SlideShare a Scribd company logo
รหัส 9.1.9.2
รายงานผลการสัมมนาแลกเปลี่ยนเรียนรู้
เรื่อง “แนวทางปฏิบัติที่ดีในการดาเนินงานด้านประกันคุณภาพของกลุ่มสานัก/สถาบัน”
วันจันทร์ ที่ 4 มีนาคม 2556 เวลา 10.00 - 12.00 น.
ณ ห้องประชุมสานักเสริมศึกษาและบริการสังคม ชั้น 5 มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
ผู้เข้าร่วมสัมมนา
สานักเสริมศึกษาและบริการสังคม
1. อ.ดร.สุวรรณา โควะวินทวีวัฒน์ ตาแหน่ง รองผู้อานวยการฝ่ายบริการวิชาการ
2. นายมนัสสิทธิ์ นาคสวัสดิ์ ตาแหน่ง เลขานุการสานัก
3. นางสาวสดศรี ทับสุทธิ์ ตาแหน่ง หัวหน้างานบริหารและการวางแผน
4. นางสาวพวงเพชร ราชพิบูลย์ ตาแหน่ง เจ้าหน้าที่วิเคราะห์นโยบายและแผน
สานักหอสมุด
1. นางสาวนพวรรณ วัฒนะนนท์ ตาแหน่ง บรรณารักษ์ชานาญการ
2. นางสาวกนกวรรณ บัวงาน ตาแหน่ง บรรณารักษ์
3. นางสาวขวัญชนก สถาพรพิบูลย์ ตาแหน่ง บรรณารักษ์
4.นางสาวอัญชนา ปัทนาถา ตาแหน่ง นักวิเคราะห์นโยบายและแผน
สถาบันไทยคดีศึกษา
1.นางจันทนี พึ่งเถื่อน ตาแหน่ง นักวิชาการศึกษา ชานาญการพิเศษ
2.นางสาวโศรยา สุรัญญาพฤติ ตาแหน่ง เจ้าหน้าที่บริหารงานทั่วไป
3. นางสาวศิริพร ฟูตระกูล ตาแหน่ง เจ้าหน้าที่บริหารงานทั่วไป
4.นางณัฐธยาน์ ทรงฉลาด ตาแหน่ง นักวิชาการศึกษา ชานาญการพิเศษ
สถาบันวิจัยและให้คาปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
1. นางสาวกานติมา พงษ์ศักดิ์ ตาแหน่ง เจ้าหน้าที่วางแผนและพัฒนาระบบ
2. นางสาวสุวรรณี ติวะตันสกุล ตาแหน่ง เจ้าหน้าที่ติดตามและประมวลผล
สถาบันทรัพยากรมนุษย์
1. นางศรีรัตน์ ขันธมาลัย ตาแหน่ง เจ้าหน้าที่วิเคราะห์นโยบายและแผน ชานาญการ
2. นางสาวสมสุข จันทศร ตาแหน่ง เจ้าหน้าที่บริหารงานทั่วไป ชานาญการ
3. นางสาวอุไรวรรณ รุ่งไหรัญ ตาแหน่ง นักวิจัย
รหัส 9.1.9.2
เปิดการสัมมนา เวลา 10.00 น.
ดร.สุวรรณา โควะวินทวีวัฒน์ ได้กล่าวต้อนรับผู้เข้าร่วมสัมมนาและกล่าวถึงวัตถุประสงค์ในการ
ประชุมเพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้แนวทางในการดาเนินการด้านประกันคุณภาพ และเป็นการสร้างเครือข่ายการ
ทางานด้านประกันคุณภาพร่วมกันระหว่างสานักเสริมศึกษาและบริการสังคม สถาบันวิจัยและให้คาปรึกษา
แห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ สถาบันทรัพยากรมนุษย์ สานักหอสมุด และสถาบันไทยคดีศึกษา ในส่วนที่เป็น
ตัวบ่งชี้ร่วมกันในประเด็นที่ประสบปัญหา ซึ่งมีหัวข้อดังนี้
1.แลกเปลี่ยนเรียนรู้ตัวบ่งชี้คุณภาพระหว่างหน่วยงานในแต่ละตัวบ่งชี้ดังนี้
ตัวบ่งชี้ส.ก.อ.1.1 กระบวนการพัฒนาแผน
ในตัวบ่งชี้สกอ.1.1 หน่วยงานที่แลกเปลี่ยน คือ สถาบันไทยคดีศึกษา ซึ่งได้รับผลการประเมิน
5 คะแนน ได้มีการเสนอแนะวิธีการดาเนินงาน หน่วยงานมีการกาหนดวาระการประชุมและนาข้อเสนอแนะ
จากการประชุมมาปรับปรุงแก้ไข้อย่างชัดเจน มีการรายงานผลของแผนกลยุทธ์และแผนปฏิบัติราชการรายงาน
ต่อที่ประชุม และหน่วยงานมีการกาหนดปฏิทินของแผนอย่างชัดเจน
ตัวบ่งชี้ส.ก.อ. 7.1 ภาวะผู้นาของสภาสถาบันและผู้บริหารทุกระดับของสถาบัน
ในตัวบ่งชี้สกอ.7.1 หน่วยงานได้มีแลกเปลี่ยนความคิดเห็นร่วมกัน ดังนี้
สานักเสริมศึกษาฯได้มีการจัดทาแบบประเมินกรรมการประจาสานัก เพื่อให้กรรมการประจาสานัก
เป็นผู้ประเมินตนเอง โดยแบบประเมินมีการกาหนดตามภารกิจของกรรมการประจาสานัก/สถาบัน
สานักหอสมุด ได้มีการศึกษาเกณฑ์การประเมินกรรมการประจาสานัก โดยได้ศึกษาจากระเบียบการ
ประเมินของมหาวิทยาลัย และนามาปรับใช้กับสานัก
ตัวบ่งชี้ส.ก.อ.7.2 การพัฒนาสถาบันสู่สถาบันเรียนรู้
ในตัวบ่งชี้สกอ.7.2 หน่วยงานได้มีแลกเปลี่ยนความคิดเห็นร่วมกัน ดังนี้
สานักหอสมุด ได้นาเสนอแนวการปฏิบัติตัวบ่งชี้ว่า หน่วยงานได้มีการพัฒนาการเรียนรู้จาก 2 ส่วน คือ
ความรู้จากการทางานของผู้ที่จะเกษียณในอนาคต และความรู้เพื่อพัฒนางานตามภารกิจหลักของหน่วยงาน
โดยจะจัดทาเป็นเอกสารเผยแพร่ทางเว็บไซด์
รหัส 9.1.9.2
สานักเสริมศึกษาและบริการสังคม ได้มีการมอบหมายให้แต่ละฝ่ายโดยกาหนดไว้ในตัวชี้วัดรายบุคคล
เพื่อให้แต่ละฝ่ายเลือกประเด็นความรู้ที่จะถ่ายทอดให้บุคลากร ซึ่งในแต่ละฝ่ายจะมีการประชุม และมีการ
จัดทาเอกสารเป็นรูปเล่มเพื่อเผยแพร่ให้บุคลากร และเผยแพร่ลงเว็บไซด์
ตัวบ่งชี้ส.ก.อ.7.3 ระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารและการตัดสินใจ
ในตัวบ่งชี้สกอ.7.3 หน่วยงานได้มีแลกเปลี่ยนความคิดเห็นร่วมกัน ดังนี้
สานักหอสมุด ได้มีการจัดทาระบบสารสนเทศเพื่อการตัดสินใจในการจัดซื้อหนังสือ โดยให้บุคลากร
เป็นผู้ประเมิน และนาผลที่ได้จากการประเมินมาปรับปรุงการทางานของสานัก
สถาบันทรัพยากรมนุษย์ ได้มีการจัดทาระบบ Intranet หน่วยงานขึ้น โดยสามารถจัดเก็บและรวบรวม
ข้อมูลต่างๆ ไว้ในระบบ เพื่อให้ผู้บริหารและผู้เกี่ยวข้องสามารถดูข้อมูลและนาข้อมูลไปใช้ในการรายงานต่อ
ผู้บริหารและมหาวิทยาลัยได้
ตัวบ่งชี้ส.ก.อ.7.4 ระบบบริหารความเสี่ยง
ในตัวบ่งชี้สกอ.7.4 หน่วยงานที่เข้าร่วมสัมมนาสามารถดาเนินการได้ เนื่องจากมหาวิทยาลัยมีการ
กาหนดการจัดทาแผนบริหารความเสี่ยง และกาหนดให้มีการรายงานติดตามแผนบริหารความเสี่ยงต่อ
มหาวิทยาลัยอย่างสม่าเสมอ
ตัวบ่งชี้ส.ก.อ.8.1 ระบบและกลไกการเงินและงบประมาณ
ในตัวบ่งชี้สกอ.8.1 หน่วยงานที่เข้าร่วมสัมมนาได้มีการแลกเปลี่ยนความคิดเห็น ซึ่งแต่ละหน่วยงาน
สามารถดาเนินการได้เกณฑ์การประเมิน เนื่องจากหน่วยงานจะต้องมีการกาหนดแผนงบประมาณให้
สอดคล้องกับแผนยุทธศาสตร์ของมหาวิทยาลัย และจัดส่งแผนดังกล่าวไปยังมหาวิทยาลัย
ตัวบ่งชี้ส.ก.อ.9.1 ระบบและกลไกการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน
ในตัวบ่งชี้สกอ.9.1 หน่วยงานได้มีแลกเปลี่ยนความคิดเห็นร่วมกัน ดังนี้
สานักเสริมศึกษาและบริการสังคม ได้มีการสร้างเครือข่ายกับหน่วยงานภายในและภายนอก
โดยหน่วยงานภายในมีการสร้างเครือข่ายกับหน่วยงานสนับสนุนการเรียนการสอน ส่วนหน่วยงานภายนอก
สานักได้มีหน่วยงานภายนอกเข้ามาศึกษาดู และสานักได้ไปศึกษาดูงานกับหน่วยงานภายนอกด้วย
รหัส 9.1.9.2
ตัวบ่งชี้สมศ.17 ผลการพัฒนาตามจุดเน้นและจุดเด่นที่ส่งผลสะท้อนเป็นเอกลักษณ์ของสถาบัน
ในตัวบ่งชี้สมศ.17 หน่วยงานที่เข้าร่วมสัมมนาได้มีการกาหนดเอกลักษณ์ของหน่วยงานเองโดย
แตกต่างจากเอกลักษณ์ของมหาวิทยาลัย ซึ่งมีการกาหนดตามภารกิจของหน่วยงาน และหน่วยงานสามารถ
ดาเนินการได้ตามเกณฑ์ที่กาหนด
2.เผยแพร่แนวทางปฏิบัติที่ดีระหว่างหน่วยงาน
สถาบันไทยคดีศึกษา มีแนวปฏิบัติดังนี้
1. พัฒนากระบวนการวางแผนอย่างต่อเนื่องและเป็นรูปธรรม โดยเปิดโอกาสให้บุคลากรมีส่วนร่วม
วิเคราะห์สถานการณ์องค์กรและเสนอโครงการและกิจกรรมในแผน
2. มีการบริหารจัดการและดาเนินงานตามเกณฑ์คุณภาพของตัวบ่งชี้สมศ. 17 ผลการพัฒนาตาม
จุดเน้นและจุดเด่นที่ส่งผลสะท้อนเอกลักษณ์ของสถาบันฯ โดยสถาบันฯ กาหนดเอกลักษณ์
เฉพาะองค์กรซึ่งต่างจากเอกลักษณ์ของมหาวิทยาลัย จึงกาหนดแผนปฏิบัติการที่เชื่อมโยงกับ
แนวทางดาเนินงานของตัวบ่งชี้เฉพาะที่สถาบันฯ กาหนดขึ้นเอง เพื่อลดความซ้าซ้อน ใช้ทรัพยากร
อย่างคุ้มค่าและมีประโยชน์ร่วมกันได้
3. สถาบันฯ เจรจาความร่วมมือกับหน่วยงานภายในมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์อีก 2 หน่วยงาน
ประกอบด้วย สถาบันทรัพยากรมนุษย์ และสานักเสริมศึกษาและบริการสังคม โดยจัดทาบันทึก
ข้อตกลงในการให้บริการทางวิชาการ การทานุบารุงศิลปวัฒนธรรม และการสร้างเครือข่ายด้าน
การประกันคุณภาพ โดยยึดหลักประสิทธิภาพและประสิทธิผลตามมาตรฐานการจัดการศึกษา
ของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
4. สถาบันฯ พัฒนาเครือข่ายประกันคุณภาพกับหน่วยงานภายนอกสถาบันฯ คือ ศูนย์วัฒนธรรม
ศึกษา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล ล้านนา ซึ่งมีพันธกิจใกล้เคียงกับสถาบันฯ จึงได้
แลกเปลี่ยนแนวปฏิบัติเพื่อการประกันคุณภาพผลงานตามภารกิจด้านการวิจัยและการทานุบารุง
ศิลปะและวัฒนธรรม
สถาบันทรัพยากรมนุษย์ มีแนวปฏิบัติดังนี้
1. สถาบันฯ จัดทาระบบ QA Center ด้านการประกันคุณภาพ เพื่อรวบรวมข้อมูลรายงานผล
การดาเนินงาน และติดตามผลการดาเนินงาน นาเสนอต่อผู้บริหาร
รหัส 9.1.9.2
สานักหอสมุด มีแนวปฏิบัติดังนี้
1. มีเว็บไซต์ประกันคุณภาพสานักหอสมุด (TULIBS-QA)
2. มีฐานข้อมูลประกันคุณภาพสานักหอสมุดเพื่อจัดเก็บหลักฐานแต่ละตัวบ่งชี้โดยใช้ Open
Source Software ชื่อ DSpace
3. มีการเชื่อมโยงเว็บไซต์ประกันคุณภาพสานักหอสมุด (TULIBS-QA) และฐานข้อมูลประกันคุณภาพ
สานักหอสมุดกับฐานข้อมูลด้านการประกันคุณภาพการศึกษา (CHE QA ONLINE SYSTEM) ของสานักงาน
คณะกรรมการการอุดมศึกษา
4. มีการสร้างเครือข่ายกับหน่วยงานภายในมหาวิทยาลัย และห้องสมุดสถาบันอุดมศึกษาภายนอกใน
ด้านประกันคุณภาพ
สถาบันวิจัยให้คาปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ มีแนวปฏิบัติดังนี้
1. สานักได้มีการจัดเก็บข้อมูลด้านประกันคุณภาพในระบบ Intranet ในการเก็บข้อมูล
2. มีการสร้างเครือข่ายกับหน่วยงานภายในมหาวิทยาลัยในด้านประกันคุณภาพ
สานักเสริมศึกษาและบริการสังคม มีแนวปฏิบัติดังนี้
สานักมีระบบเครือข่ายภายใน (Workgroup) ของสานัก โดยกาหนดไว้ใน Folder/QA และกาหนด
ไฟล์แต่ละตัวบ่งชี้ซึ่งกาหนดชื่อเป็นชื่อของผู้รับผิดชอบ เพื่อให้ผู้รับผิดชอบสามารถรายงานผลการดาเนินงาน
ของตัวบ่งชี้นั้น และกาหนด Folder เพื่อจัดเก็บเอกสารอ้างอิง โดยกาหนดชื่อเป็นชื่อของผู้รับผิดชอบเช่นกัน
ปิดการสัมมนา เวลา 12.00 น.
นางสาวพวงเพชร ราชพิบูลย์
ผู้จดรายงานการประชุม

More Related Content

Viewers also liked

3.medios de transmisión
3.medios de transmisión3.medios de transmisión
3.medios de transmisión
jackie_moncayo
 
奇异值分解(We recommend a singular value decomposition) 火光摇曳
奇异值分解(We recommend a singular value decomposition)   火光摇曳奇异值分解(We recommend a singular value decomposition)   火光摇曳
奇异值分解(We recommend a singular value decomposition) 火光摇曳
cyruson
 
Gina cedeño casanova derecho integral de los niños, niñas y adolescentes
Gina cedeño casanova   derecho integral de los niños, niñas y adolescentesGina cedeño casanova   derecho integral de los niños, niñas y adolescentes
Gina cedeño casanova derecho integral de los niños, niñas y adolescentes
Pilarcita2015
 
4.topologías
4.topologías4.topologías
4.topologías
jackie_moncayo
 
la calidad de la educación en el centro escolar "Héroes de Zacapoaxtla"
la calidad de la educación en el centro escolar "Héroes de Zacapoaxtla"la calidad de la educación en el centro escolar "Héroes de Zacapoaxtla"
la calidad de la educación en el centro escolar "Héroes de Zacapoaxtla"Gerardcehz
 
Como las TICs pueden cambiar el proyecto "Cursinho FC", en Brasil - Rafaela S...
Como las TICs pueden cambiar el proyecto "Cursinho FC", en Brasil - Rafaela S...Como las TICs pueden cambiar el proyecto "Cursinho FC", en Brasil - Rafaela S...
Como las TICs pueden cambiar el proyecto "Cursinho FC", en Brasil - Rafaela S...
Rafaela SB
 
Travel to Iceland
Travel to IcelandTravel to Iceland
Travel to Iceland
Marla Roberson
 
2014 iSentia Social Media Survey Australia
2014 iSentia Social Media Survey Australia2014 iSentia Social Media Survey Australia
2014 iSentia Social Media Survey AustraliaClaire Waddington
 
Whittles vic
Whittles vicWhittles vic
Whittles vic
stratamanagementvic
 
2013 t9 grammar review
2013 t9 grammar review2013 t9 grammar review
2013 t9 grammar review
Trung Billy
 
2.clasificación de redes
2.clasificación de redes2.clasificación de redes
2.clasificación de redes
jackie_moncayo
 
5.dispositivos de expansión
5.dispositivos de expansión5.dispositivos de expansión
5.dispositivos de expansión
jackie_moncayo
 

Viewers also liked (15)

3.medios de transmisión
3.medios de transmisión3.medios de transmisión
3.medios de transmisión
 
奇异值分解(We recommend a singular value decomposition) 火光摇曳
奇异值分解(We recommend a singular value decomposition)   火光摇曳奇异值分解(We recommend a singular value decomposition)   火光摇曳
奇异值分解(We recommend a singular value decomposition) 火光摇曳
 
Wal mart
Wal martWal mart
Wal mart
 
Eutanasia
EutanasiaEutanasia
Eutanasia
 
Gina cedeño casanova derecho integral de los niños, niñas y adolescentes
Gina cedeño casanova   derecho integral de los niños, niñas y adolescentesGina cedeño casanova   derecho integral de los niños, niñas y adolescentes
Gina cedeño casanova derecho integral de los niños, niñas y adolescentes
 
Tics
TicsTics
Tics
 
4.topologías
4.topologías4.topologías
4.topologías
 
la calidad de la educación en el centro escolar "Héroes de Zacapoaxtla"
la calidad de la educación en el centro escolar "Héroes de Zacapoaxtla"la calidad de la educación en el centro escolar "Héroes de Zacapoaxtla"
la calidad de la educación en el centro escolar "Héroes de Zacapoaxtla"
 
Como las TICs pueden cambiar el proyecto "Cursinho FC", en Brasil - Rafaela S...
Como las TICs pueden cambiar el proyecto "Cursinho FC", en Brasil - Rafaela S...Como las TICs pueden cambiar el proyecto "Cursinho FC", en Brasil - Rafaela S...
Como las TICs pueden cambiar el proyecto "Cursinho FC", en Brasil - Rafaela S...
 
Travel to Iceland
Travel to IcelandTravel to Iceland
Travel to Iceland
 
2014 iSentia Social Media Survey Australia
2014 iSentia Social Media Survey Australia2014 iSentia Social Media Survey Australia
2014 iSentia Social Media Survey Australia
 
Whittles vic
Whittles vicWhittles vic
Whittles vic
 
2013 t9 grammar review
2013 t9 grammar review2013 t9 grammar review
2013 t9 grammar review
 
2.clasificación de redes
2.clasificación de redes2.clasificación de redes
2.clasificación de redes
 
5.dispositivos de expansión
5.dispositivos de expansión5.dispositivos de expansión
5.dispositivos de expansión
 

Similar to แนวทางปฏิบัติที่ดีในการดำเนินงานด้านประกันคุณภาพของกลุ่มสำนัก/สถาบัน

รายชื่อแนบจดหมาย.Doc
รายชื่อแนบจดหมาย.Docรายชื่อแนบจดหมาย.Doc
รายชื่อแนบจดหมาย.Doc
chaiwat vichianchai
 
รายงานการอบรมปฏิบัติการ วัดผล
รายงานการอบรมปฏิบัติการ วัดผลรายงานการอบรมปฏิบัติการ วัดผล
รายงานการอบรมปฏิบัติการ วัดผล
จุ๊ จุฑาทิพย์
 
ติวสอบครูผู้ช่วย 2556
ติวสอบครูผู้ช่วย 2556ติวสอบครูผู้ช่วย 2556
ติวสอบครูผู้ช่วย 2556
Pakornkrits
 
ใบงานท 2-8
ใบงานท   2-8ใบงานท   2-8
ใบงานท 2-8noeiinoii
 
Guidebook hongkong 130753
Guidebook hongkong 130753Guidebook hongkong 130753
Guidebook hongkong 130753Kasem S. Mcu
 
นโยบาย สพฐ.ปีงบประมาณ 2558 มี 11 ประการ
นโยบาย สพฐ.ปีงบประมาณ 2558 มี 11 ประการนโยบาย สพฐ.ปีงบประมาณ 2558 มี 11 ประการ
นโยบาย สพฐ.ปีงบประมาณ 2558 มี 11 ประการ
สอบครูดอทคอม เว็บเตรียมสอบ
 
งานชิ้นที2 revise3
งานชิ้นที2 revise3งานชิ้นที2 revise3
งานชิ้นที2 revise3iamying
 
เรื่องแต่งตั้งคณะกรรมการดําเนินงานจัดการแข่งขันและคัดเลือกตัวแทนนักเรียนระดับ...
เรื่องแต่งตั้งคณะกรรมการดําเนินงานจัดการแข่งขันและคัดเลือกตัวแทนนักเรียนระดับ...เรื่องแต่งตั้งคณะกรรมการดําเนินงานจัดการแข่งขันและคัดเลือกตัวแทนนักเรียนระดับ...
เรื่องแต่งตั้งคณะกรรมการดําเนินงานจัดการแข่งขันและคัดเลือกตัวแทนนักเรียนระดับ...waranyuati
 
จุดเน้นที่ 5
จุดเน้นที่ 5จุดเน้นที่ 5
จุดเน้นที่ 5Suwakhon Phus
 
การพัฒนาทักษะพื้นฐานที่จำเป็นต่อการประกอบอาชีพ
การพัฒนาทักษะพื้นฐานที่จำเป็นต่อการประกอบอาชีพการพัฒนาทักษะพื้นฐานที่จำเป็นต่อการประกอบอาชีพ
การพัฒนาทักษะพื้นฐานที่จำเป็นต่อการประกอบอาชีพ
koyrattanasri
 
บันทึุกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2553
บันทึุกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2553บันทึุกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2553
บันทึุกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2553Nattapon
 
8 กระบวนพัฒน์
8 กระบวนพัฒน์8 กระบวนพัฒน์
8 กระบวนพัฒน์
krutukSlide
 
เผยแพร่ผลงาน
เผยแพร่ผลงานเผยแพร่ผลงาน
เผยแพร่ผลงาน
Nunnaphat Chadajit
 

Similar to แนวทางปฏิบัติที่ดีในการดำเนินงานด้านประกันคุณภาพของกลุ่มสำนัก/สถาบัน (20)

รายชื่อแนบจดหมาย.Doc
รายชื่อแนบจดหมาย.Docรายชื่อแนบจดหมาย.Doc
รายชื่อแนบจดหมาย.Doc
 
V 262
V 262V 262
V 262
 
Project m607
Project m607Project m607
Project m607
 
รายงานการอบรมปฏิบัติการ วัดผล
รายงานการอบรมปฏิบัติการ วัดผลรายงานการอบรมปฏิบัติการ วัดผล
รายงานการอบรมปฏิบัติการ วัดผล
 
ติวสอบครูผู้ช่วย 2556
ติวสอบครูผู้ช่วย 2556ติวสอบครูผู้ช่วย 2556
ติวสอบครูผู้ช่วย 2556
 
ใบงานท 2-8
ใบงานท   2-8ใบงานท   2-8
ใบงานท 2-8
 
รายงานการเผยแพร่โทรทัศน์ครู
รายงานการเผยแพร่โทรทัศน์ครูรายงานการเผยแพร่โทรทัศน์ครู
รายงานการเผยแพร่โทรทัศน์ครู
 
Teachercom c
Teachercom cTeachercom c
Teachercom c
 
Guidebook hongkong 130753
Guidebook hongkong 130753Guidebook hongkong 130753
Guidebook hongkong 130753
 
นโยบาย สพฐ.ปีงบประมาณ 2558 มี 11 ประการ
นโยบาย สพฐ.ปีงบประมาณ 2558 มี 11 ประการนโยบาย สพฐ.ปีงบประมาณ 2558 มี 11 ประการ
นโยบาย สพฐ.ปีงบประมาณ 2558 มี 11 ประการ
 
No8 february2013
No8 february2013No8 february2013
No8 february2013
 
งานชิ้นที2 revise3
งานชิ้นที2 revise3งานชิ้นที2 revise3
งานชิ้นที2 revise3
 
เรื่องแต่งตั้งคณะกรรมการดําเนินงานจัดการแข่งขันและคัดเลือกตัวแทนนักเรียนระดับ...
เรื่องแต่งตั้งคณะกรรมการดําเนินงานจัดการแข่งขันและคัดเลือกตัวแทนนักเรียนระดับ...เรื่องแต่งตั้งคณะกรรมการดําเนินงานจัดการแข่งขันและคัดเลือกตัวแทนนักเรียนระดับ...
เรื่องแต่งตั้งคณะกรรมการดําเนินงานจัดการแข่งขันและคัดเลือกตัวแทนนักเรียนระดับ...
 
จุดเน้นที่ 5
จุดเน้นที่ 5จุดเน้นที่ 5
จุดเน้นที่ 5
 
การพัฒนาทักษะพื้นฐานที่จำเป็นต่อการประกอบอาชีพ
การพัฒนาทักษะพื้นฐานที่จำเป็นต่อการประกอบอาชีพการพัฒนาทักษะพื้นฐานที่จำเป็นต่อการประกอบอาชีพ
การพัฒนาทักษะพื้นฐานที่จำเป็นต่อการประกอบอาชีพ
 
บันทึุกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2553
บันทึุกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2553บันทึุกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2553
บันทึุกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2553
 
8 กระบวนพัฒน์
8 กระบวนพัฒน์8 กระบวนพัฒน์
8 กระบวนพัฒน์
 
V 296
V 296V 296
V 296
 
V 284
V 284V 284
V 284
 
เผยแพร่ผลงาน
เผยแพร่ผลงานเผยแพร่ผลงาน
เผยแพร่ผลงาน
 

แนวทางปฏิบัติที่ดีในการดำเนินงานด้านประกันคุณภาพของกลุ่มสำนัก/สถาบัน

  • 1. รหัส 9.1.9.2 รายงานผลการสัมมนาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เรื่อง “แนวทางปฏิบัติที่ดีในการดาเนินงานด้านประกันคุณภาพของกลุ่มสานัก/สถาบัน” วันจันทร์ ที่ 4 มีนาคม 2556 เวลา 10.00 - 12.00 น. ณ ห้องประชุมสานักเสริมศึกษาและบริการสังคม ชั้น 5 มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ผู้เข้าร่วมสัมมนา สานักเสริมศึกษาและบริการสังคม 1. อ.ดร.สุวรรณา โควะวินทวีวัฒน์ ตาแหน่ง รองผู้อานวยการฝ่ายบริการวิชาการ 2. นายมนัสสิทธิ์ นาคสวัสดิ์ ตาแหน่ง เลขานุการสานัก 3. นางสาวสดศรี ทับสุทธิ์ ตาแหน่ง หัวหน้างานบริหารและการวางแผน 4. นางสาวพวงเพชร ราชพิบูลย์ ตาแหน่ง เจ้าหน้าที่วิเคราะห์นโยบายและแผน สานักหอสมุด 1. นางสาวนพวรรณ วัฒนะนนท์ ตาแหน่ง บรรณารักษ์ชานาญการ 2. นางสาวกนกวรรณ บัวงาน ตาแหน่ง บรรณารักษ์ 3. นางสาวขวัญชนก สถาพรพิบูลย์ ตาแหน่ง บรรณารักษ์ 4.นางสาวอัญชนา ปัทนาถา ตาแหน่ง นักวิเคราะห์นโยบายและแผน สถาบันไทยคดีศึกษา 1.นางจันทนี พึ่งเถื่อน ตาแหน่ง นักวิชาการศึกษา ชานาญการพิเศษ 2.นางสาวโศรยา สุรัญญาพฤติ ตาแหน่ง เจ้าหน้าที่บริหารงานทั่วไป 3. นางสาวศิริพร ฟูตระกูล ตาแหน่ง เจ้าหน้าที่บริหารงานทั่วไป 4.นางณัฐธยาน์ ทรงฉลาด ตาแหน่ง นักวิชาการศึกษา ชานาญการพิเศษ สถาบันวิจัยและให้คาปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 1. นางสาวกานติมา พงษ์ศักดิ์ ตาแหน่ง เจ้าหน้าที่วางแผนและพัฒนาระบบ 2. นางสาวสุวรรณี ติวะตันสกุล ตาแหน่ง เจ้าหน้าที่ติดตามและประมวลผล สถาบันทรัพยากรมนุษย์ 1. นางศรีรัตน์ ขันธมาลัย ตาแหน่ง เจ้าหน้าที่วิเคราะห์นโยบายและแผน ชานาญการ 2. นางสาวสมสุข จันทศร ตาแหน่ง เจ้าหน้าที่บริหารงานทั่วไป ชานาญการ 3. นางสาวอุไรวรรณ รุ่งไหรัญ ตาแหน่ง นักวิจัย
  • 2. รหัส 9.1.9.2 เปิดการสัมมนา เวลา 10.00 น. ดร.สุวรรณา โควะวินทวีวัฒน์ ได้กล่าวต้อนรับผู้เข้าร่วมสัมมนาและกล่าวถึงวัตถุประสงค์ในการ ประชุมเพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้แนวทางในการดาเนินการด้านประกันคุณภาพ และเป็นการสร้างเครือข่ายการ ทางานด้านประกันคุณภาพร่วมกันระหว่างสานักเสริมศึกษาและบริการสังคม สถาบันวิจัยและให้คาปรึกษา แห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ สถาบันทรัพยากรมนุษย์ สานักหอสมุด และสถาบันไทยคดีศึกษา ในส่วนที่เป็น ตัวบ่งชี้ร่วมกันในประเด็นที่ประสบปัญหา ซึ่งมีหัวข้อดังนี้ 1.แลกเปลี่ยนเรียนรู้ตัวบ่งชี้คุณภาพระหว่างหน่วยงานในแต่ละตัวบ่งชี้ดังนี้ ตัวบ่งชี้ส.ก.อ.1.1 กระบวนการพัฒนาแผน ในตัวบ่งชี้สกอ.1.1 หน่วยงานที่แลกเปลี่ยน คือ สถาบันไทยคดีศึกษา ซึ่งได้รับผลการประเมิน 5 คะแนน ได้มีการเสนอแนะวิธีการดาเนินงาน หน่วยงานมีการกาหนดวาระการประชุมและนาข้อเสนอแนะ จากการประชุมมาปรับปรุงแก้ไข้อย่างชัดเจน มีการรายงานผลของแผนกลยุทธ์และแผนปฏิบัติราชการรายงาน ต่อที่ประชุม และหน่วยงานมีการกาหนดปฏิทินของแผนอย่างชัดเจน ตัวบ่งชี้ส.ก.อ. 7.1 ภาวะผู้นาของสภาสถาบันและผู้บริหารทุกระดับของสถาบัน ในตัวบ่งชี้สกอ.7.1 หน่วยงานได้มีแลกเปลี่ยนความคิดเห็นร่วมกัน ดังนี้ สานักเสริมศึกษาฯได้มีการจัดทาแบบประเมินกรรมการประจาสานัก เพื่อให้กรรมการประจาสานัก เป็นผู้ประเมินตนเอง โดยแบบประเมินมีการกาหนดตามภารกิจของกรรมการประจาสานัก/สถาบัน สานักหอสมุด ได้มีการศึกษาเกณฑ์การประเมินกรรมการประจาสานัก โดยได้ศึกษาจากระเบียบการ ประเมินของมหาวิทยาลัย และนามาปรับใช้กับสานัก ตัวบ่งชี้ส.ก.อ.7.2 การพัฒนาสถาบันสู่สถาบันเรียนรู้ ในตัวบ่งชี้สกอ.7.2 หน่วยงานได้มีแลกเปลี่ยนความคิดเห็นร่วมกัน ดังนี้ สานักหอสมุด ได้นาเสนอแนวการปฏิบัติตัวบ่งชี้ว่า หน่วยงานได้มีการพัฒนาการเรียนรู้จาก 2 ส่วน คือ ความรู้จากการทางานของผู้ที่จะเกษียณในอนาคต และความรู้เพื่อพัฒนางานตามภารกิจหลักของหน่วยงาน โดยจะจัดทาเป็นเอกสารเผยแพร่ทางเว็บไซด์
  • 3. รหัส 9.1.9.2 สานักเสริมศึกษาและบริการสังคม ได้มีการมอบหมายให้แต่ละฝ่ายโดยกาหนดไว้ในตัวชี้วัดรายบุคคล เพื่อให้แต่ละฝ่ายเลือกประเด็นความรู้ที่จะถ่ายทอดให้บุคลากร ซึ่งในแต่ละฝ่ายจะมีการประชุม และมีการ จัดทาเอกสารเป็นรูปเล่มเพื่อเผยแพร่ให้บุคลากร และเผยแพร่ลงเว็บไซด์ ตัวบ่งชี้ส.ก.อ.7.3 ระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารและการตัดสินใจ ในตัวบ่งชี้สกอ.7.3 หน่วยงานได้มีแลกเปลี่ยนความคิดเห็นร่วมกัน ดังนี้ สานักหอสมุด ได้มีการจัดทาระบบสารสนเทศเพื่อการตัดสินใจในการจัดซื้อหนังสือ โดยให้บุคลากร เป็นผู้ประเมิน และนาผลที่ได้จากการประเมินมาปรับปรุงการทางานของสานัก สถาบันทรัพยากรมนุษย์ ได้มีการจัดทาระบบ Intranet หน่วยงานขึ้น โดยสามารถจัดเก็บและรวบรวม ข้อมูลต่างๆ ไว้ในระบบ เพื่อให้ผู้บริหารและผู้เกี่ยวข้องสามารถดูข้อมูลและนาข้อมูลไปใช้ในการรายงานต่อ ผู้บริหารและมหาวิทยาลัยได้ ตัวบ่งชี้ส.ก.อ.7.4 ระบบบริหารความเสี่ยง ในตัวบ่งชี้สกอ.7.4 หน่วยงานที่เข้าร่วมสัมมนาสามารถดาเนินการได้ เนื่องจากมหาวิทยาลัยมีการ กาหนดการจัดทาแผนบริหารความเสี่ยง และกาหนดให้มีการรายงานติดตามแผนบริหารความเสี่ยงต่อ มหาวิทยาลัยอย่างสม่าเสมอ ตัวบ่งชี้ส.ก.อ.8.1 ระบบและกลไกการเงินและงบประมาณ ในตัวบ่งชี้สกอ.8.1 หน่วยงานที่เข้าร่วมสัมมนาได้มีการแลกเปลี่ยนความคิดเห็น ซึ่งแต่ละหน่วยงาน สามารถดาเนินการได้เกณฑ์การประเมิน เนื่องจากหน่วยงานจะต้องมีการกาหนดแผนงบประมาณให้ สอดคล้องกับแผนยุทธศาสตร์ของมหาวิทยาลัย และจัดส่งแผนดังกล่าวไปยังมหาวิทยาลัย ตัวบ่งชี้ส.ก.อ.9.1 ระบบและกลไกการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ในตัวบ่งชี้สกอ.9.1 หน่วยงานได้มีแลกเปลี่ยนความคิดเห็นร่วมกัน ดังนี้ สานักเสริมศึกษาและบริการสังคม ได้มีการสร้างเครือข่ายกับหน่วยงานภายในและภายนอก โดยหน่วยงานภายในมีการสร้างเครือข่ายกับหน่วยงานสนับสนุนการเรียนการสอน ส่วนหน่วยงานภายนอก สานักได้มีหน่วยงานภายนอกเข้ามาศึกษาดู และสานักได้ไปศึกษาดูงานกับหน่วยงานภายนอกด้วย
  • 4. รหัส 9.1.9.2 ตัวบ่งชี้สมศ.17 ผลการพัฒนาตามจุดเน้นและจุดเด่นที่ส่งผลสะท้อนเป็นเอกลักษณ์ของสถาบัน ในตัวบ่งชี้สมศ.17 หน่วยงานที่เข้าร่วมสัมมนาได้มีการกาหนดเอกลักษณ์ของหน่วยงานเองโดย แตกต่างจากเอกลักษณ์ของมหาวิทยาลัย ซึ่งมีการกาหนดตามภารกิจของหน่วยงาน และหน่วยงานสามารถ ดาเนินการได้ตามเกณฑ์ที่กาหนด 2.เผยแพร่แนวทางปฏิบัติที่ดีระหว่างหน่วยงาน สถาบันไทยคดีศึกษา มีแนวปฏิบัติดังนี้ 1. พัฒนากระบวนการวางแผนอย่างต่อเนื่องและเป็นรูปธรรม โดยเปิดโอกาสให้บุคลากรมีส่วนร่วม วิเคราะห์สถานการณ์องค์กรและเสนอโครงการและกิจกรรมในแผน 2. มีการบริหารจัดการและดาเนินงานตามเกณฑ์คุณภาพของตัวบ่งชี้สมศ. 17 ผลการพัฒนาตาม จุดเน้นและจุดเด่นที่ส่งผลสะท้อนเอกลักษณ์ของสถาบันฯ โดยสถาบันฯ กาหนดเอกลักษณ์ เฉพาะองค์กรซึ่งต่างจากเอกลักษณ์ของมหาวิทยาลัย จึงกาหนดแผนปฏิบัติการที่เชื่อมโยงกับ แนวทางดาเนินงานของตัวบ่งชี้เฉพาะที่สถาบันฯ กาหนดขึ้นเอง เพื่อลดความซ้าซ้อน ใช้ทรัพยากร อย่างคุ้มค่าและมีประโยชน์ร่วมกันได้ 3. สถาบันฯ เจรจาความร่วมมือกับหน่วยงานภายในมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์อีก 2 หน่วยงาน ประกอบด้วย สถาบันทรัพยากรมนุษย์ และสานักเสริมศึกษาและบริการสังคม โดยจัดทาบันทึก ข้อตกลงในการให้บริการทางวิชาการ การทานุบารุงศิลปวัฒนธรรม และการสร้างเครือข่ายด้าน การประกันคุณภาพ โดยยึดหลักประสิทธิภาพและประสิทธิผลตามมาตรฐานการจัดการศึกษา ของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 4. สถาบันฯ พัฒนาเครือข่ายประกันคุณภาพกับหน่วยงานภายนอกสถาบันฯ คือ ศูนย์วัฒนธรรม ศึกษา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล ล้านนา ซึ่งมีพันธกิจใกล้เคียงกับสถาบันฯ จึงได้ แลกเปลี่ยนแนวปฏิบัติเพื่อการประกันคุณภาพผลงานตามภารกิจด้านการวิจัยและการทานุบารุง ศิลปะและวัฒนธรรม สถาบันทรัพยากรมนุษย์ มีแนวปฏิบัติดังนี้ 1. สถาบันฯ จัดทาระบบ QA Center ด้านการประกันคุณภาพ เพื่อรวบรวมข้อมูลรายงานผล การดาเนินงาน และติดตามผลการดาเนินงาน นาเสนอต่อผู้บริหาร
  • 5. รหัส 9.1.9.2 สานักหอสมุด มีแนวปฏิบัติดังนี้ 1. มีเว็บไซต์ประกันคุณภาพสานักหอสมุด (TULIBS-QA) 2. มีฐานข้อมูลประกันคุณภาพสานักหอสมุดเพื่อจัดเก็บหลักฐานแต่ละตัวบ่งชี้โดยใช้ Open Source Software ชื่อ DSpace 3. มีการเชื่อมโยงเว็บไซต์ประกันคุณภาพสานักหอสมุด (TULIBS-QA) และฐานข้อมูลประกันคุณภาพ สานักหอสมุดกับฐานข้อมูลด้านการประกันคุณภาพการศึกษา (CHE QA ONLINE SYSTEM) ของสานักงาน คณะกรรมการการอุดมศึกษา 4. มีการสร้างเครือข่ายกับหน่วยงานภายในมหาวิทยาลัย และห้องสมุดสถาบันอุดมศึกษาภายนอกใน ด้านประกันคุณภาพ สถาบันวิจัยให้คาปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ มีแนวปฏิบัติดังนี้ 1. สานักได้มีการจัดเก็บข้อมูลด้านประกันคุณภาพในระบบ Intranet ในการเก็บข้อมูล 2. มีการสร้างเครือข่ายกับหน่วยงานภายในมหาวิทยาลัยในด้านประกันคุณภาพ สานักเสริมศึกษาและบริการสังคม มีแนวปฏิบัติดังนี้ สานักมีระบบเครือข่ายภายใน (Workgroup) ของสานัก โดยกาหนดไว้ใน Folder/QA และกาหนด ไฟล์แต่ละตัวบ่งชี้ซึ่งกาหนดชื่อเป็นชื่อของผู้รับผิดชอบ เพื่อให้ผู้รับผิดชอบสามารถรายงานผลการดาเนินงาน ของตัวบ่งชี้นั้น และกาหนด Folder เพื่อจัดเก็บเอกสารอ้างอิง โดยกาหนดชื่อเป็นชื่อของผู้รับผิดชอบเช่นกัน ปิดการสัมมนา เวลา 12.00 น. นางสาวพวงเพชร ราชพิบูลย์ ผู้จดรายงานการประชุม