเพื่อคุ้มครองสัตว์โดยทั่วไปแล้วบางส่วนยังจัดขึ้นเป็นพิเศษ คือ คุ้มครองป้องกันมิให้สัตว์ป่าที่หาได้ยากบางชนิดต้องสูญพันธุ์ไปภายในเขตอนุรักษ์สัตว์ป่า ก็จัดให้มีการควบคุมป้องกัน การปรับปรุงแหล่งอาหารของสัตว์ ฯลฯ เป็นต้น
  • 40. • 4. ขยายพันธุ์สัตว์ป่าให้เพิ่มขึ้น โดยวิธีการตั้งฟาร์มเพาะเลี้ยงสัตว์ป่า โดยจะได้มีการผสมพันธุ์ตามธรรมชาติ หรือจัดให้มีการผสมเทียม สาหรับสัตว์ที่หาได้ยาก การจัดตั้งฟาร์มเพาะเลี้ยงย่อมทาให้สัตว์ป่าบางชนิดที่มีความสาคัญทางเศรษฐกิจ ก็จะเป็นประโยชน์ต่อประเทศชาติ โดยเฉพาะในด้านการค้า • 5. การปรับปรุงที่อยู่อาศัยของสัตว์ป่า หรือ (Biological Values) การปรับปรุงแหล่งน้า ที่หลบภัย การปลูกอาหารสัตว์เพิ่มเติมหรือการ ปรับปรุงสภาพป่าให้มีอาหารสัตว์เพิ่มเติม เช่น การทาแหล่งน้าการตัดวัชพืชไม้พื้นล่างในป่าออกให้มีพืชชนิดอื่นที่เป็นอาหารสัตว์ ขึ้นอยู่และ จัดให้มีการควบคุมพื้นที่นั้น เพื่อที่จะให้มีการดาเนินงานอนุรักษ์สัตว์ป่าสาเร็จตามความมุ่งหมายที่ให้ทรัพยากรธรรมชาติ สัตว์ป่าคงมีอยู่ ตลอดไปก็โดยปฏิบัติตามหลักการทั้งห้าประการดังกล่าวแล้ว
  • 41. นางสาวจอมขวัญ จอมจันทร์ เลขที่ 8 นางสาวฉัตรดริน ชุ่มคา เลขที่ 26