SlideShare a Scribd company logo
วรรณคดีและวรรณกรรม
เสนอ อาจารย์วราพร
ความหมายของวรรณคดีและวรรณกรรม
 “วรรณคดี” หมายถึง หนังสือที่ได้รับยกย่องว่าเป็นหนังสือที่แต่งขึ้นอย่างมีศิลปะของการ
ประพันธ์ เป็นหนังสือที่มีเนื้อหาและรูปแบบเหมาะสมกัน ก่อให้เกิดความประทับใจแก่
ผู้อ่าน ทาให้ผู้อ่านเกิดความเพลิดเพลิน เกิดมโนภาพไปตามจินตนาการของผู้แต่ง
ควรรักษาไว้เพื่อประโยชน์ในการเข้าใจมนุษย์สังคม และ วัฒนธรรม
ความหมายของวรรณคดีและวรรณกรรม(ต่อ)
“วรรณกรรม” หมายถึง หนังสือทั่วไป งานเขียนทั้งหมดไม่ว่าจะเป็นรูปแบบใด รวมงาน
ทุกชนิดทั้งที่อยู่ในรูปของลายลักษณ์และเรื่องราวที่เล่าสืบทอดกันมา รวมทั้งครอบคลุม
ไปถึงวรรณคดีอีกด้วย
ความสาคัญของวรรณคดีและวรรณกรรม
๑. ทาให้ผู้อ่านได้รับความรู้ในหลายๆด้าน
• ด้านภาษา เช่น ความหมายของคา การใช้ภาษาในแต่ละยุค เป็นต้น
• ด้านประวัติศาสตร์ เช่น พงศาวดาร ตานาน นิทานต่างๆ เป็นต้น
๒. ให้คุณค่าทางด้านอารมณ์
• ถ่ายทอดความรู้สึกและอารมณ์ผ่านเนื้อเรื่องทาให้ผู้อ่านเกิดอารมณ์คล้อยตาม
ความสาคัญของวรรณคดีและวรรณกรรม(ต่อ)
๓. ช่วยสะท้อน สภาพสังคม ขนบธรรมเนียมประเพณี ความเชื่อ ค่านิยม วัฒนธรรม
๔. ขัดเกลา และยกระดับจิตใจของผู้อ่านให้สูงขึ้น
ประเภทของวรรณคดีและวรรณกรรม
สามารถจาแนกตามลักษณะต่างๆออกได้เป็น ๘ ประเภท ดังนี้
๑.จาแนกตามลักษณะ
ของการประพันธ์
๒.จาแนกตามลักษณะ
เนื้อเรื่อง
๓.จาแนกตามลักษณะ
การถ่ายทอด
•ร้อยแก้ว
•ร้อยกรอง
•วรรณกรรมบริสุทธิ์
•วรรณกรรมประยุกต์
•วรรณกรรมมุขปาฐะ
•วรรณกรรมลายลักษณ์
ประเภทของวรรณคดีและวรรณกรรม(ต่อ)
๔.จาแนกตามลักษณะของ
เนื้อหา
๕.จาแนกตามบ่งเกิดหรือที่มา
•วรรณกรรมที่เกิดจากบอกเล่า
•วรรณกรรมที่เกิดจากญาณทัศน์
•วรรณกรรมที่เกิดจากเหตุผล
•วรรณกรรมที่เกิดจากคัมภีร์
•วรรณกรรมที่เกิดจากการประจักษ์
•วรรณกรรมที่เกิดจากวรรณศิลป์
•วรรณคดีนิราศ
•วรรณคดีเฉลิมพระเกียรติ
•วรรณคดีศาสนา
•วรรณคดีที่เกี่ยวกับพิธีขนบธรรมเนียมประเพณี
•วรรณคดีสุภาษิต
•วรรณคดีการละคร
•วรรณคดีนิยาย
ประเภทของวรรณคดีและวรรณกรรม(ต่อ)
๖.จาแนกตาม
คุณค่าที่มุ่งให้กับ
ผู้อ่าน
๗.จาแนกตามลักษณะ
รูปแบบ หรือวัสดุของ
สื่อที่นาเสนอ
๘.จาแนกตาม
ต้นกาเนิด
•วรรณกรรมที่ให้ความรู้หรือความคิด
•วรรณกรรมมุ่งให้ความเพลิดเพลิน
•วรรณกรรมที่มุ่งผสมผสานความรู้ .
•วรรณกรรมในรูปของ
วัสดุสิ่งพิมพ์
•วรรณกรรมในรูปของ
วัสดุไม่ตีพิมพ์
•วรรณกรรมปฐมภูมิ
•วรรณกรรมทุติยภูมิ
•วรรณกรรมตติยภูมิ
วรรณกรรมไทยปัจจุบันถือกำเนิดขึ้นในสม
ของ
พระบำทสมเด็จพระจุลจอมเกล้ำเจ้ำอยู่หัวลักษณะของวรรณกรรมไทยในช่วงนี้
ได้เปลี่ยนแปลงไปจากวรรณคดีไทยเดิมอย่างเห็นได้ชัดเจน
ทั้งในด้านรู ปแบบ แนวคิด เนื้ อหาและกลวิธีการแต่ง
เนื่องจากได้รับอิทธิพลจากวรรณกรรมของตะวันตก
ดังกล่าวแล้ว
วิวัฒนาการวรรณกรรมแบ่งเป็น ๗ ยุคสมัย
ยุคเริ่มแรก – ที่มาของวรรณกรรมแปลและแปลง (พ.ศ. ๒๔๔๓ – ๒๔๖๙)
ยุครุ่ งอรุณ – ที่มาของวรรณกรรมไทยแนวจินตนิยม (พ.ศ. ๒๔๗๐ – ๒๔๗๕)
ยุครัฐนิยม – ที่มาของวรรณกรรมแนวก้าวหน้า (พ.ศ. ๒๔๗๖ – ๒๔๘๘)
ยุคกบฏสันติภาพ – ที่มาของวรรณกรรมแนวเพื่อชีวิต (พ.ศ. ๒๔๘๙ – ๒๕๐๐)
ยุคสมัยแห่ งความเงียบ – ที่มาของวรรณกรรมน้าเน่า (พ.ศ. ๒๕๐๑ – ๒๕๐๖)
ยุคฉันจึงมาหาความหมาย-ที่มาของวรรณกรรมหนุ่มสาว(พ.ศ. ๒๕๐๗-๒๕๑๕)
ยุคประชาธิปไตยเบ่งบาน-ที่มาของวรรณกรรมเพื่อประชาชน(พ.ศ.๒๕๑๖-ปัจจุบัน)
๑.ยุคเริ่มแรก-ที่มาของวรรณกรรมแปลและแปลง
(พ.ศ. ๒๔๔๓ – ๒๔๖๙)
ช่วงปลายรัชกาลที่ 5 ต่อเนื่องกับรัชกาลที่ 6
เป็นช่วงที่เปลี่ยนจากการเขียนแนวร้อยกรองมาเป็นร้อยแก้วตามแนวอิทธิพลตะวันตก
วรรณกรรมในยุคนี้เป็นวรรณกรรมแปลและแปลงเป็นส่วนใหญ่
และเกิดนักเขียนแนวใหม่ขึ้นมา นั้นคือ แม่วัน เขียวหวาน กาญจนาคพันธ์ หลวงสารานุประพันธ์
นอกจากนั้นช่วงนี้ยังเป็นยุคเริ่มของแนวการเขียนนวนิยาย
และเรื่องสั้นอีกด้วย
๒.ยุครุ่งอรุณ – ที่มาของวรรณกรรมไทยแนวจินตนิยม
(พ.ศ. ๒๔๗๐ – ๒๔๗๕)
ในรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว ซึ่ งบ้านเมืองเราได้รับผลกระทบทางด้าน
เศรษฐกิจ นักข่าว นักหนังพิมพ์ จึงนาเสนอการแก้ปัญหาโดยการเก็บภาษี มีบทบาทในการให้
การศึกษาด้วยการนาเสนอบทความวิพากษ์วิจารณ์สภาพบ้านเมืองการปกครองแบบประชาธิปไตย
ยุคนี้ จึงเริ่ มเป็ นของคนไทยมากขึ้ น วรรณกรรมแปลและแปลงน้อยลง หนุ่มสาวหันมาสนใจ
งานเขียนมากขึ้ น กล้าแสดงความคิดเห็นมากขึ้ น นวนิยายและเรื่ องสั้ นที่คนไทยเขียนเองมากขึ้ น
เกิดนักเขียนใหม่ๆ เช่น
ดอกไม้สด หม่อมเจ้า
๓.ยุครั ฐนิยม – ที่มาของวรรณกรรมแนวก้ าวหน้ า
(พ.ศ. ๒๔๗๖ – ๒๔๘๘)
หลังการเปลี่ยนการปกครองจากระบบการปกครองสมบูรณาญาสิทธิราช
สู่ประชาธิปไตย มีผลทาให้สังคมเปลี่ยนไปจากเดิม
ยุคนี้ จึงเป็ นถือเป็ นยุคเริ่ มต้นของการแสดงความสานึกทางมนุษยธรรม
การเขียนถึงการเมืองในเชิงอุดมคติ
ใ น ข ณ ะ เ ดี ย ว กั น ก็ เ กิ ด น ว นิ ย า ย ที มี ลั ก ษ ณ ะ ยั่ ว ล้ อ ท า ง ก า ร เ มื อ ง ส มั ย รั ฐ นิ ย ม ขึ้ น
ซึ่ ง ข ณ ะ เ ดี ย ว กั น เ ป็ น ยุ ค ข อ ง ส ง ค ร า ม โ ล ก ค รั้ ง ที่ ส อ ง จึ ง เ ผ ชิ ญ กั บ ปั ญ ห า ค ว า ม อ ด อ ย า ก
ก ร ะ ด า ษ ร า ค า แ พ ง ห นั ง สื อ ขึ้ น ร า ค า ห นั ง สื อ พิ ม พ์ บ า ง เ ล่ ม จึ ง ต้ อ ง ปิ ด ตั ว ล ง แ ต่
ว ร ร ณ ค ดี ส า ร ยั ง อ อ ก ม า อ ย่ า ง ส ม่า เ ส ม อ ด้ ว ย เ ห ตุ นี้ บ ท ร้ อ ย ก ร อ ง ส่ ว น ใ ห ญ่ ใ น ส มั ย นี้
จึ ง เ ป็ น ไ ป เ พื่ อ ส่ ง เ ส ริ ม ค ว า ม มั่ น ค ง ข อ ง น โ ย บ า ย รั ฐ เ ท่ า นั้ น
๔.ยุคกบฏสันติภาพ – ที่มาของวรรณกรรมแนวเพื่อชีวิต
(พ.ศ. ๒๔๘๙ – ๒๕๐๐)
หลังการทารัฐประหารของจอมพลป. พิบูลสงครามปี 2490 รัฐธรรมนูญฉบับนี้จากัดเสรีภาพ
ให้แคบลงกว่าเดิมโดยเฉพาะเสรีภาพด้านการพูด การเขียน และการพิมพ์ นอกจากนี้
ขณะเดียวกันเมื่อปี 2495 เป็นช่วงเวลาที่นักเขียนนักหนังสือพิมพ์ ปัญญาชน
และชาวบ้านได้ร่วมใจกันนาเสื้อผ้า ยา และข้าวของที่ประชาชนร่วมกันบริจาคไปมอบ
ให้แก่ชาวอีสานที่ประสบภัยพิบัติ และเกิดการรวมกลุ่มนักหนังสือพิมพ์เพื่อเรียกร้อง
ให้รัฐบาลยกเลิกระบบเซ็นเซอร์และพระราชบัญญัติการพิมพ์ ปี พ.ศ.2548 ของกลุ่มนักเขียนต่างๆ
ทาให้นักเขียนและนักหนังสือพิมพ์หลายคนถูกจับกุมเข้าคุก กุหลาบ สายประดิษฐ์เป็นหนึ่งในนั้น
แต่ในขณะที่เข้าคุกเขาได้เขียนนวนิยายที่สะท้อนปัญหาสังคมได้อย่างชัดเจนมีลักษณะเพื่อชีวิต
ขณะเดียวกันวรรณกรรมในยุคนี้มีแนวโน้มไปในทางวรรณกรรมเพื่อชีวิต
การเปลี่ยนแปลงทางวรรณกรรมที่เห็นได้ชัดในช่วงนี้คือ แนวคิดเกี่ยวกับ "ศิลปะเพื่อชีวิต" ในปี พ.ศ. 2493
เกิดชมรมนักประพันธ์และวงการวิจารณ์ นอกจากการจัดตั้งชมชมนักประพันธ์จาทาให้นักเขียน
รับผิดชอบต่อผลงานเขียนมากขึ้นแล้วยังทาให้ นกเขียนหลายคนหันมาสร้างวรรณกรรมเพื่อชีวิต
๕.ยุคสมัยแห่งความเงียบ – ที่มาของวรรณกรรมน้าเน่า (พ.ศ. ๒๕๐๑ – ๒๕๐๖)
ยุคหลังการปฏิวัติของจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ ในปี 2501 มีผลทารับบาลใช้ มาตรการ
รุนแรงปราบปรามผู้ที่มีความคิดเห็นขัดแย้งกับรัฐบาลได้อย่างเด็ดขาดแล้วยังมีผลต่อ
วรรณกรรมการเมืองอีกด้วย โดยเฉพาะนักเขียนกลุ่มก้าวหน้า หรือกลุ่มศิลปะเพื่อชีวิตที่
เริ่มสร้ างแนวทางใหม่ๆ นอกจากเสรีภาพของนักเขียนถูกคุกคามแล้วเสรีภาพของ
หนังสือพิมพ์ยังถูกบั่นทอนอีกด้วย ด้วยเหตุนี้นักเขียนนักหนังสือพิมพ์จึงพยายาม
ระมัดระวังมิให้ข้อเขียนกระทบกระเทือนต่อรัฐบาล เพราะเป็ นการเสี่ยงต่อการ ถูกปิ ด
นักเขียนหลายท่านกล่าวว่ายุคนี้เป็ นยุคมืดทางปัญญา หรือเป็ นยุคสมัยความเงียบ ในขณะ
ที่วรรณกรรมเพื่อชีวิตต้องชะงักไป วรรณกรรมแนวเพื่อศิลปะก็กลับรุ่ งเรืองขึ้นอย่าง
รวดเร็ว โดยเฉพาะอย่างยิ่งประเภทบันเทิงคดีแนวพาฝัน
๖.ยุคฉันจึงมาหาความหมาย-ที่มาของวรรณกรรมหนุ่มสาว
(พ.ศ. ๒๕๐๗-๒๕๑๕)
ยุคนี้ เป็ นยุคที่ประชาชนนักศึกษาได้รับความกดดันจากระบบเผด็จของชนชั้น
ปกครองที่สืบเนื่องมาเป็ นเวลานาน แม้เสรีภาพจะมีไม่มาก ขณะเดียวกันนักศึกษากลุ่ม
หนึ่ งเกิดความขัดแย้งทางความคิด พร้อมกันนั้นก็เกิดความกล้าที่จะขจัดความเลวร้าย
ดังกล่าวให้หมดสิ้นไป ด้วยเหตุนี้ วิธีหนึ่ งที่นิสิตนักศึกษาสามารถใช้งานได้คือวรรณกรรม
แต่งานเขียนของนักศึกษาไม่ถูกสนใจจึงรวมกลุ่มกันทาขายกันในมหาวิทยาลัย ปี
พ.ศ.2506 มหาวิทยาลัยต่างๆรวมกลุ่มกันทาหนังสือ เจ็ดสถาบัน ตีพิมพ์เรื่องสั้ นที่มีเนื้อหา
วิจารณ์สังคม จากนั้นเกิดนักเขียนหน้าใหม่ขึ้น ยุคนี้ จึงเป็ นยุคของคนรุ่นใหม่ที่เป็ นคนหนุ่ม
สาวอย่างแท้จริง ต่อมามีอิทธิพลและบทบาทสาคัญในการปลุกสานึกและรวมพลังทางการ
เมืองให้แก่ขบวนการ 14 ตุลาคม พ.ศ.2516
๗.ยุคประชาธิปไตยเบ่งบาน-ที่มาของวรรณกรรมเพื่อประชาชน
(พ.ศ.๒๕๑๖-ปัจจุบัน)
หลังเหตุการณ์ 14 ตุลาคม 2516 เป็นยุคที่เรียกว่า ประชาธิปไตย เบ่งบาน งานสร้างสรรค์ใน
แนวทางเพื่อชีวิตได้รับความสนใจจากผู้อ่านเป็นอย่างกว้างขวาง ทั้งงานเขียนเก่า และงานเขียนใหม่
ก็ยังคงมีบรรยากาศที่ราบรื่นเหมือนเดิมความก้าวหน้าทั้งทางรูปแบบและเนื้อหาของวรรณกรรมใน
ยุคนี้จะเห็นได้ชัดในงานเขียนประเภทเรื่องสั้น ทั้งนี้คงเป็นเพราะสามารถนาเสนอแนวคิดได้
กะทัดรัดและกระจ่างชัด ตรงเป้าหมายสมบูรณ์กว่าเรื่องยาว
ประวัติความเป็นมาแต่ละยุคของวรรณคดีไทย
สมัยสุโขทัย (พ.ศ. ๑๘๐๐-๑๙๒๐)
วรรณกรรมที่มีคุณค่าทางประวัติศาสตร์ ประวัติวรรณคดี และประวัติ
ภาษาไทย คือ
ศิลาจารึกหลักที่ ๑ พ่อขุนรามคาแหง และ ไตรภูมิพระร่วง
ศิลาจารึกหลักที่ ๑ พ่อขุนรามคาแหง
รูปแบบการแต่งเป็ นร้อยแก้ว เขียนลงบนแท่งหินสี่เหลี่ยมทั้งสี่ด้าน ใช้ตัว
อักษรไทยและภาษาไทย ตามแบบอย่างการใช้ภาษา สมัยสุโขทัย เนื้อเรื่อง
แบ่งเป็ น ๓ ตอน
ตอนที่ ๑ ตั้งแต่บรรทัดที่ ๑ - ๑๘ เป็ นอัตชีวประวัติของพ่อขุนรามคาแหงมหาราชกษัตริ ย์สุโขทัย
ราชวงศ์พระร่ วง
ตอนที่ ๒ เล่าเรื่ อง เหตุการณ์ และธรรมเนียมนิยมของคนสุโขทัย การดาเนินชีวิต
การนับถือพุทธศาสนา การนับถือผี และการประดิษฐ์ตัวอักษรไทย
ตอนที่ ๓ เป็ นคาสรรเสริ ญ และยอพระเกียรติ พ่อขุนรามคาแหง
และกล่าวถึงอาณาเขตของเมืองสุโขทัย
สมัยกรุงศรีอยุธยา(พ.ศ. ๑๘๙๓-๒๓๒๕)
ช่ วงเวลาที่บ้านเมืองรุ่ งเรื องในด้านต่าง ๆพอที่จะเป็ นปัจจัยให้ เกิดวรรณคดี
อยู่เฉพาะในสมัยกรุงศรีอยุธยาในรัชกาลสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถและสมเด็จพระรามาธิบดีที่ ๒
ทางวรรณคดีปรากฏหลักฐานชัดเจนว่า แต่งมหาชาติคาหลวง เมื่อ พ .ศ.๒๐๒๕ ตรงกับ
รัชกาลสมัยสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ
ส่ วนลิลิตยวนพ่าย ก็แต่งขึ้นเพื่อเฉลิมพระเกียรติพระมหากษัตริย์พระองค์ นี้
จึงอาจแต่งในรัชกาลของพระองค์หรือภายหลังเพียงเล็กน้ อย คือ รัชกาลสมเด็จพระรามาธิบดีที่ ๒
นอกจากนี้วรรณคดีสาคัญเรื่องอื่น ๆ เช่น ลิลิตพระลอ โคลงกาสรวล
โคลงทวาทศมาศและโคลงหริภุญชัย เมื่อพิจารณาถึงลักษณะคาประพันธ์
และถ้อยคาที่ใช้ก็น่าเกิดสมัยร่วมหรือระยะเวลาใกล้เคียงกับมหาชาติคาหลวง
และลิลิตยวนพ่ายหลังจากรัชกาลสมเด็จพระรามาธิบดีที่ ๒
บ้านเมืองไม่สงบสุขเนื่องจากการทาสงครามกับข้าศึกภายนอกและแตกสามัคคีภายในเป็นเหตุ
ให้วรรณคดีว่างเว้นไปเป็นเวลาประมาณหนึ่งศตวรรษ
วรรณคดีเรื่องแรกที่ปรากฏหลักฐานหลังรัชกาลสมเด็จพระรามาธิบดีที่ ๒ คือ กาพย์มหาชาติ
ซึ่งสมเด็จพระเจ้าทรงธรรมพระราชนิพนธ์ขึ้นเมื่อ พ.ศ.๒๑๗๐ ต่อจากนั้นประมาณ ๓๐ ปี
บ้านเมืองเจริญรุ่งเรืองสามารถเป็นรากฐานให้เกิดวรรณคดีได้อีกระยะเวลาหนึ่ง
ในรัชกาลสมเด็จพระนารายณ์มหาราชและสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ
ลักษณะวรรณคดีในสมัยอยุธยาวรรณคดีสาคัญในสมัยอยุธยาตอนต้นส่วนใหญ่มีเรื่องเกี่ยวกับ
ศาสนาพิธีกรรมและพระมหากษัตริย์จึงมีเนื้อเรื่องคล้ายวรรณคดีสุโขทัยส่วนลักษณะการแตกต่างกับ
วรรณคดีสุโขทัยเป็นอย่างมากวรรณคดีในสมัยนี้แต่งด้วยร้อยกรอง ทั้งสิ้นคาประพันธ์ที่ใช้เกือบทุกชนิด
คือ โคลง ร่าย กาพย์และฉันท์ขาดแต่กลอนส่วนใหญ่แต่งเป็นลิลิต คาบาลีสันสกฤตและเขมรเข้ามาปะปน
ในคาไทยมากขึ้น
สมัยธนบุรี (พ.ศ. ๒๓๑๐ - ๒๓๒๕)
แม้พระเจ้ากรุงธนบุรี หรือสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช ทรงอุปถัมภ์กวีและวรรณคดี
นอกจากนี้ทรงพระราชนิพนธ์ บทละครเรื่องรามเกียรติ์ ๔ ตอน โดยใช้เวลาเพียง ๒ เดือนเท่านั้น
วรรณกรรมในสมัยธนบุรีหลายเรื่อง ได้สืบต่อมาจากสมัยอยุธยาและส่งต่อมายังสมัยรัตนโกสินทร์
ทั้งวรรณกรรมประเภทนิทานนิยาย วรรณกรรมยอพระเกียรติ วรรณกรรมคาสอน และวรรณกรรมการแสดง
กวีในสมัยธนบุรีที่มีผลงานสืบต่อมายัง สมัยรัตนโกสินทร์ที่สาคัญคือ หลวงสรวิชิต
หรือเจ้าพระยาพระคลัง (หน) ผลงานของท่านมีหลายเรื่อง เช่น ลิลิตเพชรมงกุฎ
ซึ่งแต่งในสมัยธนบุรี ได้เค้าเรื่องจากนิทานนิยาย
สมัยรัตนโกสินทร์ (พ.ศ. ๒๓๒๕ - ปัจจุบัน)
เมื่อบ้านเมืองรุ่งเรืองและสงบสุขอีกครั้ง กิจการด้านศิลปวัฒนธรรมก็ย่อยเจริญรุ่งเรืองตามด้วย
วรรณกรรมและวรรณคดีจานวนมากได้รีบการฟื้นฟูซึ่งที่จริงก็ได้มีการฟื้นฟูมาบ้างแล้วในสมัยกรุงธนบุรี
ครั้นถึงสมัยรัชกาลที่ ๑ ก็ได้รับการฟื้นฟูต่อไปอีกเพราะทรงเห็นว่าพระนครที่สร้างขึ้นใหม่จะขาดสิ่งสาคัญคือ
วรรณกรรมและวรรณคดีไม่ได้จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯให้ประชุมนักปราชญ์ราชบัณฑิต ทั้งพระสงฆ์
และฆราวาสช่วยกันสร้างสรรค์งานวรรณกรรมอย่างรีบด่วน ใครถนัดด้านใดก็ให้ขวนขวายทาทางนั้น
ก วีไ ท ยผู้ ที่ไ ด้ รั บก า รยก ย่ อ ง
เป็ น กวีเอก เป็ นต้ นแบบของกวีของไทย
นางนพมาศ
เป็ นกวีหญิงไทยคนแรก สมัย สุ โ ขทัย
ผู้ แ ต่ ง " คาสอ นขอ งนางนพมาศ "
แ ต่ ง ถ้ า เ ป็ น น า ง น พ ม า ศ ส มั ย สุ โ ข ทั ย ก ล่ า ว กั น
ว่ า เ ป็ น ธิ ด า พ ร ะ ศ รี ม โ ห ส ถ กั บ น า ง เ ร ว ดี บิ ด า เ ป็ น
พ ร า ห ม ณ์ ปุ โ ร หิ ต ใ น รั ช ก า ล พ ร ะ ร่ ว ง เ จ้ า ซึ่ ง
สั น นิ ษ ฐ า น ว่ า เ ป็ น พ ร ะ ม ห า ธ ร ร ม ร า ช า ลิ ไ ท ย แ ล ะ
น า ง ไ ด้ ถ ว า ย ตั ว เ ข้ า รั บ ร า ช ก า ร มี ค ว า ม ดี ค ว า ม ช อ บ
ไ ด้ รั บ ตา แ ห น่ ง เ ป็ น พ ร ะ ส น ม เ อ ก บ ร ร ด า ศั ก ดิ์ เ ป็ น ท้ า ว
ศ รี จุ ฬ า ลั ก ษ ณ์ ลั ก ษ ณ ะ ก า ร แ ต่ ง เ ป็ น ร้ อ ย แ ก้ ว บ า ง
ต อ น เ ป็ น บ ท ด อ ก ส ร้ อ ย
เนื้อความ
ก ล่ า ว ถึ ง ม นุ ษ ย ช า ติ แ ล ะ ภ า ษ า ต่ า ง ๆ กา เ นิ ด น า ง น พ ม า ศ ก า ร ถ ว า ย
ตั ว เ ข้ า รั บ ร า ช ก า ร ฝ่ า ย ใ น ก า ร ป ร ะ พ ฤ ติ ป ฏิ บั ติ ต น ใ ห้ เ ห ม า ะ ส ม เ ว ล า เ ข้ า รั บ
ร า ช ก า ร บ ร ร ย า ย คุ ณ ธ ร ร ม ค ว า ม ดี ข อ ง น า ง ส น ม พ ร้ อ ม เ ล่ า นิ ท า น สุ ภ า ษิ ต
ต่ า ง ๆ เ ป็ น อุ ท า ห ร ณ์ เ ช่ น นิ ท า น เ รื่ อ ง น า ง น ก ต้ อ ย ตี วิ ด ชี้ ใ ห้ เ ห็ น โ ท ษ ข อ ง
ก า ร โ ล เ ล นิ ท า น น า ง ช้ า ง แ ส น ง อ น ชี้ โ ท ษ ข อ ง ก า ร อิ จ ฉ า ริ ษ ย า นิ ท า น น า ง
น ก ก ร ะ เ รี ย น ค บ น า ง น ก ไ ส้ ช่ า ง ยุ ชี้ โ ท ษ ข อ ง ก า ร ค บ ค น ชั่ ว เ ป็ น มิ ต ร แ ล ะ
เ ล่ า ถึ ง พ ร ะ ร า ช พิ ธี ต่ า ง ๆ ที่ ก ร ะ ทา ใ น แ ต่ ล ะ เ ดื อ น
บทชมนางนพมาศ
พระศรีมโหสถ ยศกมลเลศครรไลหงศ์
มีธิดาประเสริฐเฉิดโฉมยง ชื่อนงค์นพมาศวิลาศลักษณ์
ละไมละม่อนพร้อมพริ้งยิ่งนารี จาเริญศรีสมบูรณ์ประยูรศักดิ์
เนื้อเหลืองเล่ห์ทองผ่องผิวพักตร์ เป็ นที่รักดังดวงจิตบิดรเอย
ประวัติ หนังสื อเรื่องนี้มีชื่อเรียกเป็ น 3 ชื่อคือ นางนพมาศ เรวดี
นพมาศ และตารับท้าวศรีจุฬาลักษณ์ เป็ นหนังสื อที่มีปัญหาเกี่ยวกับผู้แต่ง
และสมัยที่แต่ง มีนักวรรณคดีบางท่าน เช่ น พระวรเวทย์พิสิฐ กรมพระยา
ดารงราชานุภาพ ลงความเห็นว่า เรื่องนางนพมาศมีสานวนใหม่มาก น่าจะ
เขียนขึ้นภายหลังสมัยสุ โขทัย อาจใหม่แค่สมัยต้นรัตนโกสินทร์ เช่ น
กล่าวถึงฝรั่งชาติต่างๆ โดยเฉพาะฝรั่งเศส อเมริกัน ซึ่งในสมัยสุ โขทัยเรายัง
ไม่รู้ จัก และชาติอเมริกันก็เพิ่งเป็ นอิสระเมื่อ 200 ปี กว่ามานี้เอง
วรรณกรรมที่สาคัญของประเทศไทย
ว ร ร ณ ก ร ร ม ใ น ส มั ย ก รุ ง สุ โ ข ทั ย มี อ ยู่ ห ล า ย ป ร ะ เ ภ ท ส่ ว น ใ ห ญ่
อ อ ก ม า ใ น รู ป ข อ ง ก า ร ส ดุ ดี วี ร ก ร ร ม ศ า ส น า ป รั ช ญ า โ ด ย มี ว ร ร ณ ก ร ร ม
ที่ สา คั ญ ไ ด้ แ ก่
“ ไ ต ร ภู มิ พ ร ะ ร่ ว ง ”
พ ร ะ ม ห า ธ ร ร ม ร า ช า ที่ 1 ( พ ญ า ลิ ไ ท ) เ ป็ น ผู้ พ ร ะ ร า ช นิ พ น ธ์
เ มื่ อ พ . ศ . ๑ ๘ ๘ ๘ โ ด ย พ ร ะ อ ง ค์ มี พ ร ะ ร า ช ป ร ะ ส ง ค์ ใ ช้ เ ท ศ น า โ ป ร ด
พ ร ะ ร า ช ม า ร ด า แ ล ะ สั่ ง ส อ น ป ร ะ ช า ช น ข อ ง สุ โ ข ทั ย ใ ห้ บ ร ร ลุ ถึ ง นิ พ พ า น
ว ร ร ณ ก ร ร ม ไ ต ร ภู มิ พ ร ะ ร่ ว ง จ ะ บ ร ร ย า ย ถึ ง ภ า พ ข อ ง น ร ก ส ว ร ร ค์ ไ ว้
อ ย่ า ง ชั ด เ จ น โ ด ย ส อ น ใ ห้ รู้ จั ก บ า ป บุ ญ คุ ณ โ ท ษ รู้ ชั่ ว เ ก ร ง ก ลั ว ต่ อ โ ท ษ ที่
จ ะ ไ ด้ รั บ จ า ก ก า ร ทา ค ว า ม ชั่ ว
พระเจ้ามหาชนกกษัตริย์แห่งกรุงมิถิลา มีพระราชโอรสสองพระองค์ พระนามว่า อริฏฐชนก และ โปลชนก
เมื่อสวรรคตแล้ว พระอริฏชนกได้ครองราชย์สมบัติและทรงตั้งพระโปลชนกเป็นอุปราช อมาตย์ผู้ใกล้ชิด
ได้กราบทูลใส่ร้ายว่า พระอุปราชโปลชนกคิดไม่ซื่อ พระอริฏฐชนกก็หลงเชื่อ สั่งจองจาพระโปลชนก
แต่พระโปลชนกตั้งจิตอธิษฐานและหลบหนีไปได้ ภายหลังได้รวบรวมพลมาท้ารบและเอาชนะได้ในที่สุด
พระอริฏฐชนกสิ้นพระชนม์ในที่รบ พระเทวีที่กาลังทรงครรภ์จึงปลอมตัวหนีออกนอกเมือง ด้วยความช่วยเหลือของ
ท้าวสักกเทวราชจึงเสด็จหนีไปจนถึง เมืองกาลจัมปากะ ได้พราหมณ์ผู้หนึ่งอุปการะไว้ในฐานะน้องสาว
ต่อมามีพระประสูติกาล ตั้งพระนามพระโอรสตามพระอัยยิกาว่า "มหาชนก" จวบจนกระทั่งมหาชนกเติบใหญ่
และได้ทราบความจริง ก็คิดจะไปค้าขายตั้งตัว แล้วจะไปเอาราชสมบัติคืน
จึงนาสมบัติกึ่งหนึ่งของพระมารดาไปขาย แลกเป็นสินค้าออกเรือไปยังสุวรรณภูมิ
ระหว่างทางในมหาสมุทร เรือต้องพายุล่มลง ลูกเรือตายหมดยังแต่พระมหาชนกรอดผู้เดียว ทรงอดทนว่ายน้า
ในมหาสมุทรด้วยความเพียร 7 วัน 7 คืน จนได้พบนางมณีเมขลาในที่สุด
นางมณีเมขลาได้อุ้มพระมหาชนกไปส่งยังมิถิลานคร ฝ่ายมิถิลานคร
พระโปลชนกได้สวรรคตเหลือเพียงพระราชธิดานาม "สีวลีเทวี" ก่อนสวรรคตทรงตั้ง
ปริศนาเรื่องขุมทรัพย์ทั้งสิบหกไว้สาหรับผู้จะขึ้นครองราชย์ต่อไป แต่ไม่มีผู้ใดไขปริศนาได้
เหล่าอมาตย์จึงได้ประชุมกันแล้วปล่อยราชรถ ราชรถก็แล่นไปยังที่มหาชนกบรรทมอยู่ เหล่าอมาตย์จึงเชิญเสด็จขึ้น
ครองราชย์และอภิเษกกับสีวลีเทวี ทรงไขปริศนาต่างๆ ได้และทรงครองราชสมบัติโดยธรรม
วันหนึ่ง พระมหาชนก ทรงประทับบนคอช้างเพื่อทอดพระเนตรอุทยาน
ใกล้ประตูอุทยานมีมะม่วง 2 ต้น ต้นหนึ่งมีผล ต้นหนึ่งไม่มีผล ผลนั้นมีรสหวาน
เหลือเกิน พระมหาชนกทรงเก็บมาเสวยผลหนึ่ง แล้วเสด็จเข้าอุทยาน คนอื่นๆ
ตั้งแต่พระอุปราชลงมาต่างก็แย่งเก็บผลมะม่วง จนมะม่วงต้นนั้นโค่นลง
พระมหาชนกทอดพระเนตรเห็น ดังนั้น ก็เกิดความสังเวชที่คนทั้งหลายหวังแต่ประโยชน์อย่างขาดปัญญา
ราลึกได้ว่านางมณีเมขลาเคยสั่งให้พระองค์ตั้งมหาวิทยาลัย จึงได้ปรึกษากับพราหมณ์ ในที่สุดได้ตั้งมหาวิทยาลัยปูทะเลขึ้น
โดยราลึกว่าขณะที่ทรงว่ายน้าในมหาสมุทรทั้ง 7 วัน 7 คืน มีปูทะเลยักษ์มาช่วยหนุนพระบาท
อ้างอิง
วรรณกรรม วรรณคดี และวรรณศิลป์ . (2543). 21 ธันวาคม 2559 ,จาก
http://www.baanjomyut.com/library_2/literature/01.html
https://www.eduzones.com/knowledge-2-1-1852.html

More Related Content

What's hot

อิเหนา
อิเหนาอิเหนา
อิเหนา
Warodom Techasrisutee
 
สามัคคีเภทคำฉันท์Pdf
สามัคคีเภทคำฉันท์Pdfสามัคคีเภทคำฉันท์Pdf
สามัคคีเภทคำฉันท์PdfMind Candle Ka
 
คำถามพร้อมตอบ อิเหนา-ตอน-ศึกกะหมังกุหนิง
คำถามพร้อมตอบ อิเหนา-ตอน-ศึกกะหมังกุหนิงคำถามพร้อมตอบ อิเหนา-ตอน-ศึกกะหมังกุหนิง
คำถามพร้อมตอบ อิเหนา-ตอน-ศึกกะหมังกุหนิง
Wan Wan
 
ละครไทย
ละครไทยละครไทย
ละครไทย
พัน พัน
 
หน่วยที่ 2 โครงสร้างและการเรียบเรียงประโยคและการใช้สำนวนภาษา
หน่วยที่ 2  โครงสร้างและการเรียบเรียงประโยคและการใช้สำนวนภาษาหน่วยที่ 2  โครงสร้างและการเรียบเรียงประโยคและการใช้สำนวนภาษา
หน่วยที่ 2 โครงสร้างและการเรียบเรียงประโยคและการใช้สำนวนภาษาขนิษฐา ทวีศรี
 
รามเกียรติ์ ตอนนารายณ์ปราบนนทก พร้อมแบบฝึกหัด
รามเกียรติ์ ตอนนารายณ์ปราบนนทก พร้อมแบบฝึกหัดรามเกียรติ์ ตอนนารายณ์ปราบนนทก พร้อมแบบฝึกหัด
รามเกียรติ์ ตอนนารายณ์ปราบนนทก พร้อมแบบฝึกหัดMethaporn Meeyai
 
ระดับภาษา 2
ระดับภาษา 2ระดับภาษา 2
พระเวสสันดร กัณฑ์มัทรี 30 35
พระเวสสันดร กัณฑ์มัทรี 30 35พระเวสสันดร กัณฑ์มัทรี 30 35
พระเวสสันดร กัณฑ์มัทรี 30 35Milky' __
 
กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6
กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6 กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6
กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6
Bom Anuchit
 
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)
sudoooooo
 
ที่มาและความสำคัญของโครงงาน
ที่มาและความสำคัญของโครงงานที่มาและความสำคัญของโครงงาน
ที่มาและความสำคัญของโครงงาน
Phongsak Kongkham
 
สารคดีท่องเที่ยว แอ่วเหนือเมื่อหน้าหนาว
สารคดีท่องเที่ยว   แอ่วเหนือเมื่อหน้าหนาวสารคดีท่องเที่ยว   แอ่วเหนือเมื่อหน้าหนาว
สารคดีท่องเที่ยว แอ่วเหนือเมื่อหน้าหนาวwaraporny
 
โวหารภาพพจน์
โวหารภาพพจน์โวหารภาพพจน์
โวหารภาพพจน์Rodchana Pattha
 
นิราศนรินทร์คำโคลง
นิราศนรินทร์คำโคลงนิราศนรินทร์คำโคลง
นิราศนรินทร์คำโคลง
Surapong Klamboot
 

What's hot (20)

สารบัญ.
สารบัญ.สารบัญ.
สารบัญ.
 
คำนำ
คำนำคำนำ
คำนำ
 
อิเหนา
อิเหนาอิเหนา
อิเหนา
 
สามัคคีเภทคำฉันท์Pdf
สามัคคีเภทคำฉันท์Pdfสามัคคีเภทคำฉันท์Pdf
สามัคคีเภทคำฉันท์Pdf
 
คำถามพร้อมตอบ อิเหนา-ตอน-ศึกกะหมังกุหนิง
คำถามพร้อมตอบ อิเหนา-ตอน-ศึกกะหมังกุหนิงคำถามพร้อมตอบ อิเหนา-ตอน-ศึกกะหมังกุหนิง
คำถามพร้อมตอบ อิเหนา-ตอน-ศึกกะหมังกุหนิง
 
ละครไทย
ละครไทยละครไทย
ละครไทย
 
หน่วยที่ 2 โครงสร้างและการเรียบเรียงประโยคและการใช้สำนวนภาษา
หน่วยที่ 2  โครงสร้างและการเรียบเรียงประโยคและการใช้สำนวนภาษาหน่วยที่ 2  โครงสร้างและการเรียบเรียงประโยคและการใช้สำนวนภาษา
หน่วยที่ 2 โครงสร้างและการเรียบเรียงประโยคและการใช้สำนวนภาษา
 
รามเกียรติ์ ตอนนารายณ์ปราบนนทก พร้อมแบบฝึกหัด
รามเกียรติ์ ตอนนารายณ์ปราบนนทก พร้อมแบบฝึกหัดรามเกียรติ์ ตอนนารายณ์ปราบนนทก พร้อมแบบฝึกหัด
รามเกียรติ์ ตอนนารายณ์ปราบนนทก พร้อมแบบฝึกหัด
 
ระดับภาษา 2
ระดับภาษา 2ระดับภาษา 2
ระดับภาษา 2
 
หน้าปก
หน้าปกหน้าปก
หน้าปก
 
พระเวสสันดร กัณฑ์มัทรี 30 35
พระเวสสันดร กัณฑ์มัทรี 30 35พระเวสสันดร กัณฑ์มัทรี 30 35
พระเวสสันดร กัณฑ์มัทรี 30 35
 
สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์
 
กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6
กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6 กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6
กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6
 
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)
 
ที่มาและความสำคัญของโครงงาน
ที่มาและความสำคัญของโครงงานที่มาและความสำคัญของโครงงาน
ที่มาและความสำคัญของโครงงาน
 
แบบฝึกหัด
แบบฝึกหัดแบบฝึกหัด
แบบฝึกหัด
 
สารคดีท่องเที่ยว แอ่วเหนือเมื่อหน้าหนาว
สารคดีท่องเที่ยว   แอ่วเหนือเมื่อหน้าหนาวสารคดีท่องเที่ยว   แอ่วเหนือเมื่อหน้าหนาว
สารคดีท่องเที่ยว แอ่วเหนือเมื่อหน้าหนาว
 
โวหารภาพพจน์
โวหารภาพพจน์โวหารภาพพจน์
โวหารภาพพจน์
 
ปก
ปกปก
ปก
 
นิราศนรินทร์คำโคลง
นิราศนรินทร์คำโคลงนิราศนรินทร์คำโคลง
นิราศนรินทร์คำโคลง
 

Similar to วรรณคดีและวรรณกรรม

วรรณคดีและวรรณกรรม ความหมาย
วรรณคดีและวรรณกรรม ความหมายวรรณคดีและวรรณกรรม ความหมาย
วรรณคดีและวรรณกรรม ความหมายchontee55
 
วรรณกรรมท้องถิ่น ภูมิหลัง
วรรณกรรมท้องถิ่น  ภูมิหลังวรรณกรรมท้องถิ่น  ภูมิหลัง
วรรณกรรมท้องถิ่น ภูมิหลังchontee55
 
ประวัติของวรรณคดี
ประวัติของวรรณคดีประวัติของวรรณคดี
ประวัติของวรรณคดี
Ruangrat Watthanasaowalak
 
ตำนานเทพและกำเนิดประเทศญี่ปุ่น Japan
ตำนานเทพและกำเนิดประเทศญี่ปุ่น Japanตำนานเทพและกำเนิดประเทศญี่ปุ่น Japan
ตำนานเทพและกำเนิดประเทศญี่ปุ่น Japan
CUPress
 
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทานโครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทานRawinnipha Joy
 
Editorstart
EditorstartEditorstart
Japan
JapanJapan
Japan
Tor Jt
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์Prom Pan Pluemsati
 
วรรณคดีไทยกับบริบททางสังคม
วรรณคดีไทยกับบริบททางสังคมวรรณคดีไทยกับบริบททางสังคม
วรรณคดีไทยกับบริบททางสังคมmayavee16
 
รายงานการวิจัยเรื่อง การเปรียบเทียบองค์ประกอบและภาพสะท้อนทางสังคมเพื่อศึกษากา...
รายงานการวิจัยเรื่อง การเปรียบเทียบองค์ประกอบและภาพสะท้อนทางสังคมเพื่อศึกษากา...รายงานการวิจัยเรื่อง การเปรียบเทียบองค์ประกอบและภาพสะท้อนทางสังคมเพื่อศึกษากา...
รายงานการวิจัยเรื่อง การเปรียบเทียบองค์ประกอบและภาพสะท้อนทางสังคมเพื่อศึกษากา...
Kun Cool Look Natt
 
ภาษากับการสื่อสารในยุคปัจจุบัน 3
ภาษากับการสื่อสารในยุคปัจจุบัน 3ภาษากับการสื่อสารในยุคปัจจุบัน 3
ภาษากับการสื่อสารในยุคปัจจุบัน 3Yota Bhikkhu
 
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต) ธรรมนูญชีวิต
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต)   ธรรมนูญชีวิตพระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต)   ธรรมนูญชีวิต
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต) ธรรมนูญชีวิตTongsamut vorasan
 
จารึกอักษรบนกระดองเต่า
จารึกอักษรบนกระดองเต่าจารึกอักษรบนกระดองเต่า
จารึกอักษรบนกระดองเต่าSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
บันทึกโลกาภิวัฒน์ เรียนรู้โลก-เพื่อรู้จักตัวเอง-และเตรียมรับวิกฤติ
บันทึกโลกาภิวัฒน์ เรียนรู้โลก-เพื่อรู้จักตัวเอง-และเตรียมรับวิกฤติบันทึกโลกาภิวัฒน์ เรียนรู้โลก-เพื่อรู้จักตัวเอง-และเตรียมรับวิกฤติ
บันทึกโลกาภิวัฒน์ เรียนรู้โลก-เพื่อรู้จักตัวเอง-และเตรียมรับวิกฤติJunya Yimprasert
 
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับวรรณกรรม
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับวรรณกรรมความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับวรรณกรรม
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับวรรณกรรม
Watcharapol Wiboolyasarin
 

Similar to วรรณคดีและวรรณกรรม (20)

วรรณคดีและวรรณกรรม ความหมาย
วรรณคดีและวรรณกรรม ความหมายวรรณคดีและวรรณกรรม ความหมาย
วรรณคดีและวรรณกรรม ความหมาย
 
วรรณกรรมท้องถิ่น ภูมิหลัง
วรรณกรรมท้องถิ่น  ภูมิหลังวรรณกรรมท้องถิ่น  ภูมิหลัง
วรรณกรรมท้องถิ่น ภูมิหลัง
 
ประวัติของวรรณคดี
ประวัติของวรรณคดีประวัติของวรรณคดี
ประวัติของวรรณคดี
 
ตำนานเทพและกำเนิดประเทศญี่ปุ่น Japan
ตำนานเทพและกำเนิดประเทศญี่ปุ่น Japanตำนานเทพและกำเนิดประเทศญี่ปุ่น Japan
ตำนานเทพและกำเนิดประเทศญี่ปุ่น Japan
 
การอ่านวรรณคดี ม.๕[1]
การอ่านวรรณคดี ม.๕[1]การอ่านวรรณคดี ม.๕[1]
การอ่านวรรณคดี ม.๕[1]
 
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทานโครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
 
Nuntanakan2
Nuntanakan2Nuntanakan2
Nuntanakan2
 
Nuntanakan2
Nuntanakan2Nuntanakan2
Nuntanakan2
 
Editorstart
EditorstartEditorstart
Editorstart
 
Japan
JapanJapan
Japan
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
วรรณคดีไทยกับบริบททางสังคม
วรรณคดีไทยกับบริบททางสังคมวรรณคดีไทยกับบริบททางสังคม
วรรณคดีไทยกับบริบททางสังคม
 
รายงานการวิจัยเรื่อง การเปรียบเทียบองค์ประกอบและภาพสะท้อนทางสังคมเพื่อศึกษากา...
รายงานการวิจัยเรื่อง การเปรียบเทียบองค์ประกอบและภาพสะท้อนทางสังคมเพื่อศึกษากา...รายงานการวิจัยเรื่อง การเปรียบเทียบองค์ประกอบและภาพสะท้อนทางสังคมเพื่อศึกษากา...
รายงานการวิจัยเรื่อง การเปรียบเทียบองค์ประกอบและภาพสะท้อนทางสังคมเพื่อศึกษากา...
 
Ppt1
Ppt1Ppt1
Ppt1
 
ภาษากับการสื่อสารในยุคปัจจุบัน 3
ภาษากับการสื่อสารในยุคปัจจุบัน 3ภาษากับการสื่อสารในยุคปัจจุบัน 3
ภาษากับการสื่อสารในยุคปัจจุบัน 3
 
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต) ธรรมนูญชีวิต
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต)   ธรรมนูญชีวิตพระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต)   ธรรมนูญชีวิต
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต) ธรรมนูญชีวิต
 
จารึกอักษรบนกระดองเต่า
จารึกอักษรบนกระดองเต่าจารึกอักษรบนกระดองเต่า
จารึกอักษรบนกระดองเต่า
 
บันทึกโลกาภิวัฒน์ เรียนรู้โลก-เพื่อรู้จักตัวเอง-และเตรียมรับวิกฤติ
บันทึกโลกาภิวัฒน์ เรียนรู้โลก-เพื่อรู้จักตัวเอง-และเตรียมรับวิกฤติบันทึกโลกาภิวัฒน์ เรียนรู้โลก-เพื่อรู้จักตัวเอง-และเตรียมรับวิกฤติ
บันทึกโลกาภิวัฒน์ เรียนรู้โลก-เพื่อรู้จักตัวเอง-และเตรียมรับวิกฤติ
 
กุหลาบ สายประดิษฐ์
กุหลาบ สายประดิษฐ์กุหลาบ สายประดิษฐ์
กุหลาบ สายประดิษฐ์
 
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับวรรณกรรม
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับวรรณกรรมความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับวรรณกรรม
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับวรรณกรรม
 

More from Aor's Sometime

เฉลยบัญชีกลาง2 หุ้นส่วนสมบัติ สมพงษ์และสมศรี
เฉลยบัญชีกลาง2 หุ้นส่วนสมบัติ สมพงษ์และสมศรีเฉลยบัญชีกลาง2 หุ้นส่วนสมบัติ สมพงษ์และสมศรี
เฉลยบัญชีกลาง2 หุ้นส่วนสมบัติ สมพงษ์และสมศรี
Aor's Sometime
 
เฉลยบัญชีกลาง2 ห้างหุ้นส่วน ทวีตรีคูณ
เฉลยบัญชีกลาง2 ห้างหุ้นส่วน ทวีตรีคูณ เฉลยบัญชีกลาง2 ห้างหุ้นส่วน ทวีตรีคูณ
เฉลยบัญชีกลาง2 ห้างหุ้นส่วน ทวีตรีคูณ
Aor's Sometime
 
เฉลยบัญชีกลาง2 บริษัท เอ.อา.ดี จำกัด
เฉลยบัญชีกลาง2 บริษัท เอ.อา.ดี จำกัด เฉลยบัญชีกลาง2 บริษัท เอ.อา.ดี จำกัด
เฉลยบัญชีกลาง2 บริษัท เอ.อา.ดี จำกัด
Aor's Sometime
 
เฉลยบัญชีกลาง2 บริษัทเอบีโพนจำกัด
เฉลยบัญชีกลาง2 บริษัทเอบีโพนจำกัดเฉลยบัญชีกลาง2 บริษัทเอบีโพนจำกัด
เฉลยบัญชีกลาง2 บริษัทเอบีโพนจำกัด
Aor's Sometime
 
การจัดองค์กร organizing
การจัดองค์กร organizing  การจัดองค์กร organizing
การจัดองค์กร organizing
Aor's Sometime
 

More from Aor's Sometime (6)

เฉลยบัญชีกลาง2 หุ้นส่วนสมบัติ สมพงษ์และสมศรี
เฉลยบัญชีกลาง2 หุ้นส่วนสมบัติ สมพงษ์และสมศรีเฉลยบัญชีกลาง2 หุ้นส่วนสมบัติ สมพงษ์และสมศรี
เฉลยบัญชีกลาง2 หุ้นส่วนสมบัติ สมพงษ์และสมศรี
 
เฉลยบัญชีกลาง2 ห้างหุ้นส่วน ทวีตรีคูณ
เฉลยบัญชีกลาง2 ห้างหุ้นส่วน ทวีตรีคูณ เฉลยบัญชีกลาง2 ห้างหุ้นส่วน ทวีตรีคูณ
เฉลยบัญชีกลาง2 ห้างหุ้นส่วน ทวีตรีคูณ
 
เฉลยบัญชีกลาง2 บริษัท เอ.อา.ดี จำกัด
เฉลยบัญชีกลาง2 บริษัท เอ.อา.ดี จำกัด เฉลยบัญชีกลาง2 บริษัท เอ.อา.ดี จำกัด
เฉลยบัญชีกลาง2 บริษัท เอ.อา.ดี จำกัด
 
เฉลยบัญชีกลาง2 บริษัทเอบีโพนจำกัด
เฉลยบัญชีกลาง2 บริษัทเอบีโพนจำกัดเฉลยบัญชีกลาง2 บริษัทเอบีโพนจำกัด
เฉลยบัญชีกลาง2 บริษัทเอบีโพนจำกัด
 
การจัดองค์กร organizing
การจัดองค์กร organizing  การจัดองค์กร organizing
การจัดองค์กร organizing
 
5ส
5ส5ส
5ส
 

วรรณคดีและวรรณกรรม