SlideShare a Scribd company logo
1 of 25
Download to read offline
สถานที่ท่องเที่ยวในพื้นที่ลุ่มแม่น้้าบางปะกง
( เขื่อนขุนด่านปราการชล โครงการอันเนื่องมาจากพระราชด้าริ )
จัดท้าโดย
1.นางสาววรนาฏ จูมคอม รหัสนักศึกษา 57003126006
2.นายภัทรพล ทองกล่อม รหัสนักศึกษา 57003126009
3.นายทวีศักดิ์ นารถมณี รหัสนักศึกษา 57003126012
4.นางสาวทิพเนตร แม้นจิตร รหัสนักศึกษา 57003126019
5.นางสาวชลันดา คล้ายข้าดี รหัสนักศึกษา 57003126043
6.นายชัยณรงค์ มะหารักษ์ รหัสนักศึกษา 57003126051
สาขาคอมพิวเตอร์ศึกษา ห้อง 1
รายงานนี้เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาวิชาบางปะกงศึกษา (AGE234)
คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร์
ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2558
ค้าน้า
รายงานนี้จัดท้าขึ้นเพื่อประกอบการเรียนวิชาบางปะกงศึกษา(AGE234) คณะครุศาสตร์
มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร์ โดยขอบเขตเนื้อหาของรายงานฉบับนี้เป็นการศึกษาถึงสถานที่
ท่องเที่ยวในพื้นที่ลุ่มแม่น้้าบางปะกง ที่จะกล่าวถึงความเป็นมา สถานที่ตั้ง และการใช้ประโยชน์ต่างๆ
ทางคณะผู้จัดท้าได้เลือกสถานที่ คือ เขื่อนขุนด่านปราการชล โครงการอันเนื่องมาจากพระราชด้าริ
จังหวัดนครนายก เป็นสถานที่ศึกษาในครั้งนี้
คณะผู้จัดท้าขอขอบคุณอาจารย์ณัฐพร สนเผือก ที่ให้ค้าแนะน้าการสืบค้นข้อมูล อธิบายการ
เข้าถึงแหล่งข้อมูล ตลอดจนสนับสนุนเอกสารใช้ประกอบการจัดท้ารายงานฉบับนี้
คณะผู้จัดท้า
สารบัญ
หน้า
ค้าน้า................................................................................................................................... ก
สารบัญ................................................................................................................................ ข
สถานที่ท่องเที่ยวในพื้นที่ลุ่มแม่น้้าบางปะกง
( เขื่อนขุนด่านปราการชล โครงการอันเนื่องมาจากพระราชด้าริ )
ความเป็นมา........................................................................................................................ 1
สภาพทั่วไป......................................................................................................................... 5
รายละเอียดทั่วไป................................................................................................................ 6
ประโยชน์ที่ได้รับ................................................................................................................. 8
สรุปลักษณะโครงการ........................................................................................................ 10
ภาพโครงการ.................................................................................................................... 11
บรรณานุกรม..................................................................................................................... 21
สถานที่ท่องเที่ยวในพื้นที่ลุ่มแม่น้้าบางปะกง
( เขื่อนขุนด่านปราการชล โครงการอันเนื่องมาจากพระราชด้าริ )
ทรงมีพระราชด้าริเมื่อวันที่ 4 ธันวาคม 2536 เนื่องในโอกาสเฉลิมพระชนม์
พรรษา พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้พระราชทานพระราชด้าริให้กรมชลประทาน
พิจารณาวางโครงการ และก่อสร้างเขื่อนคลองท่าด่าน ที่บ้านท่าด่าน ต้าบลหินตั้ง อ้าเภอ
เมือง จังหวัดนครนายก ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของโครงการพัฒนาลุ่มน้้านครนายกตอนบน เพื่อ
ช่วยให้ราษฎรทางตอนล่างมีน้้าใช้ท้าการเกษตร การอุปโภคบริโภค รวมทั้งช่วยบรรเทา
อุทกภัยที่มักจะเกิดขึ้นในเขตจังหวัดนครนายกเป็นเป็นประจ้าทุกปี เพื่อการ
อุตสาหกรรม และเพื่อการแก้ไขพื้นที่ดินเปรี้ยวอีกด้วย
พื้นที่โครงการฯ มีเนื้อที่ทั้งสิ้น 291,210 ไร่ ส่วนใหญ่ครอบคลุมพื้นที่จังหวัด
นครนายกและบางส่วนของจังหวัดปราจีนบุรี ส้าหรับจังหวัดนครนายกครอบคลุม 19
ต้าบล ซึ่งอยู่ในอ้าเภอเมือง อ้าเภอปากพลี อ้าเภอองครักษ์ ส้าหรับจังหวัดปราจีนบุรี
ครอบคลุม 3 ต้าบล อยู่ในเขตอ้าเภอบ้านสร้าง และ อ้าเภอเมือง มีอาณาเขตติดต่อ
ดังต่อไปนี้
2
ทิศเหนือ ติดต่อกับ ต้าบลหินตั้ง อ้าเภอเมือง จังหวัดนครนายก
ทิศใต้ ติดต่อกับ ต้าบลบางกระเบา อ้าเภอบ้านสร้าง จังหวัดปราจีนบุรี
ทิศตะวันออก ติดต่อกับ ต้าบลบ้านพระ อ้าเภอเมือง จังหวัดปราจีนบุรี
ทิศตะวันตก ติดต่อกับ ต้าบลคลองใหญ่ อ้าเภอองครักษ์ จังหวัดนครนายก
3
สืบเนื่องมาจากเมื่อวันที่ 4 ธันวาคม 2536 เนื่องในวโรกาสเฉลิมพระชนมพรรษา
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ได้พระราชทานพระราชด้าริให้กรมชลประทาน พิจารณา
วางโครงการเพื่อก่อสร้างเขื่อนขุนด่านปราการชล บริเวณบ้านท่าด่าน ต้าบลหินตั้ง อ้าเภอ
เมือง จังหวัดนครนายก เพื่อบรรเทาอุทกภัยในลุ่มน้้านครนายกที่เกิดขึ้นเป็นประจ้า และ
ช่วยราษฎรให้มีน้้าใช้ในการเกษตร การอุปโภค-บริโภค รวมทั้งเพื่อการแก้ไขปัญหาดิน
เปรี้ยวด้วย โครงการดังกล่าวเป็นส่วนหนึ่งของโครงการพัฒนาลุ่มน้้านครนายกตอนบน
ทรงทอดพระเนตรภูมิประเทศคลองด่าน 26 ธ.ค. 2519 บ้านสีสุก ต.หินตั้ง อ.
เมือง จ.นครนายก
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงด้าริว่า ....การสร้างแหล่งน้้าผิวดินเพื่อกักเก็บ
รวบรวมทรัพยากรน้้าไว้ ประกอบกับการพัฒนาระบบชลประทานเพื่อควบคุมระดับน้้าจะ
บรรเทาปัญหาน้้าท่วม ทั้งยังช่วยป้อนน้้าให้กับพื้นที่การเกษตรได้อย่างพอเพียง ชะล้าง
ความเป็นกรดให้หมดไปจากผืนดิน ท้ายสุดผลประโยชน์ก็จะตกกับชาวไร่ชาวนาและ
ประชาชนโดยถ้วนหน้า....
วันที่ 9 ตุลาคม 2536 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้พระราชทาน
พระราชด้าริ สรุปได้ว่า “ ให้พิจารณาสร้างอ่างเก็บน้้าคลองท่าด่าน ที่บ้านท่าด่าน ต้าบล
หินตั้ง อ้าเภอเมือง จังหวัดนครนายก โดยเร่งด่วนเนื่องจากอ่างเก็บน้้าแห่งนี้อยู่ในบริเวณ
พื้นที่ราบเชิงเขา สามารถเป็นแหล่งกักเก็บน้้าไว้ใช้ประโยชน์แก่ราษฎรทางตอนล่างได้เป็น
จ้านวนมาก ” และได้พระราชทานนามเขื่อนแห่งนี้ว่า เขื่อนขุนด่านปราการชล (KHUN
DAN PRAKARNCHON DAM) เมื่อวันที่ 2 มิถุนายน 2549
4
เขื่อนขุนด่านปราการชล อันเนื่องมาจากพระราชด้าริ อยู่ในลุ่มน้้านครนายก ซึ่ง
เป็นลุ่มน้้าย่อยของลุ่มน้้าบางปะกง ลุ่มน้้านครนายกมีต้นก้าเนิดในอุทยานแห่งชาติเขาใหญ่
ซึ่งติดทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ มียอดเขาสูงประมาณ 1,000 - 1,300 เมตรเหนือ
ระดับน้้าทะเล พื้นที่ในหุบเขาโดยทั่วไปมีความสูงเฉลี่ยประมาณ 400 เมตร เหนือ
ระดับน้้าทะเล สายน้้าไหลจากเทือกเขาใหญ่โดยมีสายน้้าจากน้้าตกเหวนรก น้้าตกสาริกา
และน้้าตกนางรอง ไหลมาบรรจบกันที่บ้านท่าด่าน ต้าบลหินตั้ง อ้าเภอเมือง จังหวัด
นครนายก แล้วไหลไปบรรจบกับแม่น้้าปราจีนบุรีและแม่น้้าบางปะกง ที่อ้าเภอบางน้้า
เปรี้ยว จังหวัดฉะเชิงเทรา ไหลลงสู่อ่าวไทย
ครอบคลุมพื้นที่ 2,430 ตารางกิโลเมตร ในเขตอ้าเภอเมือง อ้าเภอบ้านนา
อ้าเภอปากพลี และอ้าเภอองครักษ์ ของจังหวัดนครนายก ล้าน้้าสายหลัก ได้แก่ คลองท่า
ด่าน คลองสมอปูน คลองนางรอง และแม่น้้านครนายก ซึ่งไหลไปบรรจบกับแม่น้้า
ปราจีนบุรีและแม่น้้าบางปะกง ที่อ้าเภอบางน้้าเปรี้ยว จังหวัดฉะเชิงเทรา
เขื่อนขุนด่านปราการชล อันเนื่องมาจากพระราชด้าริ เริ่มก่อสร้าง เมื่อวันที่ 2
พฤศจิกายน พ.ศ. 2542 เริ่มเก็บกักน้้าตั้งแต่เดือนตุลาคม 2547
เขื่อนขุนด่านปราการชล อันเนื่องมาจากพระราชด้าริ สร้างปิดกั้นคลองท่าด่านที่
บ้านท่าด่าน ต้าบลหินตั้ง อ้าเภอเมืองนครนายก จังหวัดนครนายก
5
วัตถุประสงค์
1. เพื่อเป็นแหล่งน้้าต้นทุน โดยสามารถจัดสรรน้้าให้พื้นที่ชลประทาน ได้
185,000 ไร่ ด้วยโครงการท่าด่านเดิม 6,000 ไร่ โครงการท่าด่านส่วนขยาย 14,000 ไร่
โครงการส่งน้้าและบ้ารุงรักษานครนายก 165,000 ไร่
2. เพื่อเป็นแหล่งน้้าส้าหรับอุปโภคบริโภค และอุตสาหกรรม
3. เพื่อบรรเทาปัญหาอุทกภัยในเขตจังหวัดนครนายก
4. เพื่อแก้ไขปัญหาดินเปรี้ยวในเขตจังหวัดนครนายก
สภาพทั่วไป
1. ลักษณะภูมิประเทศ อ่างเก็บน้้าเขื่อนขุนด่านปราการชล อยู่ในลุ่มน้้า
นครนายก ซึ่งเป็นลุ่มน้้าย่อย ของลุ่มน้้าบางปะกง ลุ่มน้้านครนายกครอบคลุมพื้นที่อ้าเภอ
เมือง อ้าเภอบ้านนา อ้าเภอปากพลี และอ้าเภอองครักษ์ของจังหวัดนครนายก มีเนื้อที่
2,433 ตาราง-กิโลเมตร ต้นน้้าของแม่น้้านครนยกเกิดจากเขตอุทยานแห่งชาติเขาใหญ่ ซึ่ง
ติดทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ มียอดเขาสูงประมาณ 1,000 - 1,300 เมตร
2. สภาพภูมิอากาศโดยทั่วไปของลุ่มน้้านครนายก ได้รับอิทธิพลจากลมมรสุม
ตะวันตกเฉียงใต้ ระหว่างเดือนพฤษภาคม ถึง เดือนตุลาคม
6
3. สภาพน้้าฝน เนื่องจากพื้นที่ลุ่มน้้ามีเทือกเขาดงพญาเย็น (เขาใหญ่) อยู่ทาง
ทิศตะวันออกเฉียงเหนือ ซึ่งเป็นแนวปะทะของลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต้ ท้าให้มีฝนตกชุก
โดยเฉลี่ยประมาณ2,600 ถึง 2,900 มม./ปี
4. สภาพน้้าท่า ของอ่างเก็บน้้าเขื่อนขุนด่านปราการชล ข้อมูลน้้าท่าเฉลี่ยมาก
ที่สุดเดือนสิงหาคม มีปริมาณ 70.87 ล้าน ลบ.ม. น้้าท่าเฉลี่ยน้อยที่สุดเดือนมีนาคม มี
ปริมาณ 0.66 ล้าน ลบ.ม.รวมปริมาณน้้าเฉลี่ยทั้งหมด 292.45 ล้าน ลบ.ม.
ระยะเวลาด้าเนินการ
13 ปี เริ่มด้าเนินการในปีงบประมาณ พ.ศ. 2540 แล้วเสร็จใน
ปีงบประมาณ พ.ศ. 2552
รายละเอียดโครงการ
เป็นโครงการก่อสร้างเขื่อนหัวงานและอาคารประกอบพร้อมส่วนประกอบอื่น มี
ขนาดความจุอ่างเก็บน้้า 224 ล้านลูกบาศก์เมตร มีพื้นที่ผิวอ่างฯ ที่ระดับเก็บกักปกติรวม
3,087 ไร่ แบ่งเป็น
1) เขื่อนหัวงานและอาคารประกอบ ประกอบด้วย
(1) เขื่อนหลัก (Main Dam)
เป็นเขื่อนคอนกรีตบดอัด (Roller Compacted Concrete หรือ RCC
Dam) สูง 93 เมตร ระดับสันเขื่อน+112 ม.รทก. ความยาว 2,594 เมตร ปริมาตร
คอนกรีตบดอัด 5,470,000 ลูกบาศก์เมตร
(2) อาคารระบายน้้าล้น (Spillway)
เป็นอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก สามารถระบายน้้าได้สูงสุด 1,454 ลูกบาศก์
เมตร/วินาที ผ่านช่องระบาย 4 ช่อง มีรูปลักษณะเป็นฝายที่ระดับ +103.50 ม.รทก. ซึ่ง
ควบคุมด้วย Radial Gate 4 ชุด ขนาดชุดละ 10.00 x 8.40 เมตร
(3) อาคารระบายน้้าลงล้าน้้าเดิม (River Outlet)
เป็นอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก ควบคุมอัตราการไหลโดย Fixed Wheel
Gate ขนาด 2.00 x 5.00 เมตร และ Butterfly Valve ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 2.0 เมตร
7
โดยมีระดับธรณีท่อ +28.50 ม.รทก. ระบายผ่านท่อเหล็ก ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 2.0
เมตร และควบคุมการปล่อยลงท้ายน้้าด้วย Hollow Jet Valve Ø 1.80 เมตร สามารถ
ระบายน้้าได้ 42 ลูกบาศก์เมตร/วินาที
(4) อาคารระบายน้้า (Bottom Outlet)
เป็นอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก มีระดับธรณี +29.00 ม.รทก. ระบายน้้าผ่าน
ช่องขนาดกว้าง 5.0 เมตร สูง 3.0 เมตร ควบคุมการไหลโดย Fixed Wheel Gate ขนาด
2.50 x 3.90 เมตร และ Radial Gate ขนาด 2.50 x 3.45 เมตร สามารถระบายน้้าได้
182.0 ลูกบาศก์เมตร/วินาที ซึ่งสามารถลดระดับน้้าจากระดับเก็บกักที่ + 110.00 ม.รทก.
ลงมาที่ระดับ +70.00 ม.รทก. ภายใน 10 วัน
(5) อาคารส่งน้้าเข้าคลองชลประทาน (lrrigation Outlet)
เป็นอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก ระบายน้้าผ่านท่อสแตนเลส ขนาด
เส้นผ่าศูนย์กลาง 0.90 เมตร จ้านวน 1 ท่อ มีระดับธรณี +38.45 ม.รทก. ควบคุมการไหล
โดย Fixed Wheel Gate และ Butterfly Valve ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 0.70 เมตร รวม
2 ชุด ระบายน้้าลงคลองชลประทานโดย Hollow Jet Valve ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง
0.70 เมตร (2 ชุด) สามารถส่งน้้าเข้าคลองได้รวม 6.05 ลูกบาศก์เมตร/วินาที
(6) อาคารผันน้้าระหว่างการก่อสร้างเขื่อน ประกอบด้วย
ท้านบดินปิดกั้นล้าน้้าเดิม ขนาดสูง 12.00 เมตร ระดับสันท้านบ +39.00 ม.
รทก. กว้าง 5.00 เมตร ความยาวรวม 1,084 เมตร
อาคารคอนกรีต Retaining Wall ด้านเหนือน้้าและท้ายน้้า ขนาดความ
สูง 12.00 เมตร และ 13.00 เมตร ตามล้าดับ
อาคารผันน้้าคอนกรีตเสริมเหล็กแบบ 2 ช่อง ขนาด 7.00 x 9.00 เมตร และ
6.00 x 9.00 เมตร สามารถระบายน้้าได้ 700 ลูกบาศก์เมตร/วินาที (Return Period 20
ปี) โดยมีระดับธรณี +27.00 ม.รทก.
(7) เขื่อนดินปิดช่องเขาต่้า (Saddle Dam)
เป็นเขื่อนดินสูง 46.0 เมตร สันเขื่อนที่ระดับ +114 ม.รทก. กว้าง 8.0
เมตร ยาว 350 เมตร ปริมาตรเขื่อน 1,220,000 ลูกบาศก์เมตร
8
2) ระบบส่งน้้าและระบบระบายน้้า ประกอบด้วย
(1) พื้นที่โครงการท่าด่านเดิมและส่วนขยาย รวม 20,000 ไร่
(2) พื้นที่โครงการส่งน้้าและบ้ารุงรักษานครนายก รวม 165,000 ไร่
ประโยชน์ที่ได้รับ
1. ส่งน้้าเพื่อการเกษตรให้แก่พื้นที่ รวม 185,000 ไร่
2. ส่งน้้าเพื่อการอุปโภค - บริโภค 16 ล้าน ลูกบาศก์เมตรต่อปี
3. เกษตรกรได้รับผลประโยชน์ 5,400 ครัวเรือน
4. บรรเทาปัญหาดินเปรี้ยว
5. ลดความเสียหายจากอุทกภัย ได้ร้อยละ 35
การด้าเนินงาน
งานเขื่อนหัวงานและอาคารประกอบแล้วเสร็จสมบูรณ์ และเริ่มเก็บกักน้้า ตั้งแต่
เดือนตุลาคม 2547
งบประมาณในการด้าเนินงาน
10,193 ล้านบาท
9
เขื่อนขุนด่านปราการชล อันเนื่องมาจากพระราชด้าริ มีการพัฒนาทรัพยากร
ที่ดินและน้้าโดยมีการจัดโครงการต่างๆ ดังต่อไปนี้
โครงการ ทดสอบสาธิตเทคโนโลยีการพัฒนาพื้นที่ดินเปรี้ยวจัดแบบบูรณาการ
เพื่อเพิ่มผลผลิตข้าวในพื้นที่โครงการเขื่อนขุนด่านปราการชล อันเนื่องมาจากพระราชด้าริ
โครงการ 80 พรรษา พัฒนาคุณภาพชีวิตเกษตรกร เขื่อนขุนด่านปราการชล
เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เนื่องในโอกาสมหามงคลเฉลิมพระ
ชนมพรรษา 80 พรรษา 5 ธันวาคม 2550
ปลูกหญ้าแฝกริมสระน้้า บ่อน้้าประจ้าไร่นา
รณรงค์การไถกลบตอซัง
10
สรุปลักษณะโครงการ
ที่ตั้ง : บ้านท่าด่าน ต้าบลหินตั้ง อ้าเภอเมือง จังหวัดนครนายก
พิกัด : 47 PQR 524829
ชนิดเขื่อน : เขื่อนคอนกรีตบดอัดแน่น
ความสูงเขื่อน : 93 เมตร
ความยาวสันเขื่อน : 2720 เมตร
ระดับสันเขื่อน : +112 ม.(รทก.)
ระดับเก็บกักน้้า : +110 ม.(รทก.)
ความจุอ่างฯ ที่ระดับเก็บกัก : 224 ล้าน ลบ.ม.
พื้นที่ผิวอ่างฯ ที่ระดับเก็บกัก : 3,087 ไร่
พื้นที่รับประโยชน์ 185,000 ไร่ ประกอบด้วย
โครงการส่งน้้าและบ้ารุงรักษานครนายก : 165,000 ไร่
โครงการท่าด่านส่วนขยาย : 14,000 ไร่
โครงการท่าด่านเดิม : 6,000 ไร่
อุปโภค-บริโภค : 16,000,000 ลบ.ม./ปี
เกษตรกรได้รับผลประโยชน์ : 5,400 ครัวเรือน
11
ภาพโครงการ
ภาพถ่ายมุมสูง เขื่อนขุนด่านปราการชล อันเนื่องมาจากพระราชด้าริ
เริ่มก่อสร้าง ปี 2542 สร้างเสร็จ ปี 2547
บรรยากาศ ณ เขื่อนขุนด่านปราการชล อันเนื่องมาจากพระราชด้าริ
12
ด้านหน้าของเขื่อน
ด้านหน้าของเขื่อน
13
ด้านบนตัวเขื่อน
ด้านบนตัวเขื่อน
14
อ่างกักเก็บน้้า
อ่างกักเก็บน้้า
15
ล่องเรือชมอ่างเก็บน้้า
บริเวณประตูระบายน้้า
16
บริเวณโดยรอบของเขื่อน
บริเวณโดยรอบของเขื่อน
17
อ่างกักเก็บน้้า
บริเวณท้ายเขื่อน
18
บริเวณท้ายเขื่อน เป็นแหล่งท่องเที่ยวส้าหรับพักผ่อน
บริเวณท้ายเขื่อน เป็นแหล่งท่องเที่ยวส้าหรับพักผ่อน
19
บริเวณท้ายเขื่อน เป็นแหล่งท่องเที่ยวส้าหรับพักผ่อน
บริเวณท้ายเขื่อน เป็นแหล่งท่องเที่ยวส้าหรับพักผ่อน
20
กิจกรรมตกปลา ภายในเขื่อน
กิจกรรมตกปลา ภายในเขื่อน
21
บรรณานุกรม
เขื่อนขุนด่านปราการชล[ออนไลน์].เข้าถึงข้อมูลวันที่ 19 ตุลาคม 2558. จาก
http://www.tat8.com/thai/ny/p_thadandam.html.
เขื่อนขุนด่านปราการชล โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดาริ[ออนไลน์]. เข้าถึงข้อมูล
วันที่ 19 ตุลาคม 2558. จาก http://www.rid.go.th/royalproject/index.php?Optio
n=com_content&view=article&catid=49%3A2009-05-04-07-26-20&id=157%
3A2009-05-26-09-24-56&Itemid=7.
โครงการพระราชดาริของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว[ออนไลน์]. เข้าถึงข้อมูลวันที่ 19
ตุลาคม 2558. จาก http://www.ldd.go.th/web_kingproject/Project_001.htm.
สถานที่ท่องเที่ยวในพื้นที่ลุ่มแม่น้ำบางปะกง (เขื่อนขุนด่านปราการชล)

More Related Content

Viewers also liked

木匠Your great name (9 5)
木匠Your great name (9 5)木匠Your great name (9 5)
木匠Your great name (9 5)
terrywuppt
 
木匠You are good(9 2)
木匠You are good(9 2)木匠You are good(9 2)
木匠You are good(9 2)
terrywuppt
 
reprot on Industrial trainning at BITAC
reprot on Industrial trainning at BITACreprot on Industrial trainning at BITAC
reprot on Industrial trainning at BITAC
Shahrokh Ahmad
 

Viewers also liked (12)

Commandment 5
Commandment 5Commandment 5
Commandment 5
 
木匠Your great name (9 5)
木匠Your great name (9 5)木匠Your great name (9 5)
木匠Your great name (9 5)
 
March 2011 - Electricity regulation needs to be recharged
March 2011 - Electricity regulation needs to be rechargedMarch 2011 - Electricity regulation needs to be recharged
March 2011 - Electricity regulation needs to be recharged
 
June 2013 - The World Cup, the Olympics—and Beyond
June 2013 - The World Cup, the Olympics—and BeyondJune 2013 - The World Cup, the Olympics—and Beyond
June 2013 - The World Cup, the Olympics—and Beyond
 
木匠You are good(9 2)
木匠You are good(9 2)木匠You are good(9 2)
木匠You are good(9 2)
 
Training Certificates
Training CertificatesTraining Certificates
Training Certificates
 
Commandment 2
Commandment 2Commandment 2
Commandment 2
 
Real Estate Perth Western Australia Suburb Information: Woodlands WA 6018
Real Estate Perth Western Australia Suburb Information: Woodlands WA 6018Real Estate Perth Western Australia Suburb Information: Woodlands WA 6018
Real Estate Perth Western Australia Suburb Information: Woodlands WA 6018
 
reprot on Industrial trainning at BITAC
reprot on Industrial trainning at BITACreprot on Industrial trainning at BITAC
reprot on Industrial trainning at BITAC
 
Thesis Presentation
Thesis PresentationThesis Presentation
Thesis Presentation
 
The end of year business sprint
The end of year business sprintThe end of year business sprint
The end of year business sprint
 
Introduction To Analytics
Introduction To AnalyticsIntroduction To Analytics
Introduction To Analytics
 

Similar to สถานที่ท่องเที่ยวในพื้นที่ลุ่มแม่น้ำบางปะกง (เขื่อนขุนด่านปราการชล)

โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ
โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ
โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ
narunart
 
โครงการอ่างเก็บน้ำห้วยแม่ประจันต์
โครงการอ่างเก็บน้ำห้วยแม่ประจันต์โครงการอ่างเก็บน้ำห้วยแม่ประจันต์
โครงการอ่างเก็บน้ำห้วยแม่ประจันต์
Nutchy'zz Sunisa
 
กคศอนุมัติวิทยาฐานะเชี่ยวชาญ
กคศอนุมัติวิทยาฐานะเชี่ยวชาญกคศอนุมัติวิทยาฐานะเชี่ยวชาญ
กคศอนุมัติวิทยาฐานะเชี่ยวชาญ
Thitiwat Paisan
 
560204 นำเสนอเตรียมความพร้อมป้องกันไฟป่าพรุควนเคร็ง
560204 นำเสนอเตรียมความพร้อมป้องกันไฟป่าพรุควนเคร็ง560204 นำเสนอเตรียมความพร้อมป้องกันไฟป่าพรุควนเคร็ง
560204 นำเสนอเตรียมความพร้อมป้องกันไฟป่าพรุควนเคร็ง
Issara Thainsri
 
รายงาน Ehia new
รายงาน Ehia new รายงาน Ehia new
รายงาน Ehia new
Naname001
 
โครงการเขื่อนป่าสักชลสิทธิ์
โครงการเขื่อนป่าสักชลสิทธิ์โครงการเขื่อนป่าสักชลสิทธิ์
โครงการเขื่อนป่าสักชลสิทธิ์
Moddang Tampoem
 

Similar to สถานที่ท่องเที่ยวในพื้นที่ลุ่มแม่น้ำบางปะกง (เขื่อนขุนด่านปราการชล) (10)

โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ
โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ
โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ
 
โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริรัลกาลที่9
โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริรัลกาลที่9โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริรัลกาลที่9
โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริรัลกาลที่9
 
โครงการอ่างเก็บน้ำห้วยแม่ประจันต์
โครงการอ่างเก็บน้ำห้วยแม่ประจันต์โครงการอ่างเก็บน้ำห้วยแม่ประจันต์
โครงการอ่างเก็บน้ำห้วยแม่ประจันต์
 
โครงงานชีววิทยา
โครงงานชีววิทยาโครงงานชีววิทยา
โครงงานชีววิทยา
 
Thailand gogreen cavaw_ts
Thailand gogreen cavaw_tsThailand gogreen cavaw_ts
Thailand gogreen cavaw_ts
 
กคศอนุมัติวิทยาฐานะเชี่ยวชาญ
กคศอนุมัติวิทยาฐานะเชี่ยวชาญกคศอนุมัติวิทยาฐานะเชี่ยวชาญ
กคศอนุมัติวิทยาฐานะเชี่ยวชาญ
 
รายงาน EHIA
รายงาน EHIAรายงาน EHIA
รายงาน EHIA
 
560204 นำเสนอเตรียมความพร้อมป้องกันไฟป่าพรุควนเคร็ง
560204 นำเสนอเตรียมความพร้อมป้องกันไฟป่าพรุควนเคร็ง560204 นำเสนอเตรียมความพร้อมป้องกันไฟป่าพรุควนเคร็ง
560204 นำเสนอเตรียมความพร้อมป้องกันไฟป่าพรุควนเคร็ง
 
รายงาน Ehia new
รายงาน Ehia new รายงาน Ehia new
รายงาน Ehia new
 
โครงการเขื่อนป่าสักชลสิทธิ์
โครงการเขื่อนป่าสักชลสิทธิ์โครงการเขื่อนป่าสักชลสิทธิ์
โครงการเขื่อนป่าสักชลสิทธิ์
 

More from Chainarong Maharak

More from Chainarong Maharak (20)

ขนมไทย
ขนมไทยขนมไทย
ขนมไทย
 
การจัดการเรียนการสอนผ่านเว็บ Schoology
การจัดการเรียนการสอนผ่านเว็บ Schoologyการจัดการเรียนการสอนผ่านเว็บ Schoology
การจัดการเรียนการสอนผ่านเว็บ Schoology
 
โปรแกรม Edraw Mind map
โปรแกรม Edraw Mind mapโปรแกรม Edraw Mind map
โปรแกรม Edraw Mind map
 
การติดต่อสื่อสารในองค์กร
การติดต่อสื่อสารในองค์กรการติดต่อสื่อสารในองค์กร
การติดต่อสื่อสารในองค์กร
 
กฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง : ฟ้องแย้ง
กฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง : ฟ้องแย้งกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง : ฟ้องแย้ง
กฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง : ฟ้องแย้ง
 
ผู้จัดการมรดก
ผู้จัดการมรดกผู้จัดการมรดก
ผู้จัดการมรดก
 
ไวรัสคอมพิวเตอร์ เวิร์ม ม้าโทรจัน สแปม
ไวรัสคอมพิวเตอร์ เวิร์ม ม้าโทรจัน สแปมไวรัสคอมพิวเตอร์ เวิร์ม ม้าโทรจัน สแปม
ไวรัสคอมพิวเตอร์ เวิร์ม ม้าโทรจัน สแปม
 
ไวรัสคอมพิวเตอร์ เวิร์ม ม้าโทรจัน สแปม
ไวรัสคอมพิวเตอร์ เวิร์ม ม้าโทรจัน สแปมไวรัสคอมพิวเตอร์ เวิร์ม ม้าโทรจัน สแปม
ไวรัสคอมพิวเตอร์ เวิร์ม ม้าโทรจัน สแปม
 
การสร้างการ์ดอวยพรด้วยโปรแกรม Microsoft Word
การสร้างการ์ดอวยพรด้วยโปรแกรม Microsoft Wordการสร้างการ์ดอวยพรด้วยโปรแกรม Microsoft Word
การสร้างการ์ดอวยพรด้วยโปรแกรม Microsoft Word
 
บทที่9 การประเมินผลการเรียนรู้
บทที่9 การประเมินผลการเรียนรู้บทที่9 การประเมินผลการเรียนรู้
บทที่9 การประเมินผลการเรียนรู้
 
โปรแกรม Sketch up
โปรแกรม Sketch upโปรแกรม Sketch up
โปรแกรม Sketch up
 
การสื่อสารแบบ Analog
การสื่อสารแบบ Analogการสื่อสารแบบ Analog
การสื่อสารแบบ Analog
 
คู่มือการใช้งาน โปรแกรมคำนวณสถิติขั้นพื้นฐาน
คู่มือการใช้งาน โปรแกรมคำนวณสถิติขั้นพื้นฐานคู่มือการใช้งาน โปรแกรมคำนวณสถิติขั้นพื้นฐาน
คู่มือการใช้งาน โปรแกรมคำนวณสถิติขั้นพื้นฐาน
 
บริการจัดวางตัวบุคคล
บริการจัดวางตัวบุคคลบริการจัดวางตัวบุคคล
บริการจัดวางตัวบุคคล
 
คู่มือการใช้บทเรียนมัลติมีเดียช่วยสอน
คู่มือการใช้บทเรียนมัลติมีเดียช่วยสอนคู่มือการใช้บทเรียนมัลติมีเดียช่วยสอน
คู่มือการใช้บทเรียนมัลติมีเดียช่วยสอน
 
ระบบฐานข้อมูลการซื้อขายสินค้าของสหกรณ์
ระบบฐานข้อมูลการซื้อขายสินค้าของสหกรณ์ระบบฐานข้อมูลการซื้อขายสินค้าของสหกรณ์
ระบบฐานข้อมูลการซื้อขายสินค้าของสหกรณ์
 
ทฤษฎีการเชื่อมโยงของธอร์นไดค์
ทฤษฎีการเชื่อมโยงของธอร์นไดค์ทฤษฎีการเชื่อมโยงของธอร์นไดค์
ทฤษฎีการเชื่อมโยงของธอร์นไดค์
 
การเยี่ยมบ้าน
การเยี่ยมบ้านการเยี่ยมบ้าน
การเยี่ยมบ้าน
 
หลักสูตรท้องถิ่นนี้ เรื่อง การทำไม้กวาดทางมะพร้าว
หลักสูตรท้องถิ่นนี้ เรื่อง การทำไม้กวาดทางมะพร้าวหลักสูตรท้องถิ่นนี้ เรื่อง การทำไม้กวาดทางมะพร้าว
หลักสูตรท้องถิ่นนี้ เรื่อง การทำไม้กวาดทางมะพร้าว
 
หลักสูตรท้องถิ่น เรื่อง การทำไม้กวาดทางมะพร้าว
หลักสูตรท้องถิ่น เรื่อง การทำไม้กวาดทางมะพร้าวหลักสูตรท้องถิ่น เรื่อง การทำไม้กวาดทางมะพร้าว
หลักสูตรท้องถิ่น เรื่อง การทำไม้กวาดทางมะพร้าว
 

สถานที่ท่องเที่ยวในพื้นที่ลุ่มแม่น้ำบางปะกง (เขื่อนขุนด่านปราการชล)

  • 1. สถานที่ท่องเที่ยวในพื้นที่ลุ่มแม่น้้าบางปะกง ( เขื่อนขุนด่านปราการชล โครงการอันเนื่องมาจากพระราชด้าริ ) จัดท้าโดย 1.นางสาววรนาฏ จูมคอม รหัสนักศึกษา 57003126006 2.นายภัทรพล ทองกล่อม รหัสนักศึกษา 57003126009 3.นายทวีศักดิ์ นารถมณี รหัสนักศึกษา 57003126012 4.นางสาวทิพเนตร แม้นจิตร รหัสนักศึกษา 57003126019 5.นางสาวชลันดา คล้ายข้าดี รหัสนักศึกษา 57003126043 6.นายชัยณรงค์ มะหารักษ์ รหัสนักศึกษา 57003126051 สาขาคอมพิวเตอร์ศึกษา ห้อง 1 รายงานนี้เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาวิชาบางปะกงศึกษา (AGE234) คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร์ ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2558
  • 2. ค้าน้า รายงานนี้จัดท้าขึ้นเพื่อประกอบการเรียนวิชาบางปะกงศึกษา(AGE234) คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร์ โดยขอบเขตเนื้อหาของรายงานฉบับนี้เป็นการศึกษาถึงสถานที่ ท่องเที่ยวในพื้นที่ลุ่มแม่น้้าบางปะกง ที่จะกล่าวถึงความเป็นมา สถานที่ตั้ง และการใช้ประโยชน์ต่างๆ ทางคณะผู้จัดท้าได้เลือกสถานที่ คือ เขื่อนขุนด่านปราการชล โครงการอันเนื่องมาจากพระราชด้าริ จังหวัดนครนายก เป็นสถานที่ศึกษาในครั้งนี้ คณะผู้จัดท้าขอขอบคุณอาจารย์ณัฐพร สนเผือก ที่ให้ค้าแนะน้าการสืบค้นข้อมูล อธิบายการ เข้าถึงแหล่งข้อมูล ตลอดจนสนับสนุนเอกสารใช้ประกอบการจัดท้ารายงานฉบับนี้ คณะผู้จัดท้า
  • 3. สารบัญ หน้า ค้าน้า................................................................................................................................... ก สารบัญ................................................................................................................................ ข สถานที่ท่องเที่ยวในพื้นที่ลุ่มแม่น้้าบางปะกง ( เขื่อนขุนด่านปราการชล โครงการอันเนื่องมาจากพระราชด้าริ ) ความเป็นมา........................................................................................................................ 1 สภาพทั่วไป......................................................................................................................... 5 รายละเอียดทั่วไป................................................................................................................ 6 ประโยชน์ที่ได้รับ................................................................................................................. 8 สรุปลักษณะโครงการ........................................................................................................ 10 ภาพโครงการ.................................................................................................................... 11 บรรณานุกรม..................................................................................................................... 21
  • 4. สถานที่ท่องเที่ยวในพื้นที่ลุ่มแม่น้้าบางปะกง ( เขื่อนขุนด่านปราการชล โครงการอันเนื่องมาจากพระราชด้าริ ) ทรงมีพระราชด้าริเมื่อวันที่ 4 ธันวาคม 2536 เนื่องในโอกาสเฉลิมพระชนม์ พรรษา พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้พระราชทานพระราชด้าริให้กรมชลประทาน พิจารณาวางโครงการ และก่อสร้างเขื่อนคลองท่าด่าน ที่บ้านท่าด่าน ต้าบลหินตั้ง อ้าเภอ เมือง จังหวัดนครนายก ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของโครงการพัฒนาลุ่มน้้านครนายกตอนบน เพื่อ ช่วยให้ราษฎรทางตอนล่างมีน้้าใช้ท้าการเกษตร การอุปโภคบริโภค รวมทั้งช่วยบรรเทา อุทกภัยที่มักจะเกิดขึ้นในเขตจังหวัดนครนายกเป็นเป็นประจ้าทุกปี เพื่อการ อุตสาหกรรม และเพื่อการแก้ไขพื้นที่ดินเปรี้ยวอีกด้วย พื้นที่โครงการฯ มีเนื้อที่ทั้งสิ้น 291,210 ไร่ ส่วนใหญ่ครอบคลุมพื้นที่จังหวัด นครนายกและบางส่วนของจังหวัดปราจีนบุรี ส้าหรับจังหวัดนครนายกครอบคลุม 19 ต้าบล ซึ่งอยู่ในอ้าเภอเมือง อ้าเภอปากพลี อ้าเภอองครักษ์ ส้าหรับจังหวัดปราจีนบุรี ครอบคลุม 3 ต้าบล อยู่ในเขตอ้าเภอบ้านสร้าง และ อ้าเภอเมือง มีอาณาเขตติดต่อ ดังต่อไปนี้
  • 5. 2 ทิศเหนือ ติดต่อกับ ต้าบลหินตั้ง อ้าเภอเมือง จังหวัดนครนายก ทิศใต้ ติดต่อกับ ต้าบลบางกระเบา อ้าเภอบ้านสร้าง จังหวัดปราจีนบุรี ทิศตะวันออก ติดต่อกับ ต้าบลบ้านพระ อ้าเภอเมือง จังหวัดปราจีนบุรี ทิศตะวันตก ติดต่อกับ ต้าบลคลองใหญ่ อ้าเภอองครักษ์ จังหวัดนครนายก
  • 6. 3 สืบเนื่องมาจากเมื่อวันที่ 4 ธันวาคม 2536 เนื่องในวโรกาสเฉลิมพระชนมพรรษา พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ได้พระราชทานพระราชด้าริให้กรมชลประทาน พิจารณา วางโครงการเพื่อก่อสร้างเขื่อนขุนด่านปราการชล บริเวณบ้านท่าด่าน ต้าบลหินตั้ง อ้าเภอ เมือง จังหวัดนครนายก เพื่อบรรเทาอุทกภัยในลุ่มน้้านครนายกที่เกิดขึ้นเป็นประจ้า และ ช่วยราษฎรให้มีน้้าใช้ในการเกษตร การอุปโภค-บริโภค รวมทั้งเพื่อการแก้ไขปัญหาดิน เปรี้ยวด้วย โครงการดังกล่าวเป็นส่วนหนึ่งของโครงการพัฒนาลุ่มน้้านครนายกตอนบน ทรงทอดพระเนตรภูมิประเทศคลองด่าน 26 ธ.ค. 2519 บ้านสีสุก ต.หินตั้ง อ. เมือง จ.นครนายก พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงด้าริว่า ....การสร้างแหล่งน้้าผิวดินเพื่อกักเก็บ รวบรวมทรัพยากรน้้าไว้ ประกอบกับการพัฒนาระบบชลประทานเพื่อควบคุมระดับน้้าจะ บรรเทาปัญหาน้้าท่วม ทั้งยังช่วยป้อนน้้าให้กับพื้นที่การเกษตรได้อย่างพอเพียง ชะล้าง ความเป็นกรดให้หมดไปจากผืนดิน ท้ายสุดผลประโยชน์ก็จะตกกับชาวไร่ชาวนาและ ประชาชนโดยถ้วนหน้า.... วันที่ 9 ตุลาคม 2536 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้พระราชทาน พระราชด้าริ สรุปได้ว่า “ ให้พิจารณาสร้างอ่างเก็บน้้าคลองท่าด่าน ที่บ้านท่าด่าน ต้าบล หินตั้ง อ้าเภอเมือง จังหวัดนครนายก โดยเร่งด่วนเนื่องจากอ่างเก็บน้้าแห่งนี้อยู่ในบริเวณ พื้นที่ราบเชิงเขา สามารถเป็นแหล่งกักเก็บน้้าไว้ใช้ประโยชน์แก่ราษฎรทางตอนล่างได้เป็น จ้านวนมาก ” และได้พระราชทานนามเขื่อนแห่งนี้ว่า เขื่อนขุนด่านปราการชล (KHUN DAN PRAKARNCHON DAM) เมื่อวันที่ 2 มิถุนายน 2549
  • 7. 4 เขื่อนขุนด่านปราการชล อันเนื่องมาจากพระราชด้าริ อยู่ในลุ่มน้้านครนายก ซึ่ง เป็นลุ่มน้้าย่อยของลุ่มน้้าบางปะกง ลุ่มน้้านครนายกมีต้นก้าเนิดในอุทยานแห่งชาติเขาใหญ่ ซึ่งติดทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ มียอดเขาสูงประมาณ 1,000 - 1,300 เมตรเหนือ ระดับน้้าทะเล พื้นที่ในหุบเขาโดยทั่วไปมีความสูงเฉลี่ยประมาณ 400 เมตร เหนือ ระดับน้้าทะเล สายน้้าไหลจากเทือกเขาใหญ่โดยมีสายน้้าจากน้้าตกเหวนรก น้้าตกสาริกา และน้้าตกนางรอง ไหลมาบรรจบกันที่บ้านท่าด่าน ต้าบลหินตั้ง อ้าเภอเมือง จังหวัด นครนายก แล้วไหลไปบรรจบกับแม่น้้าปราจีนบุรีและแม่น้้าบางปะกง ที่อ้าเภอบางน้้า เปรี้ยว จังหวัดฉะเชิงเทรา ไหลลงสู่อ่าวไทย ครอบคลุมพื้นที่ 2,430 ตารางกิโลเมตร ในเขตอ้าเภอเมือง อ้าเภอบ้านนา อ้าเภอปากพลี และอ้าเภอองครักษ์ ของจังหวัดนครนายก ล้าน้้าสายหลัก ได้แก่ คลองท่า ด่าน คลองสมอปูน คลองนางรอง และแม่น้้านครนายก ซึ่งไหลไปบรรจบกับแม่น้้า ปราจีนบุรีและแม่น้้าบางปะกง ที่อ้าเภอบางน้้าเปรี้ยว จังหวัดฉะเชิงเทรา เขื่อนขุนด่านปราการชล อันเนื่องมาจากพระราชด้าริ เริ่มก่อสร้าง เมื่อวันที่ 2 พฤศจิกายน พ.ศ. 2542 เริ่มเก็บกักน้้าตั้งแต่เดือนตุลาคม 2547 เขื่อนขุนด่านปราการชล อันเนื่องมาจากพระราชด้าริ สร้างปิดกั้นคลองท่าด่านที่ บ้านท่าด่าน ต้าบลหินตั้ง อ้าเภอเมืองนครนายก จังหวัดนครนายก
  • 8. 5 วัตถุประสงค์ 1. เพื่อเป็นแหล่งน้้าต้นทุน โดยสามารถจัดสรรน้้าให้พื้นที่ชลประทาน ได้ 185,000 ไร่ ด้วยโครงการท่าด่านเดิม 6,000 ไร่ โครงการท่าด่านส่วนขยาย 14,000 ไร่ โครงการส่งน้้าและบ้ารุงรักษานครนายก 165,000 ไร่ 2. เพื่อเป็นแหล่งน้้าส้าหรับอุปโภคบริโภค และอุตสาหกรรม 3. เพื่อบรรเทาปัญหาอุทกภัยในเขตจังหวัดนครนายก 4. เพื่อแก้ไขปัญหาดินเปรี้ยวในเขตจังหวัดนครนายก สภาพทั่วไป 1. ลักษณะภูมิประเทศ อ่างเก็บน้้าเขื่อนขุนด่านปราการชล อยู่ในลุ่มน้้า นครนายก ซึ่งเป็นลุ่มน้้าย่อย ของลุ่มน้้าบางปะกง ลุ่มน้้านครนายกครอบคลุมพื้นที่อ้าเภอ เมือง อ้าเภอบ้านนา อ้าเภอปากพลี และอ้าเภอองครักษ์ของจังหวัดนครนายก มีเนื้อที่ 2,433 ตาราง-กิโลเมตร ต้นน้้าของแม่น้้านครนยกเกิดจากเขตอุทยานแห่งชาติเขาใหญ่ ซึ่ง ติดทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ มียอดเขาสูงประมาณ 1,000 - 1,300 เมตร 2. สภาพภูมิอากาศโดยทั่วไปของลุ่มน้้านครนายก ได้รับอิทธิพลจากลมมรสุม ตะวันตกเฉียงใต้ ระหว่างเดือนพฤษภาคม ถึง เดือนตุลาคม
  • 9. 6 3. สภาพน้้าฝน เนื่องจากพื้นที่ลุ่มน้้ามีเทือกเขาดงพญาเย็น (เขาใหญ่) อยู่ทาง ทิศตะวันออกเฉียงเหนือ ซึ่งเป็นแนวปะทะของลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต้ ท้าให้มีฝนตกชุก โดยเฉลี่ยประมาณ2,600 ถึง 2,900 มม./ปี 4. สภาพน้้าท่า ของอ่างเก็บน้้าเขื่อนขุนด่านปราการชล ข้อมูลน้้าท่าเฉลี่ยมาก ที่สุดเดือนสิงหาคม มีปริมาณ 70.87 ล้าน ลบ.ม. น้้าท่าเฉลี่ยน้อยที่สุดเดือนมีนาคม มี ปริมาณ 0.66 ล้าน ลบ.ม.รวมปริมาณน้้าเฉลี่ยทั้งหมด 292.45 ล้าน ลบ.ม. ระยะเวลาด้าเนินการ 13 ปี เริ่มด้าเนินการในปีงบประมาณ พ.ศ. 2540 แล้วเสร็จใน ปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 รายละเอียดโครงการ เป็นโครงการก่อสร้างเขื่อนหัวงานและอาคารประกอบพร้อมส่วนประกอบอื่น มี ขนาดความจุอ่างเก็บน้้า 224 ล้านลูกบาศก์เมตร มีพื้นที่ผิวอ่างฯ ที่ระดับเก็บกักปกติรวม 3,087 ไร่ แบ่งเป็น 1) เขื่อนหัวงานและอาคารประกอบ ประกอบด้วย (1) เขื่อนหลัก (Main Dam) เป็นเขื่อนคอนกรีตบดอัด (Roller Compacted Concrete หรือ RCC Dam) สูง 93 เมตร ระดับสันเขื่อน+112 ม.รทก. ความยาว 2,594 เมตร ปริมาตร คอนกรีตบดอัด 5,470,000 ลูกบาศก์เมตร (2) อาคารระบายน้้าล้น (Spillway) เป็นอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก สามารถระบายน้้าได้สูงสุด 1,454 ลูกบาศก์ เมตร/วินาที ผ่านช่องระบาย 4 ช่อง มีรูปลักษณะเป็นฝายที่ระดับ +103.50 ม.รทก. ซึ่ง ควบคุมด้วย Radial Gate 4 ชุด ขนาดชุดละ 10.00 x 8.40 เมตร (3) อาคารระบายน้้าลงล้าน้้าเดิม (River Outlet) เป็นอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก ควบคุมอัตราการไหลโดย Fixed Wheel Gate ขนาด 2.00 x 5.00 เมตร และ Butterfly Valve ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 2.0 เมตร
  • 10. 7 โดยมีระดับธรณีท่อ +28.50 ม.รทก. ระบายผ่านท่อเหล็ก ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 2.0 เมตร และควบคุมการปล่อยลงท้ายน้้าด้วย Hollow Jet Valve Ø 1.80 เมตร สามารถ ระบายน้้าได้ 42 ลูกบาศก์เมตร/วินาที (4) อาคารระบายน้้า (Bottom Outlet) เป็นอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก มีระดับธรณี +29.00 ม.รทก. ระบายน้้าผ่าน ช่องขนาดกว้าง 5.0 เมตร สูง 3.0 เมตร ควบคุมการไหลโดย Fixed Wheel Gate ขนาด 2.50 x 3.90 เมตร และ Radial Gate ขนาด 2.50 x 3.45 เมตร สามารถระบายน้้าได้ 182.0 ลูกบาศก์เมตร/วินาที ซึ่งสามารถลดระดับน้้าจากระดับเก็บกักที่ + 110.00 ม.รทก. ลงมาที่ระดับ +70.00 ม.รทก. ภายใน 10 วัน (5) อาคารส่งน้้าเข้าคลองชลประทาน (lrrigation Outlet) เป็นอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก ระบายน้้าผ่านท่อสแตนเลส ขนาด เส้นผ่าศูนย์กลาง 0.90 เมตร จ้านวน 1 ท่อ มีระดับธรณี +38.45 ม.รทก. ควบคุมการไหล โดย Fixed Wheel Gate และ Butterfly Valve ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 0.70 เมตร รวม 2 ชุด ระบายน้้าลงคลองชลประทานโดย Hollow Jet Valve ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 0.70 เมตร (2 ชุด) สามารถส่งน้้าเข้าคลองได้รวม 6.05 ลูกบาศก์เมตร/วินาที (6) อาคารผันน้้าระหว่างการก่อสร้างเขื่อน ประกอบด้วย ท้านบดินปิดกั้นล้าน้้าเดิม ขนาดสูง 12.00 เมตร ระดับสันท้านบ +39.00 ม. รทก. กว้าง 5.00 เมตร ความยาวรวม 1,084 เมตร อาคารคอนกรีต Retaining Wall ด้านเหนือน้้าและท้ายน้้า ขนาดความ สูง 12.00 เมตร และ 13.00 เมตร ตามล้าดับ อาคารผันน้้าคอนกรีตเสริมเหล็กแบบ 2 ช่อง ขนาด 7.00 x 9.00 เมตร และ 6.00 x 9.00 เมตร สามารถระบายน้้าได้ 700 ลูกบาศก์เมตร/วินาที (Return Period 20 ปี) โดยมีระดับธรณี +27.00 ม.รทก. (7) เขื่อนดินปิดช่องเขาต่้า (Saddle Dam) เป็นเขื่อนดินสูง 46.0 เมตร สันเขื่อนที่ระดับ +114 ม.รทก. กว้าง 8.0 เมตร ยาว 350 เมตร ปริมาตรเขื่อน 1,220,000 ลูกบาศก์เมตร
  • 11. 8 2) ระบบส่งน้้าและระบบระบายน้้า ประกอบด้วย (1) พื้นที่โครงการท่าด่านเดิมและส่วนขยาย รวม 20,000 ไร่ (2) พื้นที่โครงการส่งน้้าและบ้ารุงรักษานครนายก รวม 165,000 ไร่ ประโยชน์ที่ได้รับ 1. ส่งน้้าเพื่อการเกษตรให้แก่พื้นที่ รวม 185,000 ไร่ 2. ส่งน้้าเพื่อการอุปโภค - บริโภค 16 ล้าน ลูกบาศก์เมตรต่อปี 3. เกษตรกรได้รับผลประโยชน์ 5,400 ครัวเรือน 4. บรรเทาปัญหาดินเปรี้ยว 5. ลดความเสียหายจากอุทกภัย ได้ร้อยละ 35 การด้าเนินงาน งานเขื่อนหัวงานและอาคารประกอบแล้วเสร็จสมบูรณ์ และเริ่มเก็บกักน้้า ตั้งแต่ เดือนตุลาคม 2547 งบประมาณในการด้าเนินงาน 10,193 ล้านบาท
  • 12. 9 เขื่อนขุนด่านปราการชล อันเนื่องมาจากพระราชด้าริ มีการพัฒนาทรัพยากร ที่ดินและน้้าโดยมีการจัดโครงการต่างๆ ดังต่อไปนี้ โครงการ ทดสอบสาธิตเทคโนโลยีการพัฒนาพื้นที่ดินเปรี้ยวจัดแบบบูรณาการ เพื่อเพิ่มผลผลิตข้าวในพื้นที่โครงการเขื่อนขุนด่านปราการชล อันเนื่องมาจากพระราชด้าริ โครงการ 80 พรรษา พัฒนาคุณภาพชีวิตเกษตรกร เขื่อนขุนด่านปราการชล เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เนื่องในโอกาสมหามงคลเฉลิมพระ ชนมพรรษา 80 พรรษา 5 ธันวาคม 2550 ปลูกหญ้าแฝกริมสระน้้า บ่อน้้าประจ้าไร่นา รณรงค์การไถกลบตอซัง
  • 13. 10 สรุปลักษณะโครงการ ที่ตั้ง : บ้านท่าด่าน ต้าบลหินตั้ง อ้าเภอเมือง จังหวัดนครนายก พิกัด : 47 PQR 524829 ชนิดเขื่อน : เขื่อนคอนกรีตบดอัดแน่น ความสูงเขื่อน : 93 เมตร ความยาวสันเขื่อน : 2720 เมตร ระดับสันเขื่อน : +112 ม.(รทก.) ระดับเก็บกักน้้า : +110 ม.(รทก.) ความจุอ่างฯ ที่ระดับเก็บกัก : 224 ล้าน ลบ.ม. พื้นที่ผิวอ่างฯ ที่ระดับเก็บกัก : 3,087 ไร่ พื้นที่รับประโยชน์ 185,000 ไร่ ประกอบด้วย โครงการส่งน้้าและบ้ารุงรักษานครนายก : 165,000 ไร่ โครงการท่าด่านส่วนขยาย : 14,000 ไร่ โครงการท่าด่านเดิม : 6,000 ไร่ อุปโภค-บริโภค : 16,000,000 ลบ.ม./ปี เกษตรกรได้รับผลประโยชน์ : 5,400 ครัวเรือน
  • 14. 11 ภาพโครงการ ภาพถ่ายมุมสูง เขื่อนขุนด่านปราการชล อันเนื่องมาจากพระราชด้าริ เริ่มก่อสร้าง ปี 2542 สร้างเสร็จ ปี 2547 บรรยากาศ ณ เขื่อนขุนด่านปราการชล อันเนื่องมาจากพระราชด้าริ
  • 24. 21 บรรณานุกรม เขื่อนขุนด่านปราการชล[ออนไลน์].เข้าถึงข้อมูลวันที่ 19 ตุลาคม 2558. จาก http://www.tat8.com/thai/ny/p_thadandam.html. เขื่อนขุนด่านปราการชล โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดาริ[ออนไลน์]. เข้าถึงข้อมูล วันที่ 19 ตุลาคม 2558. จาก http://www.rid.go.th/royalproject/index.php?Optio n=com_content&view=article&catid=49%3A2009-05-04-07-26-20&id=157% 3A2009-05-26-09-24-56&Itemid=7. โครงการพระราชดาริของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว[ออนไลน์]. เข้าถึงข้อมูลวันที่ 19 ตุลาคม 2558. จาก http://www.ldd.go.th/web_kingproject/Project_001.htm.