SlideShare a Scribd company logo
1 of 49
Download to read offline
โครงการ
เรื่อง จิตอาสาพัฒนาวัดบ้านเรา
จัดทําโดย
1. นายจิตติ ทุมเชียงลา เลขที่ 1
2. นางสาวไอรินทร์ นิธิภัทร์พรปัญญา เลขที่ 14
3. นางสาวปณิดา ธนกิจ เลขที่ 15
4. นางสาวลาภิศ อุทาทิพย์ เลขที่ 18
5. นางสาวสุปราณี บุญมี เลขที่ 19
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/1
เสนอ
คุณครูทรงศักดิ์ โพธิ์เอี่ยม
รายวิชา I30903 IS3 โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์กาญจนบุรี ในพระ
ราชูปถัมภ์สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาสยามบรมราชกุมารี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2558
ก
คํานํา
โครงการนี้ส่วนหนึ่งของรายวิชา IS3 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่6เพื่อช่วยทาให้วัดมีความสะอาด
สวยงาม น่าเข้ามาทาบุญ และ ได้จัดทาโครงการ ที่เป็นประโยชน์ต่อสังคม โดย ทากิจกรรม
ผ่านกิจกรรมจิตอาสา เพื่อให้นักเรียนมีคุณธรรม และ สามารถดารงชีวิตอยู่ในสังคมอยู่ได้โดย
สงบสุข ทั้งนี้ในรายงานนี้มีเนื้อหาประกอบด้วยการดาเนินกิจกรรมจิตอาสาในโครงการจิตอาสา
พัฒนาวัดบ้านเรา ผู้จัดทา ได้เลือกหัวข้อนี้ ในการทากิจกรรมจิตอาสา เนื่องมาจากเป็นเรื่องที่
น่าสนใจ ในการที่จะช่วยเหลือสังคม
คณะผู้จัดทา
ข
กิตติกรรมประกาศ
โครงการนี้ส่วนหนึ่งของรายวิชา IS3 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่6เพื่อช่วยทาให้วัดมีความสะอาด
สวยงาม น่าเข้ามาทาบุญ และ ได้จัดทาโครงการ ที่เป็นประโยชน์ต่อสังคม โดย ทากิจกรรม
ผ่านกิจกรรมจิตอาสา เพื่อให้นักเรียนมีคุณธรรม และ สามารถดารงชีวิตอยู่ในสังคมอยู่ได้โดย
สงบสุข ทั้งนี้ ในรายงานนี้มีเนื้อหาประกอบด้วย การดาเนินกิจกรรมจิตอาสาใน โครงการจิต
อาสาพัฒนาวัดบ้านเรา ผู้จัดทาได้เลือกหัวข้อนี้ ในการทากิจกรรมจิตอาสา เนื่องมาจากเป็นเรื่อง
ที่น่าสนใจ ในการที่จะช่วยเหลือสังคม
ผู้จัดทาต้องขอขอบคุณคุณครูทรงศักดิ์ โพธิ์เอี่ยม ผู้ให้ความรู้ และ แนวทางการศึกษา
คุณเดชชนะ สัมมาทิตฐิ ที่ให้ความช่วยเหลือในเรื่องการเดินทางไป-กลับ ระหว่างห้วย
สะพานและวัดบ้านหลุมหิน
คุณปาลีรัตน์ นิธิภัทร์พรปัญญา ที่ให้ความช่วยเหลือ ในเรื่องของการทาความสะอาด
บริเวณศาลาวัด
และขอขอบคุณคุณเสวย สัมมาทิตฐิ ที่ให้ความอนุเคราะห์ในด้านอุปกรณ์การทาความสะอาด
หวังว่ารายงานฉบับนี้จะให้ความรู้ และ เป็นประโยชน์แก่ผู้อ่านทุก ๆ ท่าน หากมี
ข้อเสนอแนะประการใด ผู้จัดทาขอรับไว้ด้วยความขอบพระคุณยิ่ง และ หากมีข้อข้อผิดพลาด
ประการใดผู้จัดทาขออภัยมา ณ ที่นี้ ด้วย
คณะผู้จัดทา
ค
บทคัดย่อ
เรื่อง จิตอาสาพัฒนาวัดบ้านเรา
กลุ่มสาระการเรียนรู้ IS3
ผู้จัดทํา
นายจิตติ ทุมเชียงลา
นางสาวไอรินทร์ นิธิภัทร์พรปัญญา
นางสาวปณิดา ธนกิจ
นางสาวลาภิศ อุทาทิพย์
นางสาวสุปราณี บุญมี
ครูที่ปรึกษา
ครูทรงศักดิ์ โพธิ์เอี่ยม
สถานศึกษา
โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์ กาญจนบุรี
ปีการศึกษา 2558
สารบัญ
เรื่อง หน้า
คานา.......................................................................................................................................... ก
กิตติกรรมประกาศ.....................................................................................................................ข
บทคัดย่อ....................................................................................................................................ค
บทที่ 1บทนา...............................................................................................................................1
หลักการและเหตุผล ................................................................................................................1
การบูรณาการกับปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง.............................................................................1
วัตถุประสงค์ของโครงการ......................................................................................................1
สถานที่ดาเนินการ...................................................................................................................2
ขั้นตอนการดาเนินงาน............................................................................................................2
ระยะเวลาดาเนินงาน...............................................................................................................2
ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ.....................................................................................................2
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง..........................................................................................................3
จิตอาสา...................................................................................................................................3
วัด...........................................................................................................................................4
ข้อควรปฏิบัติในการไปวัดไทย...............................................................................................5
ความสาคัญของพระพุทธศาสนาต่อสังคมไทย........................................................................5
บทที่ 3 วิธีการดาเนินงาน.........................................................................................................14
วัสดุอุปกรณ์..........................................................................................................................14
วิธีการดาเนินงาน..................................................................................................................15
บทที่ 4 ผลการดาเนินงาน..........................................................................................................18
บทที่ 5 สรุปผลและอภิปราย.....................................................................................................19
อภิปรายผลการดาเนินงาน.....................................................................................................19
ข้อเสนอแนะ.........................................................................................................................19
บรรณานุกรม..............................................................................................................................ง
ภาคผนวก...................................................................................................................................จ
สารบัญรูปภาพ
รูปภาพ หน้า
3.1 เดินเข้าไปที่วัดห้วยสะพาน………………………….………...…………………...……15
3.2 เดินเข้าไปที่วัดห้วยสะพาน………………….………………...……………….….……15
3.3 น้ามารับไปวัดบ้านหลุมหิน…………...…………………………………….…….……15
3.4 เดินทางไปวัดบ้านหลุมหิน………………………………….……………………. ..…16
.3.5 เริ่มทาความสะอาด…………………………………………………….………………16
3.6 เริ่มทาความสะอาด…………………………………………………….……….………16
3.7 เริ่มทาความสะอาด…………………………………………………….……….………16
3.8 เดินทางกลับบ้าน………………………..………………………………….…………..17
3.9 จัดทาเว็บไซต์…………………………………………………………………………..17
1
บทที่ 1บทนํา
หลักการและเหตุผล
การฝึกเข้าวัดทาบุญ ช่วยกิจกรรมสาธารณะ ถึงแม้จะไม่การทากิจกรรมเพื่อนามาทา
โครงงาน แต่เป็นกิจกรรมที่ทาได้ในทุกวัน ปัจจุบันวัยรุ่นไทยไม่ใส่ใจที่จะอนุรักษ์วัฒนธรรม
ไทยอันดีงาม การช่วยปลูกฝั่งสิ่งนี้จึงเป็นสิ่งที่ดี และสมควรทาเพื่อนรักษาวัฒนธรรมประเทศ
ของเรา
คณะผู้จัดทาเล็งเห็นความสาคัญ จึงอยากมีส่วนช่วยในการสร้างจิตสานึกเพื่อสังคมที่ดี จึง
ได้จัดทาโครงการขึ้น ถึงจะเป็นส่วนเล็กๆที่ได้มีส่วนในการทาสิ่งดีๆเพื่อสังคม แต่ในอนาคตถ้า
มีบุคคล หรือ ผู้สนใจมาสานต่อ ก็จะเป็นการช่วยกันสืบสานวัฒนธรรมที่ดีงามและได้บุญด้วย
การบูรณาการกับปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
1. ความพอประมาน ใช้อุปกรณ์ทาความสะอาดที่มีในบ้าน
2. ความมีเหตุผล เลือกวัดที่จะไปบาเพ็ญประโยชน์
3. การทีภูมิคุ้มกันที่ดี ทาให้ที่วัดมีความสะอาดน่าเข้า ประชาชนละแวกใกล้ๆ
จะได้เข้ามาทาบุญเยอะๆ
เงื่อนไข
1. เงื่อนไขความรู้ รับรู้ถึงปัญหาความสกปรกภายในวัด
2. เงื่อนไขคุณธรรม เป็นการทาความสะอาดให้ปราศจากเชื้อโรค
วัตถุประสงค์ของโครงการ
1. เพื่อช่วยทาให้วัดมีความสะอาดสวยงาม น่าเข้ามาทาบุญ
2. เพื่อให้ช่วยกันรักษาความสะอาดภายในวัด
2
สถานที่ดําเนินการ
วัดบ้านหลุมหิน ตาบลบ้านหลุมหิน อาเภอพนมทวน จังหวัดกาญจนบุรี
ขั้นตอนการดําเนินงาน
1. สมาชิกกลุ่มประชุมวางแผนการทาโครงการ
2. หาข้อมูลเกี่ยวกับสถานที่วัดที่จะไปทากิจกรรม
3. นัดแนะสถานที่และวันเวลาที่จะไปทากิจกรรม
4. จัดหาอุปกรณ์ทาความสะอาด
5. ไปทากิจกรรมสาธารณะประโยชน์ที่วัดบ้านหลุมหิน อ.พนมทวน
6. สรุปโครงการ
7. จัดทาเว็บไซต์เผยแพร่โครงการ
ระยะเวลาดําเนินงาน
วันที่19 กันยายน พ.ศ. 2558
ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
1. วัดมีความสะอาดสวยงาม น่าเข้ามาทาบุญ
2. ทุกคนได้รับรู้โครงการนี้
3
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
จิตอาสา หรือ จิตสาธารณะ ( public consciousness หรือ Public mind) หมายถึง
จิตสานึกเพื่อส่วนรวม เพราะคาว่า “สาธารณะ” คือ สิ่งที่มิได้เป็นของผู้หนึ่งผู้ใด จิตสาธารณะ
จึงเป็นความรู้สึก ถึงการเป็นเจ้าของ ในสิ่งที่เป็นสาธารณะในสิทธิ และหน้าที่ที่จะดูแล และ
บารุง รักษาร่วมกัน
จิตอาสา หรือ มีจิตสาธารณะ ยั ง หมายรวมถึง จิตของคนที่รู้จักความเสียสละ
ความร่วมมือ ร่วมใจ ใ นการทาประโยชน์ เพื่อส่วนรวม จะช่วยลดปัญหาที่เกิดขึ้นในสังคม
ช่วยกันพัฒนาคุณภาพชีวิต เพื่อเป็นหลักการในการดาเนินชีวิต ช่วยแก้ปัญหาและสร้างสรรค์
ให้เกิดประโยชน์สุขแก่สังคม เช่น การช่วยกันดูแลรักษาสิ่งแวดล้อม โดยการไม่ทิ้งขยะลงใน
แหล่งน้า การดูแลรักษาสาธารณสมบัติ เช่น โทรศัพท์สาธารณะ หลอดไฟฟ้าที่ให้ความสว่าง
ตามถนนหนทาง แม้แต่การประหยัดน้า ประปา หรือไฟฟ้า ที่เป็นของส่วนรวม โดยใช้ให้เกิด
ประโยชน์อย่างคุ้มค่า ตลอดจนช่วยกันดูแลรักษา ให้ความช่วยเหลือผู้ตกทุกข์ได้ยาก หรือผู้ที่
ร้องขอความช่วยเหลือเท่าที่จะทาได้ ตลอดจนร่วมมือกระทาเพื่อไม่ให้เกิดปัญหา หรือช่วยกัน
แก้ปัญหา แต่ต้องไม่ขัดต่อกฎหมาย เพื่อรักษาประโยชน์ส่วนรวม
ราชบัณฑิตยสถาน ด้ให้ความหมายของ จิตสานึกทางสังคมหรือจิตสานึกสาธารณะ
ว่า คือ การตระหนักรู้ และ คานึงถึงส่วนรวมร่วมกัน หรือการคานึงถึงผู้อื่นที่ร่วมสัมพันธ์เป็น
กลุ่มเดียวกัน
สานักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติได้ให้ความหมายว่า การรู้จักเอาใจใส เป็นธุระ
และเข้าร่วมในเรื่องของส่วนรวมที่เป็นประโยชน์ต่อ ประเทศชาติ มี ความสานึก และยึดมั่นใน
ระบบคุณธรรม และจริยธรรมที่ดีงาม ละอายต่อสิ่งผิด เน้นความเรียบร้อย ประหยัดและมีความ
สมดุลระหว่างมนุษย์กับธรรมชาติ
4
สรุป จิตอาสา หรือจิตสาธารณะ หรือจิตสานึกสาธารณะ คือ จิตสานึก (Conscious)
เป็นการตระหนักรู้ตัว หรือเป็นจิตส่วนที่รู้ตัว รู้ว่าทาอะไร อยู่ที่ไหน เป็นอย่างไร ขณะที่ตื่นอยู่
นั่นเอง
ส่วน คาว่า สาธารณะ ( Public ) เป็นการแสดงออกเพื่อสังคมส่วนรวม เป็นการ
บริการชุมชน ทาประโยชน์เพื่อสังคม ถ้าเป็นสิ่งของก็ต้องใช้ประโยชน์ร่วมกัน เมื่อนาสองคามา
รวม หมายถึง การตระหนักรู้ตน ที่จะทาสิ่งใดเพื่อเห็นแก่ประโยชน์ส่วนรวม
วัด คือคาเรียก สถานที่สาหรับประกอบกิจกรรมทางศาสนาของ ผู้ที่นับถือศาสนาพุทธ
ในประเทศไทย ,กัมพูชา และลาว ภายในวัดจะมี กุฏิ ซึ่งใช้เป็นเป็นที่อาศัยของนักบวชในศาสนา
พุทธ ซึ่งก็ คือ พระสงฆ์ อีกทั้งยังมีเจดีย์ พระอุโบสถ ศาลาการเปรียญ เมรุ ซึ่งใช้สาหรับ
ประกอบศาสนพิธีต่างๆ เช่น การเวียนเทียน การสวดมนต์ การทาสมาธิ
วัดโดยส่วนใหญ่นิยมแบ่งเขตภายในวัดออกเป็นสองส่วนคือ พุทธาวาส และสังฆาวาส
โดยส่วนพุทธาวาส จะเป็นที่ตั้งของ สถูปเจดีย์ อุโบสถ สถานที่ ประกอบกิจกรรมทาง
พระพุทธศาสนา และ ส่วนสังฆาวาส จะเป็นส่วนกุฎิสงฆ์ สาหรับพระภิกษุสงฆ์ สามเณร จา
พรรษา และในปัจจุบันแทบทุกวัดจะเพิ่มส่วนฌาปนสถานเข้าไปด้วย เพื่อประโยชน์ในด้านการ
ประกอบพิธีทางศาสนาของชุมชน เช่น การฌาปนกิจศพ โดยในอดีตส่วนนี้จะเป็นป่าช้า ซึ่ง
อยู่ติดหรือใกล้วัด ตามธรรมเนียมของแต่ละท้องถิ่น ซึ่งส่วนใหญ่กลุ่มฌาปนสถานในวัดพุทธ
ศาสนาในประเทศไทยจะตั้งอยู่บนพื้นที่ ๆ เป็นป่าช้าเดิม
ปัจจุบัน วัดไทยในชนบทยังคงเป็นศูนย์รวมของคนในชุมชน ซึ่งต่างจากในเมืองใหญ่ที่
วัดกลายเป็นเพียงสถานที่จาพรรษาของพระสงฆ์และเพื่อประกอบพิธีทางศาสนาเท่านั้น
พระอารามหลวง วัดในประเทศไทยแบ่ง ได้เป็นสองประเภทใหญ่ ได้แก่ พระอาราม
หลวง หรือ วัดหลวง คือ วัดที่พระเจ้าแผ่นดินทรงสร้าง หรือ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้เข้า
จานวนในบัญชีเป็นพระอารามหลวง และ วัดราษฎร์ คือวัดที่ได้รับพระราชทานที่วิสุงคามสีมา
5
แต่มิได้เข้าบัญชีเป็นพระอารามหลวง หรือ วัดที่พุทธศาสนิกร่วมใจบริจาคทรัพย์และที่ดิน
ถวายเป็นสังฆาราม
การจัดลาดับชั้นของพระอารามหลวงมีดังต่อไปนี้
1 พระอารามหลวงชั้นเอก มีสามชนิด ได้แก่ ราชวรมหาวิหาร ราชวรวิหาร และ
วรมหาวิหาร
2. พระอารามหลวงชั้นโท มีสี่ชนิด ได้แก่ ราชวรมหาวิหาร ราชวรวิหาร วรมหาวิหาร
และวรวิหาร
3. พระอารามหลวงชั้นตรี มีสามชนิด ได้แก่ ราชวรวิหาร วรวิหาร และสามัญ (ไม่มี
สร้อยต่อท้าย)
ข้อควรปฏิบัติในการไปวัดไทย
ควรแต่งกายให้สุภาพเรียบร้อยและสาหรับการเตรียมอาหารไปถวายพระภิกษุ ต้องเป็น
อาหารที่สุกแล้ว หรือ จาพวกผลไม้ อย่าถวายอาหารที่ สุก ๆ ดิบ ๆ และ ควรระมัดระวัง
เนื้อสัตว์ต้องห้าม เช่น เนื้อมนุษย์ เนื้อช้าง เนื้อม้า เนื้อสุนัข เนื้อราชสีห์ เนื้องู เนื้อเสือโคร่ง
เนื้อเสือเหลือง เนื้อเสือดาว เนื้อหมี ไปถวายพระภิกษุ เพราะเป็นเนื้อต้องห้ามสาหรับพระภิกษุ
และสุดท้าย ไม่ควรนาเด็กอ่อนไปวัดด้วย เพราะเด็กอาจจะร้องไห้สร้างความราคาญแก่ผู้อื่นได้
ความสําคัญของพระพุทธศาสนาต่อสังคมไทย มีดังนี้
1. พระพุทธศาสนาเป็นศาสนาที่ชาวไทยส่วนใหญ่นับถือ ประชากรส่วนใหญ่ของ
ประเทศ ร้อยละ 95 นับถือพระพุทธศาสนาสืบต่อมาจากบรรพบุรุษไทย นับตั้งแต่ไทยมี
ประวัติศาสตร์ชัดเจน ชาวไทยก็นับถือ พระพุทธศาสนาอยู่แล้ว หลักฐานโบราณ ได้แก่
โบราณสถาน ที่เป็นศาสนสถาน โบราณวัตถุ เช่น พระธรรมจักร ใบเสมา พระพุทธรูป
ศิลาจารึก เป็นต้น แสดงว่าผู้คนในดินแดนไทยรับนับถือพระพุทธศาสนา (ทั้งนิกายเถรวาท
6
และมหายาน ) มาตั้งแต่ พุทธศตวรรษที่ 12 กล่าวได้ว่ า พระพุทธศาสนา เป็นศาสนา
ประจา ชาติไทยมาช้านานแล้ว
2. พระพุทธศาสนาเป็นรากฐานสาคัญของวัฒนธรรมไทย เนื่องจากชาวไทยนับถือ
พระพุทธศาสนา มาช้านา จนหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ได้หล่อหลอม ซึมซับ ลงใน
วิถีไทย กลายเป็น รากฐานวิถีชีวิตของ คนไทยในทุกด้าน ทั้งด้านวิถีชีวิต ความเป็นอยู่
ภาษา ขนบธรรมเนียมประเพณีและศีลธรรม ดังนี้
1) วิถีชีวิตของคนไทย คนไทยมีวิถีการดาเนินชีวิตที่เป็นเอกลักษณ์ ได้แก่ การ
แสดงความเคารพ การมีน้าใจเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ ความกตัญญูกตเวที การไม่อาฆาตหรือมุ่ง
ร้ายต่อผู้อื่น ความอดทน และ การเป็นผู้มีอารมณ์แจ่มใส รื่นเริง เป็นต้น ล้วนเป็น
อิทธิพลจาก หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ทั้งสิ้น ซึ่งได้หล่อหลอม ให้คนไทยมี
ลักษณะเฉพาะตัว เป็นเอกลักษณ์ของคนไทยที่นานาชาติยกย่องชื่นชม
2) ภาษาและวรรณกรรมไทย ภาษาทางพระพุทธศาสนา เช่น ภาษาบาลีมีอยู่ใน
ภาษาไทย จานวนมาก วรรณกรรม ไทย หลายเรื่อง มีที่มา จากหลักธรรมทาง
พระพุทธศาสนา เช่น ไตรภูมิกถา ในสมัยสุโขทัย กาพย์มหาชาติ นันโทปนันทสูตร
คาหลวง พระมาลัยคาหลวง ปุณโณวาทคาฉันท์ ในสมัยอยุธยา เป็นต้น
3) ขนบธรรมเนียมประเพณีไทย ประเพณีไทยที่มาจากความเลื่อมใสศรัทธาใน
พระพุทธศาสนามีอยู่มากมาย เช่น การอุปสมบท ประเพณีทอดกฐิน ประเพณีแห่เทียน
พรรษา ประเพณีชักพระ เป็นต้น กล่าวได้ว่า ขนบธรรมเนียมประเพณีที่เกี่ยวข้องกับ
พระพุทธศาสนามีความผูกพันกับคนไทยตั้งแต่เกิดจนตาย
4) ศิลปกรรมไทย พระพุทธศาสนา เป็นบ่อเกิดของศิลปะแขนงต่างๆ วัดเป็น
แหล่งรวมศิลปกรรมไทย ทางด้านสถาปัตยกรรม เช่นรูปแบบการเสร้างเจดีย์ พระปรางค์
วิหาร ที่งดงามมาก เช่น วัดพระศรีรัตนศาสดาราม ( วัดพระแก้ว) กรุงเทพมหานคร
ประติมากรรม ได้แก่ งานปั้นและหล่อพระพุทธรูป เช่น พระพุทธลีลาในสมัยสุโขทัย
7
พระพุทธชินราช วัดพระศรีมหาธาตุ จังหวัดพิษณุโลก จิตรกรรม ได้แก่ ภาพวาดฝา
ผนังและเพดานวัดต่างๆ เช่น จิตรกรรมฝาผนัง วัดเบญจมบพิตร กรุงเทพมหานคร
3. พระพุทธศาสนาเป็นศูนย์รวมจิตใจของสังคมไทย พระสงฆ์ เป็นผู้นาทางจิตใจของ
ประชาชน เป็นศูนย์กลางของความเคารพศรัทธาของพุทธศาสนิกชนให้คนไทยประพฤติปฏิบัติ
ตนอยู่ในศีลธรรม อันดีงาม นอกจากนี้วัดยังเป็นศูนย์กลางของชุมชน เป็นสถานที่ประกอบ
กิจกรรมของชุมชน สร้างความสามัคคีในชุมชน
4. พระพุทธศาสนา เป็นหลักในการ พัฒนาชาติไทย หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
มุ่งเน้นการพัฒนาคนให้เป็นบุคคลที่มีคุณภาพทั้งด้านสุขภาพกาย สุขภาพจิต ใช้คุณธรรม และ
สติปัญญาในการดาเนินชีวิต เพื่อพัฒนาตนเอง และ ร่วมมือ ร่วมใจกัน พัฒนาชุมชน พัฒนา
สังคม และพัฒนาชาติบ้านเมืองให้เจริญรุ่งเรือง นอกจากนี้พระสงฆ์หลายท่านยังมีบทบาทสาคัญ
ในการเป็นผู้นาชุมชนพัฒนาในด้านต่างๆ เช่น การอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ การอนุรักษ์ภูมิ
ปัญญา และวั ฒนธรรมท้องถิ่น วัดเป็นแหล่งการเรียนรู้ของสังคมไทยตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน
ชาวไทยได้บวชเรียนในพระพุทธศาสนา ได้ฝึกฝนอบรมตนให้เป็นคนดี เป็นกาลังสาคัญในการ
พัฒนาชาติไทย
5. พระพุทธศาสนาเป็นหนึ่งในสามสถาบันหลักของชาติไทย สถาบันหลักของชาติไทยที่
คนไทยทุกคน ให้ความเคารพนับถือ ประกอบด้วยชาติ ศาสนา และ พระมหากษัตริย์
รัฐธรรมนูญไทยได้กาหนดให้พระมหากษัตริย์ ทรงเป็น พุทธมามกะ หมายถึง พระประมุข
ของชาติไทยที่ทรงนับถือพระพุทธศาสนา เช่นเดียวกับประชาชนส่วนใหญ่ของประเทศ และ ยัง
เป็นอัครศาสนูปถัมภก คือ ทรงให้ความอุปถัมภ์ศาสนาทุกศาสนาในประเทศไทย
8
ความสาคัญของพระพุทธศาสนาในฐานะเป็นสถาบันหลักของสังคมไทย
สถาบันพระพุทธศาสนาเป็นสถาบันหลักสถาบันหนึ่งของสังคมไทย คนไทยต่างให้การ
ยอมรับนับถือมาตั้งแต่โบราณกาล และมีการสืบทอดมาจนถึงทุกวันนี้ โดยมีพระมหากษัตริย์
ทรงเป็นองค์อัครศาสนูปถัมภก
เมื่อพระพุทธศาสนาได้เข้ามาประดิษฐานมั่นคงในสังคมไทย วัดและพระสงฆ์มีบทบาท
เกี่ยวข้องกับการดาเนินชีวิต ของคนไทย วัดจึงได้กลายเป็นส่วนหนึ่ง ของสังคม วัดเป็น
ศูนย์กลางของการอบรมสั่งสอนจริยธรรม เป็นสถาบันสาคัญทั้งในด้านการศึกษา สังคม และ
เป็นบ่อเกิดของศิลปะสาขาต่าง ๆ ส่วนพระสงฆ์ผู้ทาหน้าที่สืบทอดพระพุทธศาสนาก็ได้รับการ
ยกย่องในสังคม ในฐานะเป็นผู้ทรงคุณธรรมควรแก่การเคารพและเชื่อฟังซึ่งสรุปได้ ดังนี้
ด้านการศึกษา วัดเป็นสถานศึกษาเล่าเรียน โดยพระภิกษุสงฆ์ทาหน้าที่เป็นผู้อบรมสั่งสอน
ให้ความรู้ แม้ในปัจจุบัน พระสงฆ์ก็ยังคงทาหน้าที่สอนพระพุทธศาสนาในโรงเรียน
ด้านสังคม วัดเป็นศูนย์กลางของชุมชน เป็นที่ชุมนุม เพื่อทาบุญฟังพระธรรมเทศนา
ตลอดจนการพบปะสังสรรค์ พระสงฆ์เป็นตัวแทนของสถาบันพระพุทธศาสนาที่มีบทบาท
สาคัญในการเป็นผู้นาทางจิตใจของประชาชน
ด้านศิลปกรรม วัดเป็นที่รวมแห่งศิลปกรรมประเภทต่าง ๆ เช่น ประติมากรรมปูน
ปั้น ศิลปกรรมแกะสลักไม้ จิตรกรรมฝาผนัง ตลอดถึงถาวรวัตถุต่าง ๆ ที่ศิลปินไทยได้ถ่ายทอด
ไว้ที่โบสถ์ วิหาร เจดีย์ องค์พระพุทธรูป ซึ่งสะท้อนให้เห็นถึงศรัทธาที่มีต่อพระพุทธศาสนา
พระพุทธศาสนาในฐานะเป็นสภาพแวดล้อมที่กว้างขวางและครอบคลุมสังคมไทย
จากการศึกษาประวัติศาสตร์ของชนชาติไทย พบว่าประเทศไทยเป็นส่วนหนึ่งของดิน
เแดน ที่เรียกว่าสุวรรณภูมิ เป็นที่ตั้งมั่นของพระพุทธศาสนามาเป็นเวลายาวนาน คาสอนของ
พระพุทธศาสนาได้เผยแผ่ไปทุกภูมิภาค ของประเทศ และสัมพันธ์กับวิถีชีวิตของผู้คน จน
9
ก่อให้เกิดขนบธรรมเนียม ประเพณีวัฒนธรรม ศิลปกรรม สถาปัตยกรรม อันเนื่องด้วย
พระพุทธศาสนา จนกลายมาเป็นสมบัติของชาติให้พุทธศาสนิกชนได้เกิดความภาคภูมิใจ
พระพุทธศาสนาจึงมีความสัมพันธ์กับชีวิตประจาวันอย่างใกล้ชิดอยู่แล้วโดยปริยาย แม้
มรรยาทต่าง ๆ ที่คนไทยถูกสอนให้เคารพอาวุโส มีการยืดมั่น และ ปฏิบัติตนให้ถูกต้องตาม
ขนบธรรมเนียม ประเพณีก็ล้วนมาจากหลักเกณฑ์ทางพระพุทธศาสนาทั้งสิ้น
ความสาคัญของวัดที่มีต่อวิถีชีวิตของคนไทย
สังคมไทยเคารพศรัทธา ต่อพระภิกษุมาก เนื่องเพราะเชื่อว่า พระภิกษุ นั้นเป็นผู้มี
ความรู้มากกว่าฆราวาส เป็นผู้ทรงศีล ย่อมพูดแต่สิ่งเท็จจริง และเป็นครูบาอาจารย์ ความสัมพันธ์
ระหว่างคนในชุมชนที่มีต่อวัดจึงผูกพันแนบแน่นกับวิถีชีวิตของ ทุกคนนับแต่เกิดจนตาย คาสั่ง
สอนจึงได้รับความเชื่อถืออย่างไร้ความคลางแคลงใจ ดังนั้นพระสงฆ์จึงกลายเป็นที่พึ่งของสังคม
ในทุกๆเรื่อง ไม่ว่าในทางที่เป็นมงคลและอัปมงคล
ส่วน วัด นั้นเป็นสถานที่รับใช้บริการงานประเพณีการทาบุญต่างๆเพื่อให้เกิดกุศลบุญแก่
ฆราวาส เนื่องในวันสาคัญทางศาสนาซึ่งมีอยู่แทบตลอดทั้งปี รวมทั้งเป็น
สถานที่ให้การศึกษาแก่ชุมชน นับแต่การบวชเณรจนถึงบวชเป็นพระภิกษุ
สถานที่ให้ความสงบเยือกเย็นทางใจ เช่น การแสดงพระธรรมเทศนา การฝึกปฏิบัติ
ธรรม สมาธิ
เป็นสถานที่ชุมนุมของสังคมทุกกาลวาระ เช่น การประชุมกรรมการหมู่บ้าน งานเทศกาล
รื่นเริงที่มีการ ออกร้าน มีมหรสพต่างๆ เป็นต้น
เป็นสถานที่ประกอบพิธีกรรมเนื่องในการตาย เช่นการตั้งศพสวดพระอภิธรรมการเผาศพ
10
ความสัมพันธ์ระหว่างวัดกับวัง
พระมหากษัตริย์ในอุดมคติของสังคมไทย จะสมบูรณ์แบบได้นั้น ต้องแสดงศักยภาพ
ของพระองค์ใน ๒ ลักษณะ คือ ความเป็นพระจักรพรรดิราช ที่สามารถปกป้องปวงประชาให้
อยู่เย็นเป็นสุขจากศัตรู และ ความเป็นพระมหาธรรมราชา หมายถึง พระราชาผู้ทรงคุณธรรม
ดังนั้นพระมหากษัตริย์ไทยทุกพระองค์จึงทรงดาเนินนโยบายตามแนวความคิดดัง กล่าวนี้มาโดย
ตลอด โดยการสร้างบูรณปฏิสังขรณ์ วัดวาอารามต่างๆก็เพื่อส่งเสริมให้ภาพลักษณ์แห่ง ความ
เป็น “ ธรรมราชา ” ของพระองค์สมบูรณ์แบบขึ้น นอกเหนือจากการอาศัยศาสนามาช่วยใน
พิธีกรรมต่างๆนั่นเอง
ความสัมพันธ์ระหว่างบ้าน วัด และวัง
ความสัมพันธ์ที่เกิดขึ้นในสังคมไทยดังกล่าวมาทั้งหมด มีความเกี่ยวเนื่องกับสถาบันหลัก
๓ ประเภท คือ บ้าน วัด และ วัง สถาบันทั้ง ๓ หน่วยนี้มีความสัมพันธ์เกี่ยวข้องซึ่งกันและกัน
ตลอดเวลา โดย “ วัง ” นั้นอยู่ในสถานะของที่ประทับแห่งกษัตริย์ หรือ ผู้นาของสังคมและ
ประเทศชาติ วังจึงเป็นเสมือนหนึ่งสัญลักษณ์แห่งศูนย์รวมในทางอาณาจักร ในขณะที่ “ บ้าน ”
เป็นที่พักอาศัยของเหล่าทวยราษฎร เป็นหนึ่งในโครงสร้างพื้นฐาน สาหรับ “ วัด ” อันเป็นที่ตั้ง
ของพุทธสถานนั้น ก็จะดารงอยู่ในฐานะศูนย์รวมทางจิตใจ ที่เป็นตัวกลางเชื่อมระหว่าง “ วัง ”
กับ “บ้าน” หรืออีกนัยยะหนึ่งระหว่าง “กษัตริย์” กับ “ ราษฎร ” เมื่อไทยรับเอาอิทธิพลความ
เชื่อในเรื่องของ “ สมมุติเทพ ” จากขอมเข้ามาใช้ในสังคมสมัยอยุธยา ภาพลักษณ์และบทบาท
แห่งกษัตริย์ของไทย ยิ่งมีความสูงส่ง และ ศักดิ์สิทธิ์ยิ่ง ขึ้น จนทาให้ความสัมพันธ์ระหว่าง
สถาบันกษัตริย์กับราษฎรกลับมีช่องว่างห่างกันมาก“วัด”จึงเป็นเสมือนสายใยที่เชื่อมโยงช่องว่าง
ดังกล่าวนั้น วัดสาคัญๆโดยเฉพาะอย่างวัดมหาธาตุ ถูกสถาปนาขึ้น ด้วยชนชั้นปกครองทั้งสิ้น
เนื่องจาก ต้องอาศัยกาลัง และทรัพย์วัสดุในการก่อสร้างจานวนมาก วัดที่พระมหากษัตริย์ทรง
สร้างขึ้นจึงวิจิตรบรรจงงดงาม เมื่อวัดดังกล่าวถูกสร้างขึ้นเพื่อใช้เป็นศูนย์รวมในทางจิตใจของ
ชุมชน กษัตริย์ในฐานะผู้สร้างวัด ก็ย่อมได้รับความเคารพศรัทธาและซื่อสัตย์จงรัก ภักดีจากทวย
11
ราษฎร์ในชุมชนนั้นโดยปริยาย อานาจและพลังมวลชนที่กษัตริย์พึงจะได้มา อาศัยการสื่อผ่าน
ทางเจ้าอาวาสวัดต่างๆ นี้โดยตรง นี่คือความสัมพันธ์ระหว่างความหมายของบ้าน วัด และวัง
วัดในสถานะที่เป็นศูนย์กลางของสังคมมีความสาคัญและบทบาทหน้าที่ดังนี้ คือ
๑.วัดในฐานะตัวแทนความเจริญและความมั่นคงของแผ่นดิน
๒.วัดในฐานะสถาบันผู้สืบทอดศาสนาให้ยั่งยืน
๓.วัดในฐานะสถานที่ให้การศึกษา
๔.วัดในฐานะที่พึ่งทางกายและใจของสังคม
๕.วัดในฐานะศูนย์รวมของศิลปกรรม
บทวิเคราะห์
ในสมัยโบราณ วัดเป็นสถานที่ รวมจิตใจ ของคนไทย และนอกจากนั้น วัดยังเป็น
สถานที่ให้ความรู้แก่คนในสมัยก่อน เพราะเเต่ก่อนยังไม่มีโรงเรียน ก็เลยใช้วัดเป็นที่ให้ความรู้
เเก่เด็กโดยมีพระเป็นผู้อบรมสั่งสอน และ วัดยังเป็นที่ชุมนุมของคนเพื่อเป็นที่ประชุมหรือเพื่อ
เป็นที่ชาระจิตใจของผู้คน นับได้ว่าในสมัยก่อนวัดมีอิทธิพลมากต่อคนไทยจนมาถึงในยุคสมัย
ปัจจุบันวัดก็ยังเป็นศูนย์รวมจิตใจของคนไทยมาช้านาน ซึ่งวัดจะเป็นที่รวบรวมคาสั่งสอนของ
พระพุทธเจ้าต่างๆไว้มากมายนอกจากนี้วัดก็ยังเป็นศูนย์รวมความเชื่อต่างๆทางไสยศาสตร์ ของ
ชาวพุทธซึ่งเป็นความเชื่อของเเต่ละบุคคล ในปัจจุบันนี้ในประเทศไทยจะมีวัดต่างๆมากมาย ที่
เกิดจากหลายเชื้อชาติที่เข้ามาอาศัย ในประเทศไทยเช่น วัดจีน ทั้งนี้ก็จะเกิดทั้งข้อดีเเละข้อเสีย
ซึ่งข้อดีก็คือมีความหลากหลายทางวัฒนธรรมได้ แต่ข้อเสียคือ ความขัดเเย้งของความคิด และ
วัฒนธรรมได้ ในฐานะที่เราเป็นทหารเราควรช่วยกันทะนุบารุงรักษาวัดให้มั่นคงอยู่คู่กับคนไทย
เพื่อให้คนไทย ได้มีที่ยึดเหนี่ยวจิตใจ ทั้งในยามทุกข์ และ ยามสุข ดังนั้นวัดจึงเปรียบเสมือน
แหล่งรวบรวมและสร้างวัฒนธรรม ซึ่งวัฒนธรรมเป็นค่านิยมและความเชื่อที่มีร่วมกันมาอย่าช้า
นาน ซึ่งเป็นระบบที่เกิดขึ้นในสังคมแทบทุกสังคมของคนไทย และ กลายเป็นแนวทางในการ
12
กาหนดแบบแผนพฤติกรรม บรรทัดฐานของคนไทย วัฒนธรรมจึงเป็นเสมือนบุคลิกภาพ และ
จิตวิญญาณของคนในสังคม ซึ่งมีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา ทหาร จึงเป็นกาลังสาคัญในการ
รักษาวัด ซึ่งเป็นสมบัติของคนไทยไว้ให้คนรุ่นหลังได้ชื่นชมในความงดงามของวัฒนธรรม
ของคนไทย
วัด หมายถึง สถานที่ทางพระพุทธศาสนา ซึ่งปกติมีพระอุโบสถ พระวิหาร พระเจดีย์
รวมทั้งมีพระภิกษุสงฆ์อยู่อาศัย
คาว่า “วัด” เป็นคาเรียกชื่อศาสนสถานแบบคาไทย โดยที่มาของคาว่า “วัด” นี้ ยังไม่มี
ข้อยุติ ด้วยบางคนอธิบายว่า มาจากคาว่า “วตวา” ในภาษาบาลี แปลว่า เป็นที่สนทนาธรรม
บ้างก็ว่ามาจาก “วัตร” อันหมายถึงกิจปฏิบัติหรือหน้าที่ของพระภิกษุที่พึงกระทา หรือแปล
อีกอย่างว่าการจาศีล ซึ่งวัด (วัตร) ตามนัยยะนี้จึงน่าจะหมายถึงสถานที่ซึ่งพระภิกษุสงฆ์ใช้เป็น
ที่จาศีลภาวนา หรือสถานที่ที่พระภิกษุสงฆ์ใช้ปฏิบัติภารกิจ ที่พึงกระทานั่นเอง แต่ก็มีบางคน
สันนิษฐานว่ามาจากคาว่า “ วัดวา ” อันหมายถึง การกาหนดขอบเขตของดินแดนที่สร้างเป็น
ศาสนสถาน เพราะวัดกับวามีความหมายอย่างเดียวกัน คือการสอบขนาด หรือปริมาณของสิ่ง
ต่างๆ เช่น ความยาว ความกว้าง เป็นต้น วัดในนัยยะอย่างหลังนี้จึงหมายถึง พื้นที่
แต่เดิมครั้งพุทธกาลนั้น มีการใช้คาว่า “อาราม” เป็นคาเรียกชื่อ ศาสนสถานในทางพุทธ
ศาสนาที่ใช้เรียกเสนาสนะที่มีผู้ศรัทธาถวายพระพุทธองค์ใน ระยะแรกๆ เช่น “ เชตวนาราม ”
หรือชื่อเต็มว่า “ เชตวเนอนาถบิณฑิกสสอาราเม ” ซึ่งมีความหมายว่า “ สวนของอนาถบิณฑ
ที่ป่าเชต ” หรือ“เวฬุวนาราม ” หรือ “ บุปผาราม” เป็นต้น โดย “ อาราเม ” หรือ “อาราม” ใน
คาอ่านของไทยแปลว่าสวน นอกจากนี้ในเวลาต่อมายังมีคาที่ใช้เรียกอีกอย่างว่า “ วิหาระ ” หรือ
“วิหาร”
อย่างไรก็ตามก็ยังมีคาที่ให้ความหมายว่า วัดอ ยู่อีกชื่อหนึ่ง คือ “ อาวาส ” ดังชื่อเรียก
สมภารผู้ครองวัดว่า “ เจ้าอาวาส ” ซึ่งแปลว่าผู้เป็นใหญ่ในวัด หรือชื่อเรียกวัด เช่น เทพศิรินทรา
วาส ( เทพ+ ศิรินทรา+ อาวาส ) โดยปกติคาว่าอาวาส ไม่เป็นที่นิยมใช้กัน ในความหมายว่าวัด
13
ทั้งนี้เพราะนิยมนาไปใช้กับความหมายที่แคบกว่าคาว่าอาราม โดยมักให้ความหมายในเชิงที่เป็น
ตัวเรือนที่อยู่อาศัยมากกว่า อาวาส จึงเสมือนเป็นที่อยู่ส่วนย่อยภายในอาราม ที่หมายถึงพื้นที่ที่
เป็น ศาสสถาน ทั้งเขต เช่น วัดราชบพิธสถิตมหาสีมาราม กรุงเทพฯ พระอารามหลวงชั้นเอก
ชนิดราชวรวิหาร , วัดบวรนิเวศวิหารกรุงเทพฯ พระอารามหลวงชั้นเอก ชนิดราชวรวิหาร , วัด
กัลยาณมิตร ธนบุรี พระอารามหลวงชั้นโท ชนิดราชวรมหาวิหาร , วัดปทุมวนาราม กรุงเทพฯ
พระอารามหลวงชั้นตรี ชนิดราชวรวิหาร,วัดอินทรวิหาร วัดราษฎร์
14
บทที่ 3 วิธีการดําเนินงาน
วัสดุอุปกรณ์
1. ไม้กวาดดอกหญ้า
2. สายยาง
3. ถังน้า
4. ไม้กวาดทางมะพร้าว
5. ผงซักฟอก
6. ขัน
7. ผ้าขี้ริ้ว
8. ไม้ถูพื้น
9. แปรงขัดพื้น
10. ฝอยขัดหมอ
11. ไม้ถูพื้นไล่น้า
12. เกรียง (เอาไว้ขูดน้าตาเทียน)
13. แปรงขัดส้วม
14. กล้องถ่ายรูป
15
วิธีการดําเนินงาน
1. จัดกลุ่มเลือกหัวข้อในการดาเนินกิจกรรม
2. ลงมติเลือกหัวข้อที่จะทา คือ จิตอาสาพัฒนาวัดบ้านเรา
3. วางแผนในการดาเนินการ
4. เลือกวัดที่จะไปทากิจกรรมจิตอาสา
5. นัดหมายวันเวลาสถานที่ที่จะเจอกันและนั่งรถไปพร้อมเพรียงกัน
6. ดาเนินงานตามกาหนดการที่นัดไว้
6.1.นัดพบกันที่ บขส. เวลา 09.00 น.
6.2.ขึ้นรถสาย กาญจนบุรี-สุพรรณบุรี (ฟรี เพราะเป็นญาติกับจิตติ) เวลา10.00 น.
6.3.ถึงสี่แยกห้วยสะพาน เวลา 10.20 น.
6.4.เดินเข้าไปที่วัดห้วยสะพานเพื่อเข้าห้องน้าระยะทาง 500 เมตร
ภาพที่ 3.1 - 3.2 เดินเข้าไปที่วัดห้วยสะพาน
6.5. น้ามารับไปวัดบ้านหลุมหิน
ภาพที่ 3.3 น้ามารับไปวัดบ้านหลุมหิน
16
6.6.พักเอาของที่บ้านของ นางสาวไอรินทร์
6.7.ถึงแล้วจัดเตรียมของที่จะต้องเข้าไปทาความสะอาดที่วัด
6.8.เดินทางไปวัดบ้านหลุมหิน
ภาพที่ 3.4 เดินทางไปวัดบ้านหลุมหิน
6.9.เริ่มทาความสะอาด
ภาพที่ 3.5 – 3.7 เริ่มทาความสะอาด
17
7.เดินทางกลับบ้านด้วยรถของแม่ไอรินทร์
ภาพที่ 3.8 เดินทางกลับบ้าน
8.จัดทาเว็บไซต์
ภาพที่ 3.9 จัดทาเว็บไซต์
สามารถเข้าถึงได้ทางhttps://sites.google.com/site/citxasaphathnawadbanrea/home
18
บทที่ 4 ผลการดําเนินงาน
จากการดาเนินงานตามโครงการที่กาหนด คณะผู้จัดทาไม่เสียค่าใช้จ่ายใดๆทั้งสิ้น วัสดุ
อุปกรณ์ที่ใช้และการเดินทางล้วนแต่มาจากบ้านของผู้จัดทาทั้งสิ้น และมีเว็บไซต์
ผลจากการดาเนินกิจกรรมจิตอาสาพัฒนาวัดบ้านเรา ทาให้วัดสะอาดและน่าอยู่ยิ่งขึ้น
ประชาชนในละแวกวัดก็สามารถเข้ามาทาบุญตักบาตรได้อย่างสบายใจ ซึ่งการทากิจกรรมจิต
อาสาเป็นการทาบุญอย่างหนึ่ง คนทาก็สุขใจที่ได้ทา และผู้ที่เข้ามาทาบุญก็สุขใจ
ในตอนท้ายหลวงพ่อในวัดบ้านหลุมหินได้มาให้ศีลให้พรกับคณะผู้จัดทา
19
บทที่ 5 สรุปผลและอภิปราย
สรุปและอภิปรายผล
จากการดาเนินงานตามโครงการจิตอาสาพัฒนาวัดบ้านเรา ทาให้วัดมีความสะอาดมาก
ขึ้น และไม่มีค่าใช้จ่ายใดๆ การนั่งรถไปทากิจกรรมก็ไม่เสียค่าใช้จ่าย วัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ก็นามา
จากบ้าน จึงเป็นการประหยัดตลอดการทาโครงการและยังได้บุญและความอิ่มใจ
อภิปรายผลการดําเนินงาน
จากการดาเนินงาน ตามโครงการที่กาหนด คณะผู้จัดทา ไม่เสียค่าใช้จ่าย ใดๆทั้งสิ้น
เนื่องจาก วัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ ล้วนแต่มาจากบ้านของผู้จัดทาทั้งสิ้น และ การเดินทางก็ไม่เสีย
ค่าใช้จ่ายเพราะได้รับความอนุเคราะห์จากคนขับรถประจาทาง ผลจากการดาเนินกิจกรรมจิต
อาสาพัฒนาวัดบ้านเรา ทาให้วัดสะอาดและน่าอยู่ยิ่งขึ้นประชาชนในละแวกวัดก็สามารถเข้ามา
ทาบุญตักบาตรได้อย่างสบายใจ ซึ่งการทากิจกรรมจิตอาสา เป็นการทาบุญอย่างหนึ่ง คนทา
ก็สุขใจที่ได้ทา และผู้ที่เข้ามาทาบุญก็อิ่มใจ
ข้อเสนอแนะ
1. เพิ่มจานวนอาสาสมัครที่จะไปทาให้มากขึ้น
2. เพิ่มสถานที่ที่จะไปทาให้มากขึ้น
3. รับบริจาคเพื่อนาไปบารุงสถานที่
ง
บรรณานุกรม
นนร.ธรรมรัตน์ แววศรี. ความสาคัญของวัดที่มีต่อวิถีชีวิตคนไทย. [ออนไลน์].
เข้าถึงได้จาก : http : / / www. http://thammarat5263.blogspot.com/. ( วันที่ค้นข้อมูล :
1กันยายน 2558).
พุทธะ. ความหมายของวัด. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก :http://www.phuttha.com/
ศาสนสถาน/วัด/ ความหมายของวัด. (วันที่ค้นข้อมูล :1 กันยายน 2558).
วิฬาเถื่อน.ความสาคัญของพระพุทธศาสนาในฐานะเป็นสถาบันหลักของสังคมไทย .
[ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก : http://www.oknation.net/blog/preeeecha/2010/02/17/entry-
3/. (วันที่ค้นข้อมูล :1กันยายน 2558).
จ
ภาคผนวก
ภาพที่ 1-2 การประชุมกลุ่ม
ภาพที่ 3 ขณะเดินทางไปทากิจกรรม
ภาพที่ 4 บริเวณหน้าวัด
ภาพที่ 5-7 รวมของวัดหลุมหิน
ภาที่ 8 - 11 สถานที่ทาความสะอาดก่อนการลงมือทา
ภาพที่ 12 – 28 ระหว่างการทาความสะอาดบริเวณที่ชาวบ้านสักการะพระประจาวันเกิด
ภาพที่ 29 – 34 ก่อนทาความสะอาดบริเวณหลวงปู่กัณฑ์
ภาพที่ 35 – 38 ระหว่างการทาความสะอาดศาลาหลวงปู่กัณฑ์
ภาพที่ 39 หลังจากทาความสะอาดเสร็จ
ภาพที่ 40 – 41 หลวงพ่อมาให้พร
ภาพที่ 42 – 43 เดินทางกลับบ้าน
ภาพ powerpointโครงการ
เว็บไซต์โครงการ
สามารถเข้าถึงได้ทางhttps://sites.google.com/site/citxasaphathnawadbanrea/hom
ผู้จัดทํา
1. นาย จิตติ ทุมเชียงลา เลขที่ 1
2. นางสาวไอริณทร์ นิธิภัทร์พรปัญญา เลขที่ 14
3. นางสาว ปณิดา ธนกิจ เลขที่ 15
4.นางสาว ลาภิศ อุทาทิพย์ เลขที่ 18
5.นางสาว สุปราณี บุญมี เลขที่ 19
ISโครงการจิตอาสาพัฒนาวัดบ้านเรา(ใหม่)

More Related Content

What's hot

ตัวอย่างโครงงาน
ตัวอย่างโครงงานตัวอย่างโครงงาน
ตัวอย่างโครงงานSattawat Backer
 
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียน
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียนโครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียน
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียนพัน พัน
 
โครงงานยาเสพติด
โครงงานยาเสพติดโครงงานยาเสพติด
โครงงานยาเสพติดพัน พัน
 
โครงงานเคมีกัญ (1)
โครงงานเคมีกัญ (1)โครงงานเคมีกัญ (1)
โครงงานเคมีกัญ (1)Guntima NaLove
 
โครงงานเเยมกล้วย(Complete)
โครงงานเเยมกล้วย(Complete)โครงงานเเยมกล้วย(Complete)
โครงงานเเยมกล้วย(Complete)Pongpan Pairojana
 
การศึกษารายกรณี ครูธัญญา ซื่อตรง
การศึกษารายกรณี ครูธัญญา ซื่อตรงการศึกษารายกรณี ครูธัญญา ซื่อตรง
การศึกษารายกรณี ครูธัญญา ซื่อตรงKru Tew Suetrong
 
บทที่ 3 วิธีการดำเนินงาน [โครงการอ่านหนังสือให้กับผู้พิการทางสายตา]
บทที่ 3 วิธีการดำเนินงาน [โครงการอ่านหนังสือให้กับผู้พิการทางสายตา]บทที่ 3 วิธีการดำเนินงาน [โครงการอ่านหนังสือให้กับผู้พิการทางสายตา]
บทที่ 3 วิธีการดำเนินงาน [โครงการอ่านหนังสือให้กับผู้พิการทางสายตา]Kull Ch.
 
โครงงานIs3
โครงงานIs3โครงงานIs3
โครงงานIs3Arisa Srising
 
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บทรูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บทAekapoj Poosathan
 
ตัวอย่าง ปกรายงาน
ตัวอย่าง ปกรายงานตัวอย่าง ปกรายงาน
ตัวอย่าง ปกรายงานSamorn Tara
 
IS โครงการจิตอาสาพัฒนาวัดบ้านเรา
IS โครงการจิตอาสาพัฒนาวัดบ้านเราIS โครงการจิตอาสาพัฒนาวัดบ้านเรา
IS โครงการจิตอาสาพัฒนาวัดบ้านเราIam Champooh
 
โครงงานเรื่อง กล้วยฉาบ
โครงงานเรื่อง กล้วยฉาบโครงงานเรื่อง กล้วยฉาบ
โครงงานเรื่อง กล้วยฉาบLorpiyanon Krittaya
 
โครงงานคัดแยกขยะ
โครงงานคัดแยกขยะโครงงานคัดแยกขยะ
โครงงานคัดแยกขยะPang Pond
 
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5kessara61977
 
โครงงานสิ่งประดิษฐ์เหลือใช้
โครงงานสิ่งประดิษฐ์เหลือใช้โครงงานสิ่งประดิษฐ์เหลือใช้
โครงงานสิ่งประดิษฐ์เหลือใช้thanapisit marakul na ayudhya
 

What's hot (20)

ตัวอย่างโครงงาน
ตัวอย่างโครงงานตัวอย่างโครงงาน
ตัวอย่างโครงงาน
 
ขยะ
ขยะขยะ
ขยะ
 
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียน
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียนโครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียน
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียน
 
โครงงานยาเสพติด
โครงงานยาเสพติดโครงงานยาเสพติด
โครงงานยาเสพติด
 
โครงงานเคมีกัญ (1)
โครงงานเคมีกัญ (1)โครงงานเคมีกัญ (1)
โครงงานเคมีกัญ (1)
 
บทที่ 4.ผลการดำเนินงาน
บทที่ 4.ผลการดำเนินงานบทที่ 4.ผลการดำเนินงาน
บทที่ 4.ผลการดำเนินงาน
 
รายงานกล้วยฉาบ.Docx อันใหม่
รายงานกล้วยฉาบ.Docx อันใหม่รายงานกล้วยฉาบ.Docx อันใหม่
รายงานกล้วยฉาบ.Docx อันใหม่
 
โครงงานเเยมกล้วย(Complete)
โครงงานเเยมกล้วย(Complete)โครงงานเเยมกล้วย(Complete)
โครงงานเเยมกล้วย(Complete)
 
การศึกษารายกรณี ครูธัญญา ซื่อตรง
การศึกษารายกรณี ครูธัญญา ซื่อตรงการศึกษารายกรณี ครูธัญญา ซื่อตรง
การศึกษารายกรณี ครูธัญญา ซื่อตรง
 
บทที่ 3 วิธีการดำเนินงาน [โครงการอ่านหนังสือให้กับผู้พิการทางสายตา]
บทที่ 3 วิธีการดำเนินงาน [โครงการอ่านหนังสือให้กับผู้พิการทางสายตา]บทที่ 3 วิธีการดำเนินงาน [โครงการอ่านหนังสือให้กับผู้พิการทางสายตา]
บทที่ 3 วิธีการดำเนินงาน [โครงการอ่านหนังสือให้กับผู้พิการทางสายตา]
 
โครงงานIs3
โครงงานIs3โครงงานIs3
โครงงานIs3
 
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บทรูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
 
ตัวอย่าง ปกรายงาน
ตัวอย่าง ปกรายงานตัวอย่าง ปกรายงาน
ตัวอย่าง ปกรายงาน
 
โครงงานวุ้นกะทิ
โครงงานวุ้นกะทิโครงงานวุ้นกะทิ
โครงงานวุ้นกะทิ
 
IS โครงการจิตอาสาพัฒนาวัดบ้านเรา
IS โครงการจิตอาสาพัฒนาวัดบ้านเราIS โครงการจิตอาสาพัฒนาวัดบ้านเรา
IS โครงการจิตอาสาพัฒนาวัดบ้านเรา
 
โครงงานการบำบัดน้ำเสียด้วยต้นธูปฤาษี
โครงงานการบำบัดน้ำเสียด้วยต้นธูปฤาษีโครงงานการบำบัดน้ำเสียด้วยต้นธูปฤาษี
โครงงานการบำบัดน้ำเสียด้วยต้นธูปฤาษี
 
โครงงานเรื่อง กล้วยฉาบ
โครงงานเรื่อง กล้วยฉาบโครงงานเรื่อง กล้วยฉาบ
โครงงานเรื่อง กล้วยฉาบ
 
โครงงานคัดแยกขยะ
โครงงานคัดแยกขยะโครงงานคัดแยกขยะ
โครงงานคัดแยกขยะ
 
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5
 
โครงงานสิ่งประดิษฐ์เหลือใช้
โครงงานสิ่งประดิษฐ์เหลือใช้โครงงานสิ่งประดิษฐ์เหลือใช้
โครงงานสิ่งประดิษฐ์เหลือใช้
 

Similar to ISโครงการจิตอาสาพัฒนาวัดบ้านเรา(ใหม่)

โครงการห้วยองคต
โครงการห้วยองคตโครงการห้วยองคต
โครงการห้วยองคตjeabjeabloei
 
โรงเรียนคุณธรรมชั้นนำ (Good practice)
โรงเรียนคุณธรรมชั้นนำ (Good practice)โรงเรียนคุณธรรมชั้นนำ (Good practice)
โรงเรียนคุณธรรมชั้นนำ (Good practice)yana54
 
โครงการตักบาตรวันพระ
โครงการตักบาตรวันพระโครงการตักบาตรวันพระ
โครงการตักบาตรวันพระKhuanruthai Pomjun
 
โครงการคนรักป่า ป่ารักชุมชน
โครงการคนรักป่า ป่ารักชุมชนโครงการคนรักป่า ป่ารักชุมชน
โครงการคนรักป่า ป่ารักชุมชนพัน พัน
 
โครงการช่วยเหลือ เจือปัน
โครงการช่วยเหลือ เจือปันโครงการช่วยเหลือ เจือปัน
โครงการช่วยเหลือ เจือปันพัน พัน
 
ปั่นน้ำใจให้ผู้ป่วยยากไร้
ปั่นน้ำใจให้ผู้ป่วยยากไร้ปั่นน้ำใจให้ผู้ป่วยยากไร้
ปั่นน้ำใจให้ผู้ป่วยยากไร้Kannicha Ponjidasin
 
ปั่นน้ำใจให้ผู้ป่วยยากไร้
ปั่นน้ำใจให้ผู้ป่วยยากไร้ปั่นน้ำใจให้ผู้ป่วยยากไร้
ปั่นน้ำใจให้ผู้ป่วยยากไร้Kannicha Ponjidasin
 
ปั่นน้ำใจให้ผู้ป่วยยากไร้
ปั่นน้ำใจให้ผู้ป่วยยากไร้ปั่นน้ำใจให้ผู้ป่วยยากไร้
ปั่นน้ำใจให้ผู้ป่วยยากไร้Kannicha Ponjidasin
 
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 กับโครงงานจิตอาสา พาสะอาด
ชั้นประถมศึกษาปีที่  6  กับโครงงานจิตอาสา   พาสะอาดชั้นประถมศึกษาปีที่  6  กับโครงงานจิตอาสา   พาสะอาด
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 กับโครงงานจิตอาสา พาสะอาดGob Chantaramanee
 
โครงการแห่เทียนพรรษาประจำปี 2555
โครงการแห่เทียนพรรษาประจำปี 2555โครงการแห่เทียนพรรษาประจำปี 2555
โครงการแห่เทียนพรรษาประจำปี 2555pentanino
 
2553 โครงการค่ายเปิดแสงแต้มสี ม รังสิต
2553 โครงการค่ายเปิดแสงแต้มสี ม รังสิต2553 โครงการค่ายเปิดแสงแต้มสี ม รังสิต
2553 โครงการค่ายเปิดแสงแต้มสี ม รังสิตmahaoath พระมหาโอ๊ท
 
โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริรัลกาลที่9
โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริรัลกาลที่9โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริรัลกาลที่9
โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริรัลกาลที่9Pai Chensuriyakun
 
รายงานผลจุดเน้นที่ 10
รายงานผลจุดเน้นที่ 10รายงานผลจุดเน้นที่ 10
รายงานผลจุดเน้นที่ 10kruchaily
 
โครงการซ่อมแซมป้าย เพื่อวัดที่ขาดแคลน
โครงการซ่อมแซมป้าย เพื่อวัดที่ขาดแคลนโครงการซ่อมแซมป้าย เพื่อวัดที่ขาดแคลน
โครงการซ่อมแซมป้าย เพื่อวัดที่ขาดแคลนพัน พัน
 

Similar to ISโครงการจิตอาสาพัฒนาวัดบ้านเรา(ใหม่) (20)

Cas 11 1
Cas 11 1Cas 11 1
Cas 11 1
 
Cas 11 4
Cas 11 4Cas 11 4
Cas 11 4
 
โครงการห้วยองคต
โครงการห้วยองคตโครงการห้วยองคต
โครงการห้วยองคต
 
โรงเรียนคุณธรรมชั้นนำ (Good practice)
โรงเรียนคุณธรรมชั้นนำ (Good practice)โรงเรียนคุณธรรมชั้นนำ (Good practice)
โรงเรียนคุณธรรมชั้นนำ (Good practice)
 
โครงการตักบาตรวันพระ
โครงการตักบาตรวันพระโครงการตักบาตรวันพระ
โครงการตักบาตรวันพระ
 
โครงการคนรักป่า ป่ารักชุมชน
โครงการคนรักป่า ป่ารักชุมชนโครงการคนรักป่า ป่ารักชุมชน
โครงการคนรักป่า ป่ารักชุมชน
 
โครงการช่วยเหลือ เจือปัน
โครงการช่วยเหลือ เจือปันโครงการช่วยเหลือ เจือปัน
โครงการช่วยเหลือ เจือปัน
 
ปั่นน้ำใจให้ผู้ป่วยยากไร้
ปั่นน้ำใจให้ผู้ป่วยยากไร้ปั่นน้ำใจให้ผู้ป่วยยากไร้
ปั่นน้ำใจให้ผู้ป่วยยากไร้
 
ปั่นน้ำใจให้ผู้ป่วยยากไร้
ปั่นน้ำใจให้ผู้ป่วยยากไร้ปั่นน้ำใจให้ผู้ป่วยยากไร้
ปั่นน้ำใจให้ผู้ป่วยยากไร้
 
ปั่นน้ำใจให้ผู้ป่วยยากไร้
ปั่นน้ำใจให้ผู้ป่วยยากไร้ปั่นน้ำใจให้ผู้ป่วยยากไร้
ปั่นน้ำใจให้ผู้ป่วยยากไร้
 
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 กับโครงงานจิตอาสา พาสะอาด
ชั้นประถมศึกษาปีที่  6  กับโครงงานจิตอาสา   พาสะอาดชั้นประถมศึกษาปีที่  6  กับโครงงานจิตอาสา   พาสะอาด
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 กับโครงงานจิตอาสา พาสะอาด
 
ร.ร.บ้านตระกวน
ร.ร.บ้านตระกวนร.ร.บ้านตระกวน
ร.ร.บ้านตระกวน
 
โครงการแห่เทียนพรรษาประจำปี 2555
โครงการแห่เทียนพรรษาประจำปี 2555โครงการแห่เทียนพรรษาประจำปี 2555
โครงการแห่เทียนพรรษาประจำปี 2555
 
2553 โครงการค่ายเปิดแสงแต้มสี ม รังสิต
2553 โครงการค่ายเปิดแสงแต้มสี ม รังสิต2553 โครงการค่ายเปิดแสงแต้มสี ม รังสิต
2553 โครงการค่ายเปิดแสงแต้มสี ม รังสิต
 
โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริรัลกาลที่9
โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริรัลกาลที่9โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริรัลกาลที่9
โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริรัลกาลที่9
 
รายงานผลจุดเน้นที่ 10
รายงานผลจุดเน้นที่ 10รายงานผลจุดเน้นที่ 10
รายงานผลจุดเน้นที่ 10
 
สวดมนต์ประจำสัปดาห์
สวดมนต์ประจำสัปดาห์สวดมนต์ประจำสัปดาห์
สวดมนต์ประจำสัปดาห์
 
สวดมนต์ประจำสัปดาห์
สวดมนต์ประจำสัปดาห์สวดมนต์ประจำสัปดาห์
สวดมนต์ประจำสัปดาห์
 
M6 143 60_3
M6 143 60_3M6 143 60_3
M6 143 60_3
 
โครงการซ่อมแซมป้าย เพื่อวัดที่ขาดแคลน
โครงการซ่อมแซมป้าย เพื่อวัดที่ขาดแคลนโครงการซ่อมแซมป้าย เพื่อวัดที่ขาดแคลน
โครงการซ่อมแซมป้าย เพื่อวัดที่ขาดแคลน
 

More from Iam Champooh

Ulo กล้องวงจรปิดนกฮูก ที่คุณจะต้องตกหลุมรัก
Ulo กล้องวงจรปิดนกฮูก ที่คุณจะต้องตกหลุมรักUlo กล้องวงจรปิดนกฮูก ที่คุณจะต้องตกหลุมรัก
Ulo กล้องวงจรปิดนกฮูก ที่คุณจะต้องตกหลุมรักIam Champooh
 
พร้อมหรือยัง เครื่องซักผ้าอัจฉริยะ กำลังจะบุกบ้านคุณแล้ว
พร้อมหรือยัง เครื่องซักผ้าอัจฉริยะ กำลังจะบุกบ้านคุณแล้วพร้อมหรือยัง เครื่องซักผ้าอัจฉริยะ กำลังจะบุกบ้านคุณแล้ว
พร้อมหรือยัง เครื่องซักผ้าอัจฉริยะ กำลังจะบุกบ้านคุณแล้วIam Champooh
 
คลาสและการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุเบื้องต้น2
คลาสและการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุเบื้องต้น2คลาสและการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุเบื้องต้น2
คลาสและการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุเบื้องต้น2Iam Champooh
 
โครงการ จิตอาสาพัฒนาวัดบ้านเรา
โครงการ จิตอาสาพัฒนาวัดบ้านเราโครงการ จิตอาสาพัฒนาวัดบ้านเรา
โครงการ จิตอาสาพัฒนาวัดบ้านเราIam Champooh
 
PPT โครงการ จิตอาสาพัฒนาวัดบ้านเรา
PPT โครงการ จิตอาสาพัฒนาวัดบ้านเราPPT โครงการ จิตอาสาพัฒนาวัดบ้านเรา
PPT โครงการ จิตอาสาพัฒนาวัดบ้านเราIam Champooh
 
บทที่ 3-วิธีการดำเนินงาน
บทที่ 3-วิธีการดำเนินงานบทที่ 3-วิธีการดำเนินงาน
บทที่ 3-วิธีการดำเนินงานIam Champooh
 
บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้องIam Champooh
 
โครงการ Is3
โครงการ Is3โครงการ Is3
โครงการ Is3Iam Champooh
 
ทร พย ส_นทางป_ญญา
ทร พย ส_นทางป_ญญาทร พย ส_นทางป_ญญา
ทร พย ส_นทางป_ญญาIam Champooh
 
ทร พย ส_นทางป_ญญา
ทร พย ส_นทางป_ญญาทร พย ส_นทางป_ญญา
ทร พย ส_นทางป_ญญาIam Champooh
 
ผลวิจัยเผย เกมที่ยากไปส่งผลให้คนเล่นก้าวร้าวขึ้น
ผลวิจัยเผย เกมที่ยากไปส่งผลให้คนเล่นก้าวร้าวขึ้นผลวิจัยเผย เกมที่ยากไปส่งผลให้คนเล่นก้าวร้าวขึ้น
ผลวิจัยเผย เกมที่ยากไปส่งผลให้คนเล่นก้าวร้าวขึ้นIam Champooh
 

More from Iam Champooh (13)

Ulo กล้องวงจรปิดนกฮูก ที่คุณจะต้องตกหลุมรัก
Ulo กล้องวงจรปิดนกฮูก ที่คุณจะต้องตกหลุมรักUlo กล้องวงจรปิดนกฮูก ที่คุณจะต้องตกหลุมรัก
Ulo กล้องวงจรปิดนกฮูก ที่คุณจะต้องตกหลุมรัก
 
พร้อมหรือยัง เครื่องซักผ้าอัจฉริยะ กำลังจะบุกบ้านคุณแล้ว
พร้อมหรือยัง เครื่องซักผ้าอัจฉริยะ กำลังจะบุกบ้านคุณแล้วพร้อมหรือยัง เครื่องซักผ้าอัจฉริยะ กำลังจะบุกบ้านคุณแล้ว
พร้อมหรือยัง เครื่องซักผ้าอัจฉริยะ กำลังจะบุกบ้านคุณแล้ว
 
คลาสและการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุเบื้องต้น2
คลาสและการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุเบื้องต้น2คลาสและการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุเบื้องต้น2
คลาสและการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุเบื้องต้น2
 
โครงการ จิตอาสาพัฒนาวัดบ้านเรา
โครงการ จิตอาสาพัฒนาวัดบ้านเราโครงการ จิตอาสาพัฒนาวัดบ้านเรา
โครงการ จิตอาสาพัฒนาวัดบ้านเรา
 
PPT โครงการ จิตอาสาพัฒนาวัดบ้านเรา
PPT โครงการ จิตอาสาพัฒนาวัดบ้านเราPPT โครงการ จิตอาสาพัฒนาวัดบ้านเรา
PPT โครงการ จิตอาสาพัฒนาวัดบ้านเรา
 
งาน
งานงาน
งาน
 
บทที่ 3-วิธีการดำเนินงาน
บทที่ 3-วิธีการดำเนินงานบทที่ 3-วิธีการดำเนินงาน
บทที่ 3-วิธีการดำเนินงาน
 
บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
โครงการ Is3
โครงการ Is3โครงการ Is3
โครงการ Is3
 
IT NEWS
IT NEWSIT NEWS
IT NEWS
 
ทร พย ส_นทางป_ญญา
ทร พย ส_นทางป_ญญาทร พย ส_นทางป_ญญา
ทร พย ส_นทางป_ญญา
 
ทร พย ส_นทางป_ญญา
ทร พย ส_นทางป_ญญาทร พย ส_นทางป_ญญา
ทร พย ส_นทางป_ญญา
 
ผลวิจัยเผย เกมที่ยากไปส่งผลให้คนเล่นก้าวร้าวขึ้น
ผลวิจัยเผย เกมที่ยากไปส่งผลให้คนเล่นก้าวร้าวขึ้นผลวิจัยเผย เกมที่ยากไปส่งผลให้คนเล่นก้าวร้าวขึ้น
ผลวิจัยเผย เกมที่ยากไปส่งผลให้คนเล่นก้าวร้าวขึ้น
 

ISโครงการจิตอาสาพัฒนาวัดบ้านเรา(ใหม่)

  • 1. โครงการ เรื่อง จิตอาสาพัฒนาวัดบ้านเรา จัดทําโดย 1. นายจิตติ ทุมเชียงลา เลขที่ 1 2. นางสาวไอรินทร์ นิธิภัทร์พรปัญญา เลขที่ 14 3. นางสาวปณิดา ธนกิจ เลขที่ 15 4. นางสาวลาภิศ อุทาทิพย์ เลขที่ 18 5. นางสาวสุปราณี บุญมี เลขที่ 19 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/1 เสนอ คุณครูทรงศักดิ์ โพธิ์เอี่ยม รายวิชา I30903 IS3 โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์กาญจนบุรี ในพระ ราชูปถัมภ์สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาสยามบรมราชกุมารี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2558
  • 2. ก คํานํา โครงการนี้ส่วนหนึ่งของรายวิชา IS3 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่6เพื่อช่วยทาให้วัดมีความสะอาด สวยงาม น่าเข้ามาทาบุญ และ ได้จัดทาโครงการ ที่เป็นประโยชน์ต่อสังคม โดย ทากิจกรรม ผ่านกิจกรรมจิตอาสา เพื่อให้นักเรียนมีคุณธรรม และ สามารถดารงชีวิตอยู่ในสังคมอยู่ได้โดย สงบสุข ทั้งนี้ในรายงานนี้มีเนื้อหาประกอบด้วยการดาเนินกิจกรรมจิตอาสาในโครงการจิตอาสา พัฒนาวัดบ้านเรา ผู้จัดทา ได้เลือกหัวข้อนี้ ในการทากิจกรรมจิตอาสา เนื่องมาจากเป็นเรื่องที่ น่าสนใจ ในการที่จะช่วยเหลือสังคม คณะผู้จัดทา
  • 3. ข กิตติกรรมประกาศ โครงการนี้ส่วนหนึ่งของรายวิชา IS3 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่6เพื่อช่วยทาให้วัดมีความสะอาด สวยงาม น่าเข้ามาทาบุญ และ ได้จัดทาโครงการ ที่เป็นประโยชน์ต่อสังคม โดย ทากิจกรรม ผ่านกิจกรรมจิตอาสา เพื่อให้นักเรียนมีคุณธรรม และ สามารถดารงชีวิตอยู่ในสังคมอยู่ได้โดย สงบสุข ทั้งนี้ ในรายงานนี้มีเนื้อหาประกอบด้วย การดาเนินกิจกรรมจิตอาสาใน โครงการจิต อาสาพัฒนาวัดบ้านเรา ผู้จัดทาได้เลือกหัวข้อนี้ ในการทากิจกรรมจิตอาสา เนื่องมาจากเป็นเรื่อง ที่น่าสนใจ ในการที่จะช่วยเหลือสังคม ผู้จัดทาต้องขอขอบคุณคุณครูทรงศักดิ์ โพธิ์เอี่ยม ผู้ให้ความรู้ และ แนวทางการศึกษา คุณเดชชนะ สัมมาทิตฐิ ที่ให้ความช่วยเหลือในเรื่องการเดินทางไป-กลับ ระหว่างห้วย สะพานและวัดบ้านหลุมหิน คุณปาลีรัตน์ นิธิภัทร์พรปัญญา ที่ให้ความช่วยเหลือ ในเรื่องของการทาความสะอาด บริเวณศาลาวัด และขอขอบคุณคุณเสวย สัมมาทิตฐิ ที่ให้ความอนุเคราะห์ในด้านอุปกรณ์การทาความสะอาด หวังว่ารายงานฉบับนี้จะให้ความรู้ และ เป็นประโยชน์แก่ผู้อ่านทุก ๆ ท่าน หากมี ข้อเสนอแนะประการใด ผู้จัดทาขอรับไว้ด้วยความขอบพระคุณยิ่ง และ หากมีข้อข้อผิดพลาด ประการใดผู้จัดทาขออภัยมา ณ ที่นี้ ด้วย คณะผู้จัดทา
  • 4. ค บทคัดย่อ เรื่อง จิตอาสาพัฒนาวัดบ้านเรา กลุ่มสาระการเรียนรู้ IS3 ผู้จัดทํา นายจิตติ ทุมเชียงลา นางสาวไอรินทร์ นิธิภัทร์พรปัญญา นางสาวปณิดา ธนกิจ นางสาวลาภิศ อุทาทิพย์ นางสาวสุปราณี บุญมี ครูที่ปรึกษา ครูทรงศักดิ์ โพธิ์เอี่ยม สถานศึกษา โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์ กาญจนบุรี ปีการศึกษา 2558
  • 5. สารบัญ เรื่อง หน้า คานา.......................................................................................................................................... ก กิตติกรรมประกาศ.....................................................................................................................ข บทคัดย่อ....................................................................................................................................ค บทที่ 1บทนา...............................................................................................................................1 หลักการและเหตุผล ................................................................................................................1 การบูรณาการกับปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง.............................................................................1 วัตถุประสงค์ของโครงการ......................................................................................................1 สถานที่ดาเนินการ...................................................................................................................2 ขั้นตอนการดาเนินงาน............................................................................................................2 ระยะเวลาดาเนินงาน...............................................................................................................2 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ.....................................................................................................2 บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง..........................................................................................................3 จิตอาสา...................................................................................................................................3 วัด...........................................................................................................................................4 ข้อควรปฏิบัติในการไปวัดไทย...............................................................................................5 ความสาคัญของพระพุทธศาสนาต่อสังคมไทย........................................................................5 บทที่ 3 วิธีการดาเนินงาน.........................................................................................................14 วัสดุอุปกรณ์..........................................................................................................................14
  • 6. วิธีการดาเนินงาน..................................................................................................................15 บทที่ 4 ผลการดาเนินงาน..........................................................................................................18 บทที่ 5 สรุปผลและอภิปราย.....................................................................................................19 อภิปรายผลการดาเนินงาน.....................................................................................................19 ข้อเสนอแนะ.........................................................................................................................19 บรรณานุกรม..............................................................................................................................ง ภาคผนวก...................................................................................................................................จ
  • 7. สารบัญรูปภาพ รูปภาพ หน้า 3.1 เดินเข้าไปที่วัดห้วยสะพาน………………………….………...…………………...……15 3.2 เดินเข้าไปที่วัดห้วยสะพาน………………….………………...……………….….……15 3.3 น้ามารับไปวัดบ้านหลุมหิน…………...…………………………………….…….……15 3.4 เดินทางไปวัดบ้านหลุมหิน………………………………….……………………. ..…16 .3.5 เริ่มทาความสะอาด…………………………………………………….………………16 3.6 เริ่มทาความสะอาด…………………………………………………….……….………16 3.7 เริ่มทาความสะอาด…………………………………………………….……….………16 3.8 เดินทางกลับบ้าน………………………..………………………………….…………..17 3.9 จัดทาเว็บไซต์…………………………………………………………………………..17
  • 8. 1 บทที่ 1บทนํา หลักการและเหตุผล การฝึกเข้าวัดทาบุญ ช่วยกิจกรรมสาธารณะ ถึงแม้จะไม่การทากิจกรรมเพื่อนามาทา โครงงาน แต่เป็นกิจกรรมที่ทาได้ในทุกวัน ปัจจุบันวัยรุ่นไทยไม่ใส่ใจที่จะอนุรักษ์วัฒนธรรม ไทยอันดีงาม การช่วยปลูกฝั่งสิ่งนี้จึงเป็นสิ่งที่ดี และสมควรทาเพื่อนรักษาวัฒนธรรมประเทศ ของเรา คณะผู้จัดทาเล็งเห็นความสาคัญ จึงอยากมีส่วนช่วยในการสร้างจิตสานึกเพื่อสังคมที่ดี จึง ได้จัดทาโครงการขึ้น ถึงจะเป็นส่วนเล็กๆที่ได้มีส่วนในการทาสิ่งดีๆเพื่อสังคม แต่ในอนาคตถ้า มีบุคคล หรือ ผู้สนใจมาสานต่อ ก็จะเป็นการช่วยกันสืบสานวัฒนธรรมที่ดีงามและได้บุญด้วย การบูรณาการกับปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง 1. ความพอประมาน ใช้อุปกรณ์ทาความสะอาดที่มีในบ้าน 2. ความมีเหตุผล เลือกวัดที่จะไปบาเพ็ญประโยชน์ 3. การทีภูมิคุ้มกันที่ดี ทาให้ที่วัดมีความสะอาดน่าเข้า ประชาชนละแวกใกล้ๆ จะได้เข้ามาทาบุญเยอะๆ เงื่อนไข 1. เงื่อนไขความรู้ รับรู้ถึงปัญหาความสกปรกภายในวัด 2. เงื่อนไขคุณธรรม เป็นการทาความสะอาดให้ปราศจากเชื้อโรค วัตถุประสงค์ของโครงการ 1. เพื่อช่วยทาให้วัดมีความสะอาดสวยงาม น่าเข้ามาทาบุญ 2. เพื่อให้ช่วยกันรักษาความสะอาดภายในวัด
  • 9. 2 สถานที่ดําเนินการ วัดบ้านหลุมหิน ตาบลบ้านหลุมหิน อาเภอพนมทวน จังหวัดกาญจนบุรี ขั้นตอนการดําเนินงาน 1. สมาชิกกลุ่มประชุมวางแผนการทาโครงการ 2. หาข้อมูลเกี่ยวกับสถานที่วัดที่จะไปทากิจกรรม 3. นัดแนะสถานที่และวันเวลาที่จะไปทากิจกรรม 4. จัดหาอุปกรณ์ทาความสะอาด 5. ไปทากิจกรรมสาธารณะประโยชน์ที่วัดบ้านหลุมหิน อ.พนมทวน 6. สรุปโครงการ 7. จัดทาเว็บไซต์เผยแพร่โครงการ ระยะเวลาดําเนินงาน วันที่19 กันยายน พ.ศ. 2558 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 1. วัดมีความสะอาดสวยงาม น่าเข้ามาทาบุญ 2. ทุกคนได้รับรู้โครงการนี้
  • 10. 3 บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง จิตอาสา หรือ จิตสาธารณะ ( public consciousness หรือ Public mind) หมายถึง จิตสานึกเพื่อส่วนรวม เพราะคาว่า “สาธารณะ” คือ สิ่งที่มิได้เป็นของผู้หนึ่งผู้ใด จิตสาธารณะ จึงเป็นความรู้สึก ถึงการเป็นเจ้าของ ในสิ่งที่เป็นสาธารณะในสิทธิ และหน้าที่ที่จะดูแล และ บารุง รักษาร่วมกัน จิตอาสา หรือ มีจิตสาธารณะ ยั ง หมายรวมถึง จิตของคนที่รู้จักความเสียสละ ความร่วมมือ ร่วมใจ ใ นการทาประโยชน์ เพื่อส่วนรวม จะช่วยลดปัญหาที่เกิดขึ้นในสังคม ช่วยกันพัฒนาคุณภาพชีวิต เพื่อเป็นหลักการในการดาเนินชีวิต ช่วยแก้ปัญหาและสร้างสรรค์ ให้เกิดประโยชน์สุขแก่สังคม เช่น การช่วยกันดูแลรักษาสิ่งแวดล้อม โดยการไม่ทิ้งขยะลงใน แหล่งน้า การดูแลรักษาสาธารณสมบัติ เช่น โทรศัพท์สาธารณะ หลอดไฟฟ้าที่ให้ความสว่าง ตามถนนหนทาง แม้แต่การประหยัดน้า ประปา หรือไฟฟ้า ที่เป็นของส่วนรวม โดยใช้ให้เกิด ประโยชน์อย่างคุ้มค่า ตลอดจนช่วยกันดูแลรักษา ให้ความช่วยเหลือผู้ตกทุกข์ได้ยาก หรือผู้ที่ ร้องขอความช่วยเหลือเท่าที่จะทาได้ ตลอดจนร่วมมือกระทาเพื่อไม่ให้เกิดปัญหา หรือช่วยกัน แก้ปัญหา แต่ต้องไม่ขัดต่อกฎหมาย เพื่อรักษาประโยชน์ส่วนรวม ราชบัณฑิตยสถาน ด้ให้ความหมายของ จิตสานึกทางสังคมหรือจิตสานึกสาธารณะ ว่า คือ การตระหนักรู้ และ คานึงถึงส่วนรวมร่วมกัน หรือการคานึงถึงผู้อื่นที่ร่วมสัมพันธ์เป็น กลุ่มเดียวกัน สานักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติได้ให้ความหมายว่า การรู้จักเอาใจใส เป็นธุระ และเข้าร่วมในเรื่องของส่วนรวมที่เป็นประโยชน์ต่อ ประเทศชาติ มี ความสานึก และยึดมั่นใน ระบบคุณธรรม และจริยธรรมที่ดีงาม ละอายต่อสิ่งผิด เน้นความเรียบร้อย ประหยัดและมีความ สมดุลระหว่างมนุษย์กับธรรมชาติ
  • 11. 4 สรุป จิตอาสา หรือจิตสาธารณะ หรือจิตสานึกสาธารณะ คือ จิตสานึก (Conscious) เป็นการตระหนักรู้ตัว หรือเป็นจิตส่วนที่รู้ตัว รู้ว่าทาอะไร อยู่ที่ไหน เป็นอย่างไร ขณะที่ตื่นอยู่ นั่นเอง ส่วน คาว่า สาธารณะ ( Public ) เป็นการแสดงออกเพื่อสังคมส่วนรวม เป็นการ บริการชุมชน ทาประโยชน์เพื่อสังคม ถ้าเป็นสิ่งของก็ต้องใช้ประโยชน์ร่วมกัน เมื่อนาสองคามา รวม หมายถึง การตระหนักรู้ตน ที่จะทาสิ่งใดเพื่อเห็นแก่ประโยชน์ส่วนรวม วัด คือคาเรียก สถานที่สาหรับประกอบกิจกรรมทางศาสนาของ ผู้ที่นับถือศาสนาพุทธ ในประเทศไทย ,กัมพูชา และลาว ภายในวัดจะมี กุฏิ ซึ่งใช้เป็นเป็นที่อาศัยของนักบวชในศาสนา พุทธ ซึ่งก็ คือ พระสงฆ์ อีกทั้งยังมีเจดีย์ พระอุโบสถ ศาลาการเปรียญ เมรุ ซึ่งใช้สาหรับ ประกอบศาสนพิธีต่างๆ เช่น การเวียนเทียน การสวดมนต์ การทาสมาธิ วัดโดยส่วนใหญ่นิยมแบ่งเขตภายในวัดออกเป็นสองส่วนคือ พุทธาวาส และสังฆาวาส โดยส่วนพุทธาวาส จะเป็นที่ตั้งของ สถูปเจดีย์ อุโบสถ สถานที่ ประกอบกิจกรรมทาง พระพุทธศาสนา และ ส่วนสังฆาวาส จะเป็นส่วนกุฎิสงฆ์ สาหรับพระภิกษุสงฆ์ สามเณร จา พรรษา และในปัจจุบันแทบทุกวัดจะเพิ่มส่วนฌาปนสถานเข้าไปด้วย เพื่อประโยชน์ในด้านการ ประกอบพิธีทางศาสนาของชุมชน เช่น การฌาปนกิจศพ โดยในอดีตส่วนนี้จะเป็นป่าช้า ซึ่ง อยู่ติดหรือใกล้วัด ตามธรรมเนียมของแต่ละท้องถิ่น ซึ่งส่วนใหญ่กลุ่มฌาปนสถานในวัดพุทธ ศาสนาในประเทศไทยจะตั้งอยู่บนพื้นที่ ๆ เป็นป่าช้าเดิม ปัจจุบัน วัดไทยในชนบทยังคงเป็นศูนย์รวมของคนในชุมชน ซึ่งต่างจากในเมืองใหญ่ที่ วัดกลายเป็นเพียงสถานที่จาพรรษาของพระสงฆ์และเพื่อประกอบพิธีทางศาสนาเท่านั้น พระอารามหลวง วัดในประเทศไทยแบ่ง ได้เป็นสองประเภทใหญ่ ได้แก่ พระอาราม หลวง หรือ วัดหลวง คือ วัดที่พระเจ้าแผ่นดินทรงสร้าง หรือ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้เข้า จานวนในบัญชีเป็นพระอารามหลวง และ วัดราษฎร์ คือวัดที่ได้รับพระราชทานที่วิสุงคามสีมา
  • 12. 5 แต่มิได้เข้าบัญชีเป็นพระอารามหลวง หรือ วัดที่พุทธศาสนิกร่วมใจบริจาคทรัพย์และที่ดิน ถวายเป็นสังฆาราม การจัดลาดับชั้นของพระอารามหลวงมีดังต่อไปนี้ 1 พระอารามหลวงชั้นเอก มีสามชนิด ได้แก่ ราชวรมหาวิหาร ราชวรวิหาร และ วรมหาวิหาร 2. พระอารามหลวงชั้นโท มีสี่ชนิด ได้แก่ ราชวรมหาวิหาร ราชวรวิหาร วรมหาวิหาร และวรวิหาร 3. พระอารามหลวงชั้นตรี มีสามชนิด ได้แก่ ราชวรวิหาร วรวิหาร และสามัญ (ไม่มี สร้อยต่อท้าย) ข้อควรปฏิบัติในการไปวัดไทย ควรแต่งกายให้สุภาพเรียบร้อยและสาหรับการเตรียมอาหารไปถวายพระภิกษุ ต้องเป็น อาหารที่สุกแล้ว หรือ จาพวกผลไม้ อย่าถวายอาหารที่ สุก ๆ ดิบ ๆ และ ควรระมัดระวัง เนื้อสัตว์ต้องห้าม เช่น เนื้อมนุษย์ เนื้อช้าง เนื้อม้า เนื้อสุนัข เนื้อราชสีห์ เนื้องู เนื้อเสือโคร่ง เนื้อเสือเหลือง เนื้อเสือดาว เนื้อหมี ไปถวายพระภิกษุ เพราะเป็นเนื้อต้องห้ามสาหรับพระภิกษุ และสุดท้าย ไม่ควรนาเด็กอ่อนไปวัดด้วย เพราะเด็กอาจจะร้องไห้สร้างความราคาญแก่ผู้อื่นได้ ความสําคัญของพระพุทธศาสนาต่อสังคมไทย มีดังนี้ 1. พระพุทธศาสนาเป็นศาสนาที่ชาวไทยส่วนใหญ่นับถือ ประชากรส่วนใหญ่ของ ประเทศ ร้อยละ 95 นับถือพระพุทธศาสนาสืบต่อมาจากบรรพบุรุษไทย นับตั้งแต่ไทยมี ประวัติศาสตร์ชัดเจน ชาวไทยก็นับถือ พระพุทธศาสนาอยู่แล้ว หลักฐานโบราณ ได้แก่ โบราณสถาน ที่เป็นศาสนสถาน โบราณวัตถุ เช่น พระธรรมจักร ใบเสมา พระพุทธรูป ศิลาจารึก เป็นต้น แสดงว่าผู้คนในดินแดนไทยรับนับถือพระพุทธศาสนา (ทั้งนิกายเถรวาท
  • 13. 6 และมหายาน ) มาตั้งแต่ พุทธศตวรรษที่ 12 กล่าวได้ว่ า พระพุทธศาสนา เป็นศาสนา ประจา ชาติไทยมาช้านานแล้ว 2. พระพุทธศาสนาเป็นรากฐานสาคัญของวัฒนธรรมไทย เนื่องจากชาวไทยนับถือ พระพุทธศาสนา มาช้านา จนหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ได้หล่อหลอม ซึมซับ ลงใน วิถีไทย กลายเป็น รากฐานวิถีชีวิตของ คนไทยในทุกด้าน ทั้งด้านวิถีชีวิต ความเป็นอยู่ ภาษา ขนบธรรมเนียมประเพณีและศีลธรรม ดังนี้ 1) วิถีชีวิตของคนไทย คนไทยมีวิถีการดาเนินชีวิตที่เป็นเอกลักษณ์ ได้แก่ การ แสดงความเคารพ การมีน้าใจเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ ความกตัญญูกตเวที การไม่อาฆาตหรือมุ่ง ร้ายต่อผู้อื่น ความอดทน และ การเป็นผู้มีอารมณ์แจ่มใส รื่นเริง เป็นต้น ล้วนเป็น อิทธิพลจาก หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ทั้งสิ้น ซึ่งได้หล่อหลอม ให้คนไทยมี ลักษณะเฉพาะตัว เป็นเอกลักษณ์ของคนไทยที่นานาชาติยกย่องชื่นชม 2) ภาษาและวรรณกรรมไทย ภาษาทางพระพุทธศาสนา เช่น ภาษาบาลีมีอยู่ใน ภาษาไทย จานวนมาก วรรณกรรม ไทย หลายเรื่อง มีที่มา จากหลักธรรมทาง พระพุทธศาสนา เช่น ไตรภูมิกถา ในสมัยสุโขทัย กาพย์มหาชาติ นันโทปนันทสูตร คาหลวง พระมาลัยคาหลวง ปุณโณวาทคาฉันท์ ในสมัยอยุธยา เป็นต้น 3) ขนบธรรมเนียมประเพณีไทย ประเพณีไทยที่มาจากความเลื่อมใสศรัทธาใน พระพุทธศาสนามีอยู่มากมาย เช่น การอุปสมบท ประเพณีทอดกฐิน ประเพณีแห่เทียน พรรษา ประเพณีชักพระ เป็นต้น กล่าวได้ว่า ขนบธรรมเนียมประเพณีที่เกี่ยวข้องกับ พระพุทธศาสนามีความผูกพันกับคนไทยตั้งแต่เกิดจนตาย 4) ศิลปกรรมไทย พระพุทธศาสนา เป็นบ่อเกิดของศิลปะแขนงต่างๆ วัดเป็น แหล่งรวมศิลปกรรมไทย ทางด้านสถาปัตยกรรม เช่นรูปแบบการเสร้างเจดีย์ พระปรางค์ วิหาร ที่งดงามมาก เช่น วัดพระศรีรัตนศาสดาราม ( วัดพระแก้ว) กรุงเทพมหานคร ประติมากรรม ได้แก่ งานปั้นและหล่อพระพุทธรูป เช่น พระพุทธลีลาในสมัยสุโขทัย
  • 14. 7 พระพุทธชินราช วัดพระศรีมหาธาตุ จังหวัดพิษณุโลก จิตรกรรม ได้แก่ ภาพวาดฝา ผนังและเพดานวัดต่างๆ เช่น จิตรกรรมฝาผนัง วัดเบญจมบพิตร กรุงเทพมหานคร 3. พระพุทธศาสนาเป็นศูนย์รวมจิตใจของสังคมไทย พระสงฆ์ เป็นผู้นาทางจิตใจของ ประชาชน เป็นศูนย์กลางของความเคารพศรัทธาของพุทธศาสนิกชนให้คนไทยประพฤติปฏิบัติ ตนอยู่ในศีลธรรม อันดีงาม นอกจากนี้วัดยังเป็นศูนย์กลางของชุมชน เป็นสถานที่ประกอบ กิจกรรมของชุมชน สร้างความสามัคคีในชุมชน 4. พระพุทธศาสนา เป็นหลักในการ พัฒนาชาติไทย หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา มุ่งเน้นการพัฒนาคนให้เป็นบุคคลที่มีคุณภาพทั้งด้านสุขภาพกาย สุขภาพจิต ใช้คุณธรรม และ สติปัญญาในการดาเนินชีวิต เพื่อพัฒนาตนเอง และ ร่วมมือ ร่วมใจกัน พัฒนาชุมชน พัฒนา สังคม และพัฒนาชาติบ้านเมืองให้เจริญรุ่งเรือง นอกจากนี้พระสงฆ์หลายท่านยังมีบทบาทสาคัญ ในการเป็นผู้นาชุมชนพัฒนาในด้านต่างๆ เช่น การอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ การอนุรักษ์ภูมิ ปัญญา และวั ฒนธรรมท้องถิ่น วัดเป็นแหล่งการเรียนรู้ของสังคมไทยตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน ชาวไทยได้บวชเรียนในพระพุทธศาสนา ได้ฝึกฝนอบรมตนให้เป็นคนดี เป็นกาลังสาคัญในการ พัฒนาชาติไทย 5. พระพุทธศาสนาเป็นหนึ่งในสามสถาบันหลักของชาติไทย สถาบันหลักของชาติไทยที่ คนไทยทุกคน ให้ความเคารพนับถือ ประกอบด้วยชาติ ศาสนา และ พระมหากษัตริย์ รัฐธรรมนูญไทยได้กาหนดให้พระมหากษัตริย์ ทรงเป็น พุทธมามกะ หมายถึง พระประมุข ของชาติไทยที่ทรงนับถือพระพุทธศาสนา เช่นเดียวกับประชาชนส่วนใหญ่ของประเทศ และ ยัง เป็นอัครศาสนูปถัมภก คือ ทรงให้ความอุปถัมภ์ศาสนาทุกศาสนาในประเทศไทย
  • 15. 8 ความสาคัญของพระพุทธศาสนาในฐานะเป็นสถาบันหลักของสังคมไทย สถาบันพระพุทธศาสนาเป็นสถาบันหลักสถาบันหนึ่งของสังคมไทย คนไทยต่างให้การ ยอมรับนับถือมาตั้งแต่โบราณกาล และมีการสืบทอดมาจนถึงทุกวันนี้ โดยมีพระมหากษัตริย์ ทรงเป็นองค์อัครศาสนูปถัมภก เมื่อพระพุทธศาสนาได้เข้ามาประดิษฐานมั่นคงในสังคมไทย วัดและพระสงฆ์มีบทบาท เกี่ยวข้องกับการดาเนินชีวิต ของคนไทย วัดจึงได้กลายเป็นส่วนหนึ่ง ของสังคม วัดเป็น ศูนย์กลางของการอบรมสั่งสอนจริยธรรม เป็นสถาบันสาคัญทั้งในด้านการศึกษา สังคม และ เป็นบ่อเกิดของศิลปะสาขาต่าง ๆ ส่วนพระสงฆ์ผู้ทาหน้าที่สืบทอดพระพุทธศาสนาก็ได้รับการ ยกย่องในสังคม ในฐานะเป็นผู้ทรงคุณธรรมควรแก่การเคารพและเชื่อฟังซึ่งสรุปได้ ดังนี้ ด้านการศึกษา วัดเป็นสถานศึกษาเล่าเรียน โดยพระภิกษุสงฆ์ทาหน้าที่เป็นผู้อบรมสั่งสอน ให้ความรู้ แม้ในปัจจุบัน พระสงฆ์ก็ยังคงทาหน้าที่สอนพระพุทธศาสนาในโรงเรียน ด้านสังคม วัดเป็นศูนย์กลางของชุมชน เป็นที่ชุมนุม เพื่อทาบุญฟังพระธรรมเทศนา ตลอดจนการพบปะสังสรรค์ พระสงฆ์เป็นตัวแทนของสถาบันพระพุทธศาสนาที่มีบทบาท สาคัญในการเป็นผู้นาทางจิตใจของประชาชน ด้านศิลปกรรม วัดเป็นที่รวมแห่งศิลปกรรมประเภทต่าง ๆ เช่น ประติมากรรมปูน ปั้น ศิลปกรรมแกะสลักไม้ จิตรกรรมฝาผนัง ตลอดถึงถาวรวัตถุต่าง ๆ ที่ศิลปินไทยได้ถ่ายทอด ไว้ที่โบสถ์ วิหาร เจดีย์ องค์พระพุทธรูป ซึ่งสะท้อนให้เห็นถึงศรัทธาที่มีต่อพระพุทธศาสนา พระพุทธศาสนาในฐานะเป็นสภาพแวดล้อมที่กว้างขวางและครอบคลุมสังคมไทย จากการศึกษาประวัติศาสตร์ของชนชาติไทย พบว่าประเทศไทยเป็นส่วนหนึ่งของดิน เแดน ที่เรียกว่าสุวรรณภูมิ เป็นที่ตั้งมั่นของพระพุทธศาสนามาเป็นเวลายาวนาน คาสอนของ พระพุทธศาสนาได้เผยแผ่ไปทุกภูมิภาค ของประเทศ และสัมพันธ์กับวิถีชีวิตของผู้คน จน
  • 16. 9 ก่อให้เกิดขนบธรรมเนียม ประเพณีวัฒนธรรม ศิลปกรรม สถาปัตยกรรม อันเนื่องด้วย พระพุทธศาสนา จนกลายมาเป็นสมบัติของชาติให้พุทธศาสนิกชนได้เกิดความภาคภูมิใจ พระพุทธศาสนาจึงมีความสัมพันธ์กับชีวิตประจาวันอย่างใกล้ชิดอยู่แล้วโดยปริยาย แม้ มรรยาทต่าง ๆ ที่คนไทยถูกสอนให้เคารพอาวุโส มีการยืดมั่น และ ปฏิบัติตนให้ถูกต้องตาม ขนบธรรมเนียม ประเพณีก็ล้วนมาจากหลักเกณฑ์ทางพระพุทธศาสนาทั้งสิ้น ความสาคัญของวัดที่มีต่อวิถีชีวิตของคนไทย สังคมไทยเคารพศรัทธา ต่อพระภิกษุมาก เนื่องเพราะเชื่อว่า พระภิกษุ นั้นเป็นผู้มี ความรู้มากกว่าฆราวาส เป็นผู้ทรงศีล ย่อมพูดแต่สิ่งเท็จจริง และเป็นครูบาอาจารย์ ความสัมพันธ์ ระหว่างคนในชุมชนที่มีต่อวัดจึงผูกพันแนบแน่นกับวิถีชีวิตของ ทุกคนนับแต่เกิดจนตาย คาสั่ง สอนจึงได้รับความเชื่อถืออย่างไร้ความคลางแคลงใจ ดังนั้นพระสงฆ์จึงกลายเป็นที่พึ่งของสังคม ในทุกๆเรื่อง ไม่ว่าในทางที่เป็นมงคลและอัปมงคล ส่วน วัด นั้นเป็นสถานที่รับใช้บริการงานประเพณีการทาบุญต่างๆเพื่อให้เกิดกุศลบุญแก่ ฆราวาส เนื่องในวันสาคัญทางศาสนาซึ่งมีอยู่แทบตลอดทั้งปี รวมทั้งเป็น สถานที่ให้การศึกษาแก่ชุมชน นับแต่การบวชเณรจนถึงบวชเป็นพระภิกษุ สถานที่ให้ความสงบเยือกเย็นทางใจ เช่น การแสดงพระธรรมเทศนา การฝึกปฏิบัติ ธรรม สมาธิ เป็นสถานที่ชุมนุมของสังคมทุกกาลวาระ เช่น การประชุมกรรมการหมู่บ้าน งานเทศกาล รื่นเริงที่มีการ ออกร้าน มีมหรสพต่างๆ เป็นต้น เป็นสถานที่ประกอบพิธีกรรมเนื่องในการตาย เช่นการตั้งศพสวดพระอภิธรรมการเผาศพ
  • 17. 10 ความสัมพันธ์ระหว่างวัดกับวัง พระมหากษัตริย์ในอุดมคติของสังคมไทย จะสมบูรณ์แบบได้นั้น ต้องแสดงศักยภาพ ของพระองค์ใน ๒ ลักษณะ คือ ความเป็นพระจักรพรรดิราช ที่สามารถปกป้องปวงประชาให้ อยู่เย็นเป็นสุขจากศัตรู และ ความเป็นพระมหาธรรมราชา หมายถึง พระราชาผู้ทรงคุณธรรม ดังนั้นพระมหากษัตริย์ไทยทุกพระองค์จึงทรงดาเนินนโยบายตามแนวความคิดดัง กล่าวนี้มาโดย ตลอด โดยการสร้างบูรณปฏิสังขรณ์ วัดวาอารามต่างๆก็เพื่อส่งเสริมให้ภาพลักษณ์แห่ง ความ เป็น “ ธรรมราชา ” ของพระองค์สมบูรณ์แบบขึ้น นอกเหนือจากการอาศัยศาสนามาช่วยใน พิธีกรรมต่างๆนั่นเอง ความสัมพันธ์ระหว่างบ้าน วัด และวัง ความสัมพันธ์ที่เกิดขึ้นในสังคมไทยดังกล่าวมาทั้งหมด มีความเกี่ยวเนื่องกับสถาบันหลัก ๓ ประเภท คือ บ้าน วัด และ วัง สถาบันทั้ง ๓ หน่วยนี้มีความสัมพันธ์เกี่ยวข้องซึ่งกันและกัน ตลอดเวลา โดย “ วัง ” นั้นอยู่ในสถานะของที่ประทับแห่งกษัตริย์ หรือ ผู้นาของสังคมและ ประเทศชาติ วังจึงเป็นเสมือนหนึ่งสัญลักษณ์แห่งศูนย์รวมในทางอาณาจักร ในขณะที่ “ บ้าน ” เป็นที่พักอาศัยของเหล่าทวยราษฎร เป็นหนึ่งในโครงสร้างพื้นฐาน สาหรับ “ วัด ” อันเป็นที่ตั้ง ของพุทธสถานนั้น ก็จะดารงอยู่ในฐานะศูนย์รวมทางจิตใจ ที่เป็นตัวกลางเชื่อมระหว่าง “ วัง ” กับ “บ้าน” หรืออีกนัยยะหนึ่งระหว่าง “กษัตริย์” กับ “ ราษฎร ” เมื่อไทยรับเอาอิทธิพลความ เชื่อในเรื่องของ “ สมมุติเทพ ” จากขอมเข้ามาใช้ในสังคมสมัยอยุธยา ภาพลักษณ์และบทบาท แห่งกษัตริย์ของไทย ยิ่งมีความสูงส่ง และ ศักดิ์สิทธิ์ยิ่ง ขึ้น จนทาให้ความสัมพันธ์ระหว่าง สถาบันกษัตริย์กับราษฎรกลับมีช่องว่างห่างกันมาก“วัด”จึงเป็นเสมือนสายใยที่เชื่อมโยงช่องว่าง ดังกล่าวนั้น วัดสาคัญๆโดยเฉพาะอย่างวัดมหาธาตุ ถูกสถาปนาขึ้น ด้วยชนชั้นปกครองทั้งสิ้น เนื่องจาก ต้องอาศัยกาลัง และทรัพย์วัสดุในการก่อสร้างจานวนมาก วัดที่พระมหากษัตริย์ทรง สร้างขึ้นจึงวิจิตรบรรจงงดงาม เมื่อวัดดังกล่าวถูกสร้างขึ้นเพื่อใช้เป็นศูนย์รวมในทางจิตใจของ ชุมชน กษัตริย์ในฐานะผู้สร้างวัด ก็ย่อมได้รับความเคารพศรัทธาและซื่อสัตย์จงรัก ภักดีจากทวย
  • 18. 11 ราษฎร์ในชุมชนนั้นโดยปริยาย อานาจและพลังมวลชนที่กษัตริย์พึงจะได้มา อาศัยการสื่อผ่าน ทางเจ้าอาวาสวัดต่างๆ นี้โดยตรง นี่คือความสัมพันธ์ระหว่างความหมายของบ้าน วัด และวัง วัดในสถานะที่เป็นศูนย์กลางของสังคมมีความสาคัญและบทบาทหน้าที่ดังนี้ คือ ๑.วัดในฐานะตัวแทนความเจริญและความมั่นคงของแผ่นดิน ๒.วัดในฐานะสถาบันผู้สืบทอดศาสนาให้ยั่งยืน ๓.วัดในฐานะสถานที่ให้การศึกษา ๔.วัดในฐานะที่พึ่งทางกายและใจของสังคม ๕.วัดในฐานะศูนย์รวมของศิลปกรรม บทวิเคราะห์ ในสมัยโบราณ วัดเป็นสถานที่ รวมจิตใจ ของคนไทย และนอกจากนั้น วัดยังเป็น สถานที่ให้ความรู้แก่คนในสมัยก่อน เพราะเเต่ก่อนยังไม่มีโรงเรียน ก็เลยใช้วัดเป็นที่ให้ความรู้ เเก่เด็กโดยมีพระเป็นผู้อบรมสั่งสอน และ วัดยังเป็นที่ชุมนุมของคนเพื่อเป็นที่ประชุมหรือเพื่อ เป็นที่ชาระจิตใจของผู้คน นับได้ว่าในสมัยก่อนวัดมีอิทธิพลมากต่อคนไทยจนมาถึงในยุคสมัย ปัจจุบันวัดก็ยังเป็นศูนย์รวมจิตใจของคนไทยมาช้านาน ซึ่งวัดจะเป็นที่รวบรวมคาสั่งสอนของ พระพุทธเจ้าต่างๆไว้มากมายนอกจากนี้วัดก็ยังเป็นศูนย์รวมความเชื่อต่างๆทางไสยศาสตร์ ของ ชาวพุทธซึ่งเป็นความเชื่อของเเต่ละบุคคล ในปัจจุบันนี้ในประเทศไทยจะมีวัดต่างๆมากมาย ที่ เกิดจากหลายเชื้อชาติที่เข้ามาอาศัย ในประเทศไทยเช่น วัดจีน ทั้งนี้ก็จะเกิดทั้งข้อดีเเละข้อเสีย ซึ่งข้อดีก็คือมีความหลากหลายทางวัฒนธรรมได้ แต่ข้อเสียคือ ความขัดเเย้งของความคิด และ วัฒนธรรมได้ ในฐานะที่เราเป็นทหารเราควรช่วยกันทะนุบารุงรักษาวัดให้มั่นคงอยู่คู่กับคนไทย เพื่อให้คนไทย ได้มีที่ยึดเหนี่ยวจิตใจ ทั้งในยามทุกข์ และ ยามสุข ดังนั้นวัดจึงเปรียบเสมือน แหล่งรวบรวมและสร้างวัฒนธรรม ซึ่งวัฒนธรรมเป็นค่านิยมและความเชื่อที่มีร่วมกันมาอย่าช้า นาน ซึ่งเป็นระบบที่เกิดขึ้นในสังคมแทบทุกสังคมของคนไทย และ กลายเป็นแนวทางในการ
  • 19. 12 กาหนดแบบแผนพฤติกรรม บรรทัดฐานของคนไทย วัฒนธรรมจึงเป็นเสมือนบุคลิกภาพ และ จิตวิญญาณของคนในสังคม ซึ่งมีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา ทหาร จึงเป็นกาลังสาคัญในการ รักษาวัด ซึ่งเป็นสมบัติของคนไทยไว้ให้คนรุ่นหลังได้ชื่นชมในความงดงามของวัฒนธรรม ของคนไทย วัด หมายถึง สถานที่ทางพระพุทธศาสนา ซึ่งปกติมีพระอุโบสถ พระวิหาร พระเจดีย์ รวมทั้งมีพระภิกษุสงฆ์อยู่อาศัย คาว่า “วัด” เป็นคาเรียกชื่อศาสนสถานแบบคาไทย โดยที่มาของคาว่า “วัด” นี้ ยังไม่มี ข้อยุติ ด้วยบางคนอธิบายว่า มาจากคาว่า “วตวา” ในภาษาบาลี แปลว่า เป็นที่สนทนาธรรม บ้างก็ว่ามาจาก “วัตร” อันหมายถึงกิจปฏิบัติหรือหน้าที่ของพระภิกษุที่พึงกระทา หรือแปล อีกอย่างว่าการจาศีล ซึ่งวัด (วัตร) ตามนัยยะนี้จึงน่าจะหมายถึงสถานที่ซึ่งพระภิกษุสงฆ์ใช้เป็น ที่จาศีลภาวนา หรือสถานที่ที่พระภิกษุสงฆ์ใช้ปฏิบัติภารกิจ ที่พึงกระทานั่นเอง แต่ก็มีบางคน สันนิษฐานว่ามาจากคาว่า “ วัดวา ” อันหมายถึง การกาหนดขอบเขตของดินแดนที่สร้างเป็น ศาสนสถาน เพราะวัดกับวามีความหมายอย่างเดียวกัน คือการสอบขนาด หรือปริมาณของสิ่ง ต่างๆ เช่น ความยาว ความกว้าง เป็นต้น วัดในนัยยะอย่างหลังนี้จึงหมายถึง พื้นที่ แต่เดิมครั้งพุทธกาลนั้น มีการใช้คาว่า “อาราม” เป็นคาเรียกชื่อ ศาสนสถานในทางพุทธ ศาสนาที่ใช้เรียกเสนาสนะที่มีผู้ศรัทธาถวายพระพุทธองค์ใน ระยะแรกๆ เช่น “ เชตวนาราม ” หรือชื่อเต็มว่า “ เชตวเนอนาถบิณฑิกสสอาราเม ” ซึ่งมีความหมายว่า “ สวนของอนาถบิณฑ ที่ป่าเชต ” หรือ“เวฬุวนาราม ” หรือ “ บุปผาราม” เป็นต้น โดย “ อาราเม ” หรือ “อาราม” ใน คาอ่านของไทยแปลว่าสวน นอกจากนี้ในเวลาต่อมายังมีคาที่ใช้เรียกอีกอย่างว่า “ วิหาระ ” หรือ “วิหาร” อย่างไรก็ตามก็ยังมีคาที่ให้ความหมายว่า วัดอ ยู่อีกชื่อหนึ่ง คือ “ อาวาส ” ดังชื่อเรียก สมภารผู้ครองวัดว่า “ เจ้าอาวาส ” ซึ่งแปลว่าผู้เป็นใหญ่ในวัด หรือชื่อเรียกวัด เช่น เทพศิรินทรา วาส ( เทพ+ ศิรินทรา+ อาวาส ) โดยปกติคาว่าอาวาส ไม่เป็นที่นิยมใช้กัน ในความหมายว่าวัด
  • 20. 13 ทั้งนี้เพราะนิยมนาไปใช้กับความหมายที่แคบกว่าคาว่าอาราม โดยมักให้ความหมายในเชิงที่เป็น ตัวเรือนที่อยู่อาศัยมากกว่า อาวาส จึงเสมือนเป็นที่อยู่ส่วนย่อยภายในอาราม ที่หมายถึงพื้นที่ที่ เป็น ศาสสถาน ทั้งเขต เช่น วัดราชบพิธสถิตมหาสีมาราม กรุงเทพฯ พระอารามหลวงชั้นเอก ชนิดราชวรวิหาร , วัดบวรนิเวศวิหารกรุงเทพฯ พระอารามหลวงชั้นเอก ชนิดราชวรวิหาร , วัด กัลยาณมิตร ธนบุรี พระอารามหลวงชั้นโท ชนิดราชวรมหาวิหาร , วัดปทุมวนาราม กรุงเทพฯ พระอารามหลวงชั้นตรี ชนิดราชวรวิหาร,วัดอินทรวิหาร วัดราษฎร์
  • 21. 14 บทที่ 3 วิธีการดําเนินงาน วัสดุอุปกรณ์ 1. ไม้กวาดดอกหญ้า 2. สายยาง 3. ถังน้า 4. ไม้กวาดทางมะพร้าว 5. ผงซักฟอก 6. ขัน 7. ผ้าขี้ริ้ว 8. ไม้ถูพื้น 9. แปรงขัดพื้น 10. ฝอยขัดหมอ 11. ไม้ถูพื้นไล่น้า 12. เกรียง (เอาไว้ขูดน้าตาเทียน) 13. แปรงขัดส้วม 14. กล้องถ่ายรูป
  • 22. 15 วิธีการดําเนินงาน 1. จัดกลุ่มเลือกหัวข้อในการดาเนินกิจกรรม 2. ลงมติเลือกหัวข้อที่จะทา คือ จิตอาสาพัฒนาวัดบ้านเรา 3. วางแผนในการดาเนินการ 4. เลือกวัดที่จะไปทากิจกรรมจิตอาสา 5. นัดหมายวันเวลาสถานที่ที่จะเจอกันและนั่งรถไปพร้อมเพรียงกัน 6. ดาเนินงานตามกาหนดการที่นัดไว้ 6.1.นัดพบกันที่ บขส. เวลา 09.00 น. 6.2.ขึ้นรถสาย กาญจนบุรี-สุพรรณบุรี (ฟรี เพราะเป็นญาติกับจิตติ) เวลา10.00 น. 6.3.ถึงสี่แยกห้วยสะพาน เวลา 10.20 น. 6.4.เดินเข้าไปที่วัดห้วยสะพานเพื่อเข้าห้องน้าระยะทาง 500 เมตร ภาพที่ 3.1 - 3.2 เดินเข้าไปที่วัดห้วยสะพาน 6.5. น้ามารับไปวัดบ้านหลุมหิน ภาพที่ 3.3 น้ามารับไปวัดบ้านหลุมหิน
  • 24. 17 7.เดินทางกลับบ้านด้วยรถของแม่ไอรินทร์ ภาพที่ 3.8 เดินทางกลับบ้าน 8.จัดทาเว็บไซต์ ภาพที่ 3.9 จัดทาเว็บไซต์ สามารถเข้าถึงได้ทางhttps://sites.google.com/site/citxasaphathnawadbanrea/home
  • 25. 18 บทที่ 4 ผลการดําเนินงาน จากการดาเนินงานตามโครงการที่กาหนด คณะผู้จัดทาไม่เสียค่าใช้จ่ายใดๆทั้งสิ้น วัสดุ อุปกรณ์ที่ใช้และการเดินทางล้วนแต่มาจากบ้านของผู้จัดทาทั้งสิ้น และมีเว็บไซต์ ผลจากการดาเนินกิจกรรมจิตอาสาพัฒนาวัดบ้านเรา ทาให้วัดสะอาดและน่าอยู่ยิ่งขึ้น ประชาชนในละแวกวัดก็สามารถเข้ามาทาบุญตักบาตรได้อย่างสบายใจ ซึ่งการทากิจกรรมจิต อาสาเป็นการทาบุญอย่างหนึ่ง คนทาก็สุขใจที่ได้ทา และผู้ที่เข้ามาทาบุญก็สุขใจ ในตอนท้ายหลวงพ่อในวัดบ้านหลุมหินได้มาให้ศีลให้พรกับคณะผู้จัดทา
  • 26. 19 บทที่ 5 สรุปผลและอภิปราย สรุปและอภิปรายผล จากการดาเนินงานตามโครงการจิตอาสาพัฒนาวัดบ้านเรา ทาให้วัดมีความสะอาดมาก ขึ้น และไม่มีค่าใช้จ่ายใดๆ การนั่งรถไปทากิจกรรมก็ไม่เสียค่าใช้จ่าย วัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ก็นามา จากบ้าน จึงเป็นการประหยัดตลอดการทาโครงการและยังได้บุญและความอิ่มใจ อภิปรายผลการดําเนินงาน จากการดาเนินงาน ตามโครงการที่กาหนด คณะผู้จัดทา ไม่เสียค่าใช้จ่าย ใดๆทั้งสิ้น เนื่องจาก วัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ ล้วนแต่มาจากบ้านของผู้จัดทาทั้งสิ้น และ การเดินทางก็ไม่เสีย ค่าใช้จ่ายเพราะได้รับความอนุเคราะห์จากคนขับรถประจาทาง ผลจากการดาเนินกิจกรรมจิต อาสาพัฒนาวัดบ้านเรา ทาให้วัดสะอาดและน่าอยู่ยิ่งขึ้นประชาชนในละแวกวัดก็สามารถเข้ามา ทาบุญตักบาตรได้อย่างสบายใจ ซึ่งการทากิจกรรมจิตอาสา เป็นการทาบุญอย่างหนึ่ง คนทา ก็สุขใจที่ได้ทา และผู้ที่เข้ามาทาบุญก็อิ่มใจ ข้อเสนอแนะ 1. เพิ่มจานวนอาสาสมัครที่จะไปทาให้มากขึ้น 2. เพิ่มสถานที่ที่จะไปทาให้มากขึ้น 3. รับบริจาคเพื่อนาไปบารุงสถานที่
  • 27. ง บรรณานุกรม นนร.ธรรมรัตน์ แววศรี. ความสาคัญของวัดที่มีต่อวิถีชีวิตคนไทย. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก : http : / / www. http://thammarat5263.blogspot.com/. ( วันที่ค้นข้อมูล : 1กันยายน 2558). พุทธะ. ความหมายของวัด. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก :http://www.phuttha.com/ ศาสนสถาน/วัด/ ความหมายของวัด. (วันที่ค้นข้อมูล :1 กันยายน 2558). วิฬาเถื่อน.ความสาคัญของพระพุทธศาสนาในฐานะเป็นสถาบันหลักของสังคมไทย . [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก : http://www.oknation.net/blog/preeeecha/2010/02/17/entry- 3/. (วันที่ค้นข้อมูล :1กันยายน 2558).
  • 32. ภาที่ 8 - 11 สถานที่ทาความสะอาดก่อนการลงมือทา
  • 33.
  • 34.
  • 35. ภาพที่ 12 – 28 ระหว่างการทาความสะอาดบริเวณที่ชาวบ้านสักการะพระประจาวันเกิด
  • 36. ภาพที่ 29 – 34 ก่อนทาความสะอาดบริเวณหลวงปู่กัณฑ์
  • 37. ภาพที่ 35 – 38 ระหว่างการทาความสะอาดศาลาหลวงปู่กัณฑ์
  • 39. ภาพที่ 42 – 43 เดินทางกลับบ้าน
  • 41.
  • 42.
  • 43.
  • 44.
  • 46. ผู้จัดทํา 1. นาย จิตติ ทุมเชียงลา เลขที่ 1 2. นางสาวไอริณทร์ นิธิภัทร์พรปัญญา เลขที่ 14
  • 47. 3. นางสาว ปณิดา ธนกิจ เลขที่ 15 4.นางสาว ลาภิศ อุทาทิพย์ เลขที่ 18