SlideShare a Scribd company logo
บทที่ 1
                                                 บทนำ


1.1 ทีมำและควำมสำคัญ
      ่

         ในช่วงเดือนธันวาคมถึงเดือนเมษายนของทุกปี ทางภาคเหนื อตอนบนของประเทศไทย มักจะประสบ
กับ ปั ญ หามลภาวะทางอากาศ เกิ ด มี ป ริ ม าณฝุ่ นละอองหนาแน่ น เกิ น ระดับ มาตรฐาน องค์ก ารอนามัย โลก
(มากกว่า 50 g / m3 ) โดยเฉพาะอย่างยิ่งในปี พ.ศ. 2544 ถึง พ.ศ.2554 นี้ ปริ มาณฝุ่ นละอองดังกล่าวมีแนวโน้ม
ที่จะเพิ่มมากขึ้นเรื่ อยๆ ผูจดทาจึงมีแนวคิดที่จะศึกษาวิธีการพยากรณ์ปริ มาณฝุ่ นละอองในอากาศในอนาคต ว่าจะมี
                            ้ั
มากน้อยเพียงใด โดยอาศัยระเบียบการศึกษาวิธีทางสถิติ เพื่อนาเสนอผลการศึกษา ทั้งนี้ เพื่อเป็ นประโยชน์ในการ
วางแผนเพื่อหาแนวทางการแก้ไขปั ญหาดังกล่าวให้กับผูที่เกี่ ยวข้อง ตลอดจนสร้ างความตระหนักในการลด
                                                 ้
พฤติกรรมที่ก่อให้เกิดฝุ่ นละอองในอากาศด้วย


1.2 วัตถุประสงค์

         1.2.1 เพื่อศึ กษาแนวโน้มของปริ มาณฝุ่ นละอองในอากาศ ณ จุ ดตรวจวัดโรงเรี ยนยุพราชวิทยาลัย
                จังหวัดเชียงใหม่ ในปี พ.ศ. 2544 – พ.ศ. 2554
         1.2.2 เพื่ อ พยากรณ์ ป ริ มาณฝุ่ นละอองในอากาศ ณ จุ ด ตรวจวัด โรงเรี ยนยุ พ ราชวิ ท ยาลั ย
                จังหวัดเชียงใหม่ ในปี พ.ศ. 2555 – พ.ศ. 2556


1.3 สมมติฐำน

         จากข้อมูลปริ มาณฝุ่ นละอองในอากาศตั้งแต่ พ.ศ. 2544 – 2554 สามารถพยากรณ์ปริ มาณฝุ่ นละออง
ในอากาศในอนาคตได้ โดยอาศัยหลักการวิเคราะห์อนุกรมเวลา
2




1.4 นิยำมศัพท์ เฉพำะ

                                                           ่
         ฝุ่ นละอองในอำกำศ หมายถึง ของแข็งขนาดเล็กที่ลอยอยูในอากาศ ซึ่งเกิดจากธรรมชาติหรื อมนุษย์โดย
นับเป็ นมลพิษทางอากาศ
         ฝุ่ นละอองในอำกำศที่เกินค่ ำมำตรฐำนขององค์ กำรอนำมัยโลก คือ ปริ มาณฝุ่ นละอองในอากาศที่มีค่า
มากเกิน 50 ไมโครกรัม ต่อ ลูกบาศก์เมตร
         อนุ กรมเวลำ คื อ เซตของข้อมูลเชิ งปริ มาณที่ จัดเก็บในช่ วงเวลาหนึ่ ง ซึ่ งในที่ น้ ี หมายถึ ง ข้อมูลของ
ปริ มาณฝุ่ นละอองในอากาศ ณ จุดตรวจวัด โรงเรี ยนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่ ที่จดเก็บตั้งแต่ปี พ.ศ. 2544
                                                                                   ั
ถึง ปี พ.ศ. 2554
         เส้ นแนวโน้ ม คือ ทิศทางของข้อมูลในอนุกรมเวลาที่มีการเคลื่อนที่ไปในแนวทางใดทางหนึ่ง


1.5 ขอบเขตของกำรศึกษำ

         โครงงานนี้ ได้อาศัยการเก็บรวบรวมข้อมูล ศึ กษา วิเคราะห์ขอมูล และพยากรณ์ขอมูลของปริ มาณฝุ่ น
                                                                 ้               ้
ละอองในอากาศ ณ จุดตรวจวัดโรงเรี ยนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชี ยงใหม่ ของกรมควบคุ มมลพิษทางอากาศ
ในเดือนที่มีค่าปริ มาณฝุ่ นละอองในอากาศเกินค่ามาตรฐานขององค์การอนามัยโลก (มากกว่า 50 g / m3 ) ในช่วง
เดือนมกราคม กุมภาพันธ์ มีนาคม เมษายน และธันวาคม
3




                                                     บทที่ 2
                                       เอกสำรและงำนวิจัยทีเ่ กี่ยวข้ อง


          ในโครงงานเรื่ อ ง การวิเ คราะห์ แ นวโน้มและพยากรณ์ ป ริ ม าณฝุ่ นละอองในอากาศ ณ จุ ด ตรวจวัด
โรงเรี ยนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชี ยงใหม่ คณะผูจัดท าได้ศึกษาเอกสารและงานวิจยที่ เกี่ ยวข้อง ในประเด็ น
                                               ้                            ั
ดังต่อไปนี้

          2.1 อนุกรมเวลา
          2.2 ฝุ่ นละอองในอากาศ

2.1 อนุกรมเวลำ

2.1.1 ควำมหมำยและประเภทของข้ อมูล
          ข้อมูล (Data) บางครั้งเรี ยกว่า “ค่าสังเกตได้” หมายถึง ข้อเท็จจริ งต่าง ๆ ที่ ได้จากการเก็บรวบรวมซึ่ ง
สามารถนาค่าที่สังเกตได้เหล่านี้ ไปวิเคราะห์ แปลความหมาย และนาเสนอเผยแพร่ ขอมูลทางสถิติไม่ใช่ขอมูลที่
                                                                          ้                  ้
เป็ นตัวเลขเท่านั้น อาจเป็ นข้อความหรื อผลที่ได้จากการสังเกตอื่น ๆ ที่มีประโยชน์ต่อการพิจารณาและนาไปใช้
          ถ้าแบ่งประเภทของข้อมูลโดยอาศัยระยะเวลาที่ ใช้ในการเก็บรวบรวมเป็ นเกณฑ์ สามารถแบ่งข้อมูล
ได้เป็ น 2 ประเภท คือ ข้อมูลภาคตัดขวาง (Cross section data) และ ข้อมูลอนุกรมเวลา (Time series data)
          ในโครงงานเรื่ องนี้ ได้ศึกษาเกี่ ยวกับข้อมูลที่เป็ นข้อมูลอนุกรมเวลา (Time series data) คือ ข้อมูลที่ใช้
เวลาการเก็บต่อเนื่ อง ตั้งแต่ตนจนสิ้ นสุ ดช่วงเวลาที่ กาหนด ซึ่ งการเก็บข้อมูลแบบนี้ จะติ ดตามค่าสังเกตอย่าง
                              ้
ต่อเนื่องตั้งแต่ตนจนสิ้นสุดช่วงเวลาที่กาหนด
                 ้

2.1.2 ควำมหมำยของอนุกรมเวลำ

          อนุกรมเวลา (Time series) หมายถึงข้อมูลหรื อค่าสังเกตที่เปลี่ยนแปลงไปตามลาดับเวลาที่เกิดขึ้น ข้อมูล
เหล่านี้ถูกเก็บรวบรวม ณ ช่วงเวลาต่าง ๆ ที่เท่า ๆ กัน หรื อไม่ก็ได้ อนุกรมเวลาเป็ นเรื่ องเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลง
ของตัวแปรในช่วงเวลาที่ผานไป ลักษณะการเปลี่ยนแปลงอาจมีรูปแบบหรื อไม่มีก็ได้ แต่ถาอนุกรมเวลาแสดงให้
                       ่                                                       ้
เห็นรู ปแบบการเปลี่ยนแปลงที่ช่วงเวลาที่ผานมาในอดีต จะทาให้คาดเดาได้วาในอนาคตลักษณะการเปลี่ยนแปลง
                                        ่                           ่
               ่
ของข้อมูลควรอยูในรู ปแบบนั้น การใช้ขอมูลในอดีตเป็ นสิ่ งคาดการณ์การเปลี่ยนแปลงในอนาคตเป็ นพื้นฐานของ
                                    ้
การวิเคราะห์อนุกรมเวลา
4




2.1.3 ส่ วนประกอบของอนุกรมเวลำ

             2.1.3.1 ค่ ำแนวโน้ ม (Long Term Trend : T) ค่าแนวโน้มเป็ นการแสดงถึงการเคลื่อนไหวหรื อ
เปลี่ยนแปลงของข้อมูลในระยะยาว เช่น ปริ มาณการใช้ไฟฟ้ าของประเทศไทย, ปริ มาณการนาเข้าน้ ามันดิบ เป็ น
ต้น
             2.1.3.2 ค่ ำกำรผันแปรตำมฤดูกำล (Seasonal Variation : S) หมายถึงการเปลี่ยนแปลงตามฤดูกาล โดย
เกิ ดขึ้นซ้ า ๆ กันในรอบ 1 ปี จนกลายเป็ นแบบแผนเดี ยวกัน เช่นผลผลิตข้าวจะสู งในช่วงไตรมาสแรกของปี ,
ยอดขายของห้างสรรพสิ นค้าจะสูงในช่วงปลายปี , เป็ นต้น ในการวิเคราะห์การผันแปรตามฤดูกาลนี้ จะวัดออกมา
ในรู ปของดัชนีฤดูกาล(Seasonal Index)
             2.1.3.3 ค่ ำกำรผันแปรตำมวัฏจักร (Cyclical Variation: C) หมายถึงการเคลื่อนไหวที่เป็ นไปตามวัฏจักร
(เช่นวัฏจักรธุรกิจ) ซึ่งการเคลื่อนไหวตามวัฏจักรนี้จะมีลกษณะคล้ายกับการผันแปรตามฤดูกาล แต่จะมีระยะเวลา
                                                        ั
ที่ยาวนานกว่า
             2.1.3.4 กำรผันแปรเนื่องจำกเหตุกำรณ์ ไม่ ปกติ (Irregular Variation: I) การผันแปรชนิ ดนี้ ไม่แน่นอน
ไม่สามารถคาดการณ์ได้ล่วงหน้า เช่น ภัยธรรมชาติ, สงคราม, การนัดหยุดงาน, เป็ นต้น
             ข้อมูลอนุกรมเวลาอาจได้รับอิทธิพลของปั จจัยที่เป็ นส่วนประกอบของอนุกรมเวลาทั้ง 4 ปั จจัยหรื อเพียง
ปั จจัยใดปั จจัยหนึ่งเท่านั้น การวิเคราะห์จึงควรแยกวิเคราะห์ทีละปั จจัยซึ่งในที่น้ ีจะกล่าวถึงการวิเคราะห์ ปั จจัยค่า
แนวโน้ม และค่าผันแปรตามฤดูกาลเท่านั้น

2.1.4 ลักษณะของข้ อมูลทีจะนำมำวิเครำะห์ อนุกรมเวลำ
                        ่

                                            ่
          จากความหมายของอนุกรมเวลาจะเห็นได้วาข้อมูลที่นามาวิเคราะห์อนุกรมเวลาต้องเป็ นข้อมูลที่เก็บ
                                                               ั
รวบรวมมานานพอสมควรและข้อมูลที่เก็บรวบรวมมาได้ตองมีความสัมพันธ์กบเวลา กล่าวคือ การเปลี่ยนแปลง
                                              ้
ค่าของข้อมูลมีสาเหตุมาจากเวลาที่เปลี่ยนแปลงไปเท่านั้น ดังนั้นข้อมูลที่เก็บรวบรวมเพื่อทาการวิเคราะห์อนุกรม
                                     ่
เวลาจะต้องคานึงถึงช่วงระยะเวลาที่ใช้วาเท่ากันหรื อไม่

2.1.5 กำรวิเครำะห์ แนวโน้ มซึ่งเป็ นส่ วนประกอบของอนุกรมเวลำ

          การวิเคราะห์แนวโน้มเป็ นการศึกษาการเคลื่อนไหวของข้อมูลที่เกิดขึ้นในระยะยาว ว่าข้อมูลมีรูปแบบ
การเคลื่อนไหวเป็ นเส้นตรงหรื อเส้นโค้ง เส้นที่ ใช้แทนการเคลื่อนไหวของข้อมูลต้องเป็ นเส้นเรี ยบไม่มีมุมหัก
ซึ่งเรี ยกเส้นนี้วา “เส้นแนวโน้ม” เส้นแนวโน้มที่สร้างขึ้นมีประโยชน์ต่อการพยาการณ์ขอมูลที่จะเกิดขึ้นในอนาคต
                  ่                                                               ้
ภายใต้ขอสมมุติและสภาพแวดล้อมเดียวกับอดีต
       ้
          ค่าที่พยากรณ์ได้จากเส้นแนวโน้มเรี ยกว่า “ค่าแนวโน้ม” เส้นแนวโน้มที่ดีจะต้องสามารถพยากรณ์ค่าได้
ใกล้เคียงความจริ งมากที่สุด
5




         การสร้างแนวโน้มโดยทัวไปทาได้ 2 วิธี คือ การสร้างเส้นแนวโน้มโดยการประมาณด้วยสายตาและ การ
                             ่
สร้างเส้นแนวโน้มโดยการคานวณ
         ในโครงงานนี้ ได้นาวิธีการสร้างเส้นแนวโน้มโดยการคานวณ ซึ่งการสร้างเส้นแนวโน้มโดยการคานวณ
เป็ นวิธีการสร้างเส้นแนวโน้มที่ตองอาศัยความรู ้พ้ืนฐานเกี่ยวกับคณิ ตศาสตร์ และมีความยุงยากมากกว่าการสร้าง
                                ้                                                     ่
แนวโน้มโดยการประมาณด้วยสายตา แต่การสร้ างแนวโน้มโดยการคานวณ มีหลักเกณฑ์ที่เชื่ อถือได้มากกว่า
                                                                          ่ ั
อีกทั้งเส้นแนวโน้มที่ถูกสร้างขึ้นจะมีเพียงเส้นเดียวเท่านั้น และไม่ข้ ึนอยูกบประสบการณ์ของผูสร้าง ก่อนสร้าง
                                                                                           ้
เส้นแนวโน้มโดยการคานวณจะต้องเขียนแผนภาพการกระจายของข้อมูลเพื่อดูการเคลื่อนไหวของข้อมูลว่าเป็ น
เส้นตรงหรื อเส้นโค้ง แล้วจึ งทาการคานวณหาเส้นแนวโน้มการสร้างเส้นแนวโน้มโดยการคานวณมี หลายวิธี
ได้แก่
         1)วิธีเลือกจุด 2 จุดใดๆ (Selected Two Points Method)
         2)วิธีก่ ึงเฉลี่ย (Semi – Average Method)
         3)วิธีค่าเฉลี่ยเคลื่อนที่ (Moving Average Method)
         4)วิธีกาลังสองน้อยที่สุด (Least Square Method)

2.1.6 กำรสร้ ำงเส้ นแนวโน้ มโดยกำรคำนวณด้ วยวิธีกำลังสองน้ อยทีสุด (Least Square Method)
                                                               ่

         เป็ นวิธีการสร้างเส้นแนวโน้มที่ ใช้แนวความคิดที่ จะทาให้ผลรวมของกาลังสองของผลต่างระหว่าง
ค่าแนวโน้มกับค่าข้อมูลที่ เก็บรวบรวมมาได้มีค่าน้อยที่ สุด (least-square error) การสร้างเส้นแนวโน้มด้วยวิธี
กาลังสองน้อยที่สุด เป็ นวิธีที่นิยมเพราะเป็ นวิธีที่ใช้คุณสมบัติทางคณิ ตศาสตร์ที่สาคัญ และน่าเชื่อถือในการหาเส้น
ที่เหมาะที่สุด (line of best fit) ที่ เป็ นตัวแทนของข้อมูลที่ เก็บรวบรวมมาได้ และใช้สร้างเส้นแนวโน้มที่เป็ น
เส้นตรงหรื อไม่ใช่เส้นตรงก็ได้ เมื่อพิจารณาแผนภาพการกระจายข้อมูลที่เก็บรวบรวมมาได้ อาจมีรูปการกระจาย
ที่ มี แ นวโน้ม เป็ นเส้ น ตรงหรื อ เส้ น โค้ง แบบต่ า งๆมากมาย ดัง นั้น รู ป ทั่ว ไปของสมการเส้ น แนวโน้ม ที่ ไ ด้
จากการคานวณด้วยวิธีกาลังสองน้อยที่สุดจึงมีมากมายหลายแบบ ดังตัวอย่างต่อไปนี้
          2.1.6.1 รู ปเส้ นตรง สมการเส้นแนวโน้มรู ปทัวไป คือ Yc  mX  c เมื่อ m และ c เป็ นค่าคงตัว
                                                     ่
         ข้อมูล                                              ข้อมูล




                                        เวลา                                                    เวลา

                                   ภำพที่ 2.1 แสดงสมการแนวโน้มรู ปเส้นตรง
6




         2.1.6.2 รู ปพำรำโบลำ (รูปพหุนำมดีกรีสอง) สมการเส้นแนวโน้มรู ปทัวไป คือ Yc  aX 2  bX  c
                                                                        ่
เมื่อ a, b และ c เป็ นค่าคงตัว

        ข้อมูล                                                 ข้อมูล




                                      เวลา                                                     เวลา

                                 ภำพที่ 2.2แสดงสมการแนวโน้มรู ปพาราโบลา

         2.1.6.3 รู ปเส้ นโค้ งรู ปตัวเอส (รู ปพหุนำมดีกรีสำม) สมการเส้นแนวโน้มรู ปทัวไป คือ
                                                                                     ่
Yc  aX 3  bX 2  cX  d เมื่อ a, b, c และ d เป็ นค่าคงตัว

        ข้อมูล                                                 ข้อมูล



                                      เวลา                                                     เวลา

                             ภำพที่ 2.3แสดงสมการแนวโน้มรู ปเส้นโค้งรู ปตัวเอส

         2.1.6.4 รู ปเอ๊ กซ์ โปเนนเชียลสมการเส้นแนวโน้มรู ปทัวไป คือ Yc  a  b x เมื่อ a และ b เป็ นค่าคงตัว
                                                             ่

        ข้อมูล                                                 ข้อมูล




                                      เวลา                                                     เวลา
                       ภำพที่ 2.4 แสดงสมการแนวโน้มรู ปเส้นโค้งรู ปเอ๊กซ์โปเนนเชียล
7




2.1.7 ค่ ำสัมประสิทธิ์ของกำรตัดสินใจ (Coefficient of Determination):                              R2


            ค่า     R 2 นี้ อธิ บ ายได้ว่า ผลของค่ าตัว แปรตามที่ ไ ด้เป็ นผลหรื อ อิ ท ธิ พ ลจากตัวแปรต้น คิ ดเป็ นสัด ส่ ว น

เท่าใด ส่ วนที่ หายไปเป็ นผลจากตัวแปรหรื อปั จจัยอื่ นที่ ไม่ทราบได้ ดังนั้นหากสมการแนวโน้มมีค่า                    R 2 ยิ่งสู ง

เท่าใดความแม่นยาของการนาสมการแนวโน้มนั้นไปใช้เพื่อทานายหรื อคาดคะเนผลลัพธ์ย่อมมี สูงมากยิ่งขึ้ น
ค่า   R2   มีค่าตั้งแต่ 0 ถึง 1 โดยมีความหมายดังนี้
            ค่า     R2   มี ค่ า เข้าใกล้   0                                            ั
                                                แสดงว่า ตัว แปรตามไม่ มีค วามสัม พัน ธ์ กบ ตัว แปรต้น ตามสมการแนวโน้ม
ที่กาหนด
            ค่า     R2   มีค่าเข้าใกล้ 1 แสดงว่าตัวแปรตามมีความสัมพันธ์กบตัวแปรต้นตามสมการแนวโน้มที่กาหนด
                                                                        ั
            ซึ่งสามารถหาค่า         R2      ได้โดยใช้สูตร
                                                                                    SSE
                                                                         R2  1 
                                                                                    SST
            เมื่อ   SSE (Sum of Square Error) คือ ผลรวมของกาลังสองของค่าคลาดเคลื่อนจากการพยากรณ์

                                                                       SSE   ( yi  yi )2
                                                                                 ˆ

                                       โดยที่       ˆ
                                                    yi          เป็ นค่าตัวแปรตามที่ได้จากการใช้สมการแนวโน้ม
                                       และ          yi           เป็ นค่าตัวแปรตามที่ได้จากข้อมูลจริ ง
            เมื่อ   SST    (Total Sum of Square) คือ ผลรวมของกาลังสองของผลต่างระหว่างข้อมูลจริ งแต่ละตัวกับ
ค่าเฉลี่ยของข้อมูลทั้งหมด
                                                                       SST   ( yi  y )2

                                       โดยที่       yi          เป็ นค่าตัวแปรตามที่ได้จากข้อมูลจริ ง
                                       และ          y           เป็ นค่าเฉลี่ยตัวแปรตามที่ได้จากข้อมูลจริ ง

2.1.8 ค่ ำคลำดเคลือนของกำรพยำกรณ์
                  ่                                             et


            เป้ าหมายของการพยากรณ์คือการทาให้ค่าผิดพลาดในการพยากรณ์ต่ าที่ สุดสาหรับสถิติที่ใช้วดความ
                                                                                                ั
ผิดพลาดของการพยากรณ์ในโครงงานนี้ผจดทาได้แสดงไว้ 2 ประเภท คือ
                                 ู้ ั

2.1.8.1 ค่ ำควำมคลำดเคลือนเฉลียสัมบูรณ์ (Mean Absolute Deviation) :
                        ่     ่                                                                     MAD


            โดยที่         MAD 
                                         e         i

                                                n
2.1.8.2 ค่ ำเบี่ยงเบนมำตรฐำนของค่ ำควำมคลำดเคลือน (Standard Deviation of Error) : SDE
                                               ่

            โดยที่         SDE 
                                            e          i
                                                            2


                                             n 1
8




2.2 ฝุ่ นละอองในอำกำศ
         ฝุ่ นละออง มีความหมายรวมถึงอนุภาคของแข็งและหยดละอองของเหลวที่แขวนลอยกระจายในอากาศ
อนุภาคที่กระจายในอากาศนี้บางชนิดมีขนาดใหญ่และมีสีดาจนมองเห็นเป็ นเขม่าและควันแต่บางชนิ ดมีขนาดเล็ก
มากจนมองด้วยตาเปล่าไม่เห็นฝุ่ นละอองที่แขวนลอยในอากาศ โดยทัวไปมีขนาดตั้งแต่ 100 ไมครอนลงมา
                                                           ่
         ฝุ่ นละอองสามารถก่อให้เกิดผลกระทบต่อสุ ขภาพอนามัยของคน สัตว์ พืชเกิดความเสี ยหายต่ออาคาร
บ้านเรื อน ทาให้เกิ ดความเดื อดร้อนราคาญต่อประชาชนบดบังทัศนะวิสัย ทาให้เกิ ดอุปสรรคในการคมนาคม
ขนส่ งนานาประเทศจึ งได้มีการกาหนดมาตรฐานฝุ่ นละออง ในบรรยากาศขึ้นสาหรับในประเทศสหรัฐอเมริ กา
US. EPA (United state Environmental Protection Agency) ได้มีการกาหนดค่ามาตรฐานของฝุ่ นรวม (Total
Suspended Particulate) และฝุ่ น PM10 แต่เนื่ องจากมีการศึกษาวิจยฝุ่ นขนาดเล็กนั้นจะเป็ นอันตรายต่อสุ ขภาพ
                                                               ั
มากกว่าฝุ่ นรวมเนื่ องจากสามารถผ่านเข้าไประบบทางเดิ นหายใจส่ วนในและมีผลต่อสุ ขภาพมากกว่าฝุ่ นรวม
ดังนั้น US. EPA จึงได้มีการยกเลิกค่ามาตรฐานฝุ่ นรวมและกาหนดค่ามาตรฐานฝุ่ นขนาดเล็กเป็ น 2 ชนิด คือ
         1) PM10 ตามคาจากัดความของ US. EPA หมายถึง ฝุ่ นหยาบ (Course Particle) เป็ นอนุภาคที่มีเส้น
              ผ่านศูนย์กลาง 2.5 - 10 ไมครอนมีแหล่งกาเนิ ดจากการจราจรบนถนนที่ไม้ได้ลาดยางตามการ
              ขนส่งวัสดุฝนจากกิจกรรมบด ย่อย หิ น
                         ุ่
         2) PM2.5 ตามคาจากัดความของ US. EPA หมายถึง ฝุ่ นละเอียด (Final Particles) เป็ นอนุภาคที่มีเส้น
              ผ่านศูนย์กลางเล็กกว่า 2.5 ไมครอนฝุ่ นละเอียดที่มีแหล่งกาเนิ ดจากควันเสี ยของรถยนต์ โรงไฟฟ้ า
              โรงงานอุตสาหกรรม ควันที่เกิดจากการหุ งต้มอาหารโดยใช้ฟืน นอกจากนี้ ก๊าซ SO2NOxและสาร
              VOC จะทาปฏิกิริยากับสารอื่นในอากาศทาให้เกิดฝุ่ นละเอียดได้
         ฝุ่ นละอองขนาดเล็กจะมีผลกระทบต่อสุ ขภาพเป็ นอย่างมากเมื่อหายใจเข้าไปในปอดจะเข้าไปอยู่ใน
ระบบทางเดินหายใจส่ วนล่างในสหรัฐอเมริ กาพบว่า ผูที่ได้รับฝุ่ น PM10 ในระดับหนึ่ งจะทาให้เกิดโรค Asthma
                                                ้
                                           ั
และ ฝุ่ น PM2.5 ในบรรยากาศจะมีความสัมพันธ์กบอัตราการเพิ่มของผูป่วยที่เป็ นโรคหัวใจและโรคปอด และ
                                                              ้
เกี่ยวโยงกับการเสี ยชี วิตก่อนวัยอันควร โดยเฉพาะผูป่วยสู งอายุผป่วยโรคหัวใจ โรคหื ดหอบ และเด็กจะมีอตรา
                                                  ้            ู้                                  ั
เสี่ ยงสูงกว่าคนปกติดวย
                     ้
2.2.1 แหล่ งทีมำของฝุ่ นละอองในบรรยำกำศ
              ่
         ฝุ่ นละอองในอากาศมีแหล่งที่มา ดังนี้
         2.2.1.1 ฝุ่ นละอองที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติ (Natural Particle)
         2.2.1.2 ฝุ่ นละอองที่เกิดจากกิจกรรมที่มนุษย์ (Man-made Particle)
         2.2.1.3 การคมนาคมขนส่ง
         2.2.1.4 การก่อสร้าง
9




2.2.2 หมอกควันในภำคเหนือของประเทศไทย

         หมอกควัน ในภาคเหนื อ เป็ นปั ญหามลพิ ษ ที่ เ กิ ด ขึ้ นเป็ นประจ าทุ ก ปี ในภาคเหนื อ ของประเทศไทย
โดยเฉพาะอย่างยิ่งที่จงหวัดเชียงใหม่เริ่ มตั้งแต่เดือนพฤศจิกายนและมีปริ มาณสู งสุ ดในเดือนมีนาคมสาเหตุหลัก
                     ั
เกิ ดจากไฟป่ าฝุ่ นละอองจากถนนการก่อสร้าง และเขม่าจากน้ ามันดีเซลทาให้คุณภาพอากาศแย่ลง ประกอบกับ
สภาพภูมิประเทศซึ่งมีภูเขาล้อมรอบ ทาให้มลพิษต่าง ๆ ถูกกักไว้และแผ่ปกคลุมทัวเมือง ผลวิจยพบปริ มาณผูป่วย
                                                                         ่           ั           ้
โรคระบบทางเดินหายใจในเชียงใหม่เพิ่มขึ้นทุกปี
         ปั ญหาหมอกควันทาให้คนที่ อยู่ในที่ โล่งนาน ๆ มีอาการแสบตาตาแดง น้ าตาไหล คอแห้ง ระคายคอ
หายใจติดขัด เหนื่อยง่าย และแน่นหน้าอกผลวิจยการหาความสัมพันธ์ของฝุ่ นละอองกับอัตราการป่ วยและเสี ยชีวต
                                          ั                                                         ิ
ของประชาชนในเชี ยงใหม่และลาพูน โดยคณะวิจยมหาวิทยาลัยเชี ยงใหม่ซ่ ึ งมี ผศ.ดร.มงคล รายะนาคร เป็ น
                                        ั
หัวหน้าโครงการ พบค่ าเฉลี่ ย รายวัน ของฝุ่ นละอองขนาด 2.5 ไมครอนในเชี ย งใหม่สู งกว่ามาตรฐานของ
สหรัฐอเมริ กา 3-6 เท่า ผูป่วยโรคระบบทางเดินหายใจในเชียงใหม่ เพิ่มขึ้นทุกปี และอัตราผูป่วยด้วยโรคมะเร็ ง
                         ้                                                           ้
ปอดต่อประชากรแสนคนสู งกว่ากรุ งเทพฯและสู งกว่าค่าเฉลี่ยของประเทศไทยโดยพบผูป่วยโรคระบบทางเดิ น
                                                                          ้
หายใจเพิ่มขึ้นถึงร้อยละ 17.6 ผูป่วยด้วยโรคมะเร็ งปอด อัตราต่อแสนประชากรเพิ่มจาก 9 คน ในปี 2545เพิ่มเป็ น
                               ้
58.12 คน ในปี 2548ฝุ่ นขนาดเล็กจะทาให้หลอดเลื อดหัวใจตี บตัน ซึ่ งอาจสัมพันธ์กับการเสี ยชี วิตเพิ่มขึ้ นที่
โรงพยาบาลสารภีเนื่องจากเป็ นพื้นที่ที่พบปริ มาณฝุ่ นละอองสูงที่สุดในเชียงใหม่
10




                                                   บทที่ 3
                                            วิธีดำเนินกำรศึกษำ


3.1 โปรแกรมพิเศษ
        3.1.1 โปรแกรมประยุกต์ MATLAB เพื่อหาค่าสัมประสิ ทธ์ของสมการของเส้นแนวโน้ม
        3.1.2 โปรแกรม Graph เพื่อสร้างกราฟในการวิเคราะห์แนวโน้ม
        3.1.3 โปรแกรม Microsoft Office (Excel)

3.2 ขั้นตอนกำรดำเนินงำน

          3.2.1. รวบรวมข้อมูลปริ มาณฝุ่ นละอองในอากาศในแต่เดือน ณ จุดตรวจวัดโรงเรี ยนยุพราชวิทยาลัย
จังหวัดเชียงใหม่ต้ งแต่ปี 2544 – 2554
                    ั
          3.2.2. สัง เกตปริ มาณฝุ่ นละอองในอากาศของแต่ล ะเดื อน พบว่าเดื อ นมกราคม กุมภาพันธ์ มี นาคม
เมษายน และธันวาคม มีปริ มาณฝุ่ นละอองในอากาศสูงมากกว่า 50  g / m3
          3.2.3 นาเสนอข้อมูลปริ มาณฝุ่ นละอองในอากาศในแต่เดื อน ณ จุดตรวจวัดโรงเรี ยนยุพราชวิทยาลัย
จังหวัดเชียงใหม่ในรู ปแบบตารางและแผนภาพการกระจาย
                      3.2.3.1 สร้างตารางข้อมูลปริ มาณฝุ่ นละอองในอากาศในแต่เดื อน ณ จุดตรวจวัดโรงเรี ยน
          ยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่
                      3.2.3.2 สร้างแผนภาพการกระจายของของข้อมูล
          3.2.4. ศึ กษาข้อมูลเกี่ยวกับหลักการวิเคราะห์อนุ กรมเวลา การวิเคราะห์แนวโน้ม ค่าสัมประสิ ทธิ์ การ
ตัดสิ นใจและค่าคลาดเคลื่อนของการพยากรณ์
                      3.2.4.1 ศึ กษาหลัก การวิเ คราะห์ อ นุ ก รมเวลา ความหมาย คุ ณสมบัติ ข องข้อ มู ล และ
องค์ประกอบ
                      3.2.4.2 ศึกษาการวิเคราะห์แนวโน้ม และการพยากรณ์ค่าแนวโน้มโดยวิธีกาลังสองน้อยที่สุด
ซึ่งประกอบไปด้วย 4 รู ปแบบ คือ รู ปเส้นตรง รู ปพาราโบลา และรู ปพหุนามดีกรี สาม
                      3.2.4.3 ศึ กษาค่าสัมประสิ ทธิ์ การตัดสิ น ใจและค่าคลาดเคลื่ อนของการพยากรณ์ โดยค่ า
คลาดเคลื่อนของพยากรณ์จะนามาประยุกต์ใช้เพื่อหาค่าความคลาดเคลื่อนเฉลี่ยสัมบูรณ์ และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน
ของค่าความคลาดเคลื่อน
           3.2.5. วิเคราะห์แนวโน้มของปริ มาณฝุ่ นละอองในอากาศในแต่เดื อน ณ จุดตรวจวัดโรงเรี ยนยุพราช
วิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่
                      3.2.5.1 วิเคราะห์แนวโน้มด้วยวิธีการสร้างเส้นแนวโน้มที่อาศัยวิธีกาลังสองน้อยที่ สุด ทั้ง 4
รู ปแบบ
11




         3.2.6. ใช้ขอมูลในข้อที่ 5 พยากรณ์ ปริ มาณฝุ่ นละอองในอากาศในแต่เดื อน ณ จุ ดตรวจวัดโรงเรี ยน
                     ้
ยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่ในปี 2556
                    3.2.6.1 หลังจากที่ ได้สมการแนวโน้ม จากการวิเคราะห์ ค วามสัม พัน ธ์แ ล้ว นาสมการมา
พิจารณาค่าสัมประสิ ทธิ์การตัดสิ นใจของแต่ละสมการ
                    3.2.6.2 เลือกสมการที่มีค่าสัมประสิ ทธิ์ การตัดสิ นใจเข้าใกล้ 1 มากที่ สุด แล้วแทนค่าเพื่อ
พยากรณ์
         3.2.7. หาค่าคลาดเคลื่อนการพยากรณ์
         3.2.8 สรุ ปและอภิปรายผลการทดลองศึกษา
12




                                                    บทที่ 4
                                                ผลกำรศึกษำ


           การศึกษาครั้งนี้ ผูจดทาได้ศึกษาปั ญหาภายใต้ขอบเขตของการศึกษา และได้นากระบวนการเกี่ยวกับการ
                              ้ั
วิเคราะห์อนุกรมเวลามาใช้ในการศึกษาแนวโน้มและพยากรณ์ปริ มาณฝุ่ นละอองในอากาศของเดือนที่มีค่าปริ มาณ
ฝุ่ นละอองในอากาศเกินค่ามาตรฐานขององค์การอนามัยโลก (  50 ไมโครกรัม / ลูกบาศก์เมตร) ณ จุดตรวจวัด
โรงเรี ยนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่ ได้ผลการศึกษาดังนี้


4.1 ปริมำณฝุ่ นละอองในอำกำศของเดือนธันวำคมตั้งแต่ ปี พ.ศ. 2544 –2554

4.1.1 แนวโน้ มแบบเส้ นตรงของปริมำณฝุ่ นละอองในอำกำศของเดือนธันวำคมตั้งแต่ ปี พ.ศ. 2544 –2554

ตำรำงที่ 1 แสดงการคานวณเพื่อหาเส้นแนวโน้มแบบเส้นตรงของปริ มาณฝุ่ นละอองในอากาศ
               ของเดือนธันวาคมตั้งแต่ปี พ.ศ. 2544 –2554

     ปี              xs    ปริ มาณฝุ่ นละอองในอากาศ ( g / m3 ) :   y      x2   f          x y f

    2544         1.00                       38.20                         1.00             38.20
    2545         2.00                       46.60                         4.00             93.20
    2546         3.00                       91.40                         9.00            274.20
    2547         4.00                       68.60                         16.00           274.40
    2548         5.00                       57.40                         25.00           287.00
    2549         6.00                       65.50                         36.00           393.00
    2550         7.00                       53.60                         49.00           375.20
    2551         8.00                       50.40                         64.00           403.20
    2552         9.00                       56.00                         81.00           504.00
    2553         10.00                      40.70                        100.00           407.00
    2554         11.00                      37.00                        121.00           407.00
           x  66                        y  605.4                     x2  506    ( x  y)  3456.4
13




         เมื่อพิจารณาแนวโน้มของปริ มาณฝุ่ นละอองในอากาศของเดือนธันวาคมตั้งแต่ปี พ.ศ. 2544 –2554 ใน
รู ปแบบความสัมพันธ์ที่เป็ นเส้นตรง พบว่า
สมการรู ปทัวไป คือ
           ่                      y  mx  c

และ สมการปกติ คือ            y                   m x  cn                 ..............(1)
                              ( x  y)           m x2  c x              ..............(2)
จากตารางและสมการปกติ จะได้
                             605.4                66m  11c                 ..............(1)
                             3456.4               506m  66c                ..............(2)
                   ่
จากระบบสมการ จะได้วา          m  1.6    และ c  64.6364
         ดังนั้น สมการแนวโน้มในรู ปแบบเส้นตรงของปริ มาณฝุ่ นละอองในอากาศของเดื อนธันวาคมตั้งแต่
ปี พ.ศ. 2544 – พ.ศ. 2554 คือ      y  1.6 x  64.6364


4.1.2 แนวโน้ มแบบพำรำโบลำของปริมำณฝุ่ นละอองในอำกำศของเดือนธันวำคมตั้งแต่ ปี พ.ศ. 2544 –2554
ตำรำงที่ 2 แสดงการคานวณเพื่อหาเส้นแนวโน้มแบบพาราโบลาของปริ มาณฝุ่ นละอองในอากาศ
               ของเดือนธันวาคมตั้งแต่ปี พ.ศ. 2544 –2554
    ปี         xs          yg            x2    f         x3   f     x4   f             x y f       x2  y f

  2544      1.00          38.20          1.00            1.00       1.00              38.20          38.2
  2545      2.00          46.60          4.00            8.00      16.00              93.20         186.4
  2546      3.00          91.40          9.00         27.00        81.00             274.20         822.6
  2547      4.00          68.60          16.00        64.00        256.00            274.40        1097.6
  2548      5.00          57.40          25.00       125.00        625.00            287.00         1435
  2549      6.00          65.50          36.00       216.00       1296.00            393.00         2358
  2550      7.00          53.60          49.00       343.00       2401.00            375.20        2626.4
  2551      8.00          50.40          64.00       512.00       4096.00            403.20        3225.6
  2552      9.00          56.00          81.00       729.00       6561.00            504.00         4536
  2553     10.00          40.70         100.00      1000.00       10000.00           407.00         4070
  2554     11.00          37.00         121.00      1331.00       14641.00           407.00         4477
                         y            x2          x3         x4            ( x  y)     ( x2  y) 
      x  66
                          605.4          506             4356      39974             3456.4        24872.8
หมายเหตุ ค่า   y    คือ ปริ มาณฝุ่ นละอองในอากาศ (มีหน่วยเป็ น g / m3 )
14




                 เมื่อพิจารณาแนวโน้มของปริ มาณฝุ่ นละอองในอากาศของเดือนธันวาคมตั้งแต่ปี พ.ศ. 2544 –2554 ใน
        รู ปแบบความสัมพันธ์ที่เป็ นพาราโบลา พบว่า
        สมการรู ปทัวไป คือ
                   ่                   y  ax2  bx  c

        และ สมการปกติ คือ            y                        a x2  b x  cn              ..............(1)
                                      ( x  y)                a  x3  b  x 2  c  x       ..............(2)
                                      ( x2  y)               a  x 4  b  x3  c  x 2     ..............(3)
        จากตารางและสมการปกติ จะได้
                                     605.4                     506a  66b  11c               ..............(1)
                                     3456.4                    4356a  506b  66c             ..............(2)
                                     24872.8                   39974a  4356b  506c          ..............(3)
                           ่
        จากระบบสมการ จะได้วา         a  1.6, b  10.4783        และ c  64.6364
                 ดังนั้น สมการแนวโน้มในรู ปแบบพาราโบลาของปริ มาณฝุ่ นละอองในอากาศของเดือนธันวาคมตั้งแต่
        ปี พ.ศ. 2544 – พ.ศ. 2554 คือ   y  1.0065x2  10.4783x  38.4667

        4.1.3 แนวโน้ มแบบพหุนำมดีกรีสำมของปริมำณฝุ่ นละอองในอำกำศของเดือนธันวำคมตั้งแต่ ปี พ.ศ. 2544 –2554
        ตำรำงที่ 3 แสดงการคานวณเพื่อหาเส้นแนวโน้มแบบพหุนามดีกรี สามของปริ มาณฝุ่ นละอองในอากาศ
                       ของเดือนธันวาคมตั้งแต่ปี พ.ศ. 2544 – พ.ศ. 2554
 ปี     xs      yg           x2 f       x3 f           x4 f           x5           x6           x y f                x2  y f       x3  y
2544   1.00    38.20         1.00       1.00           1.00           1.00        1.00          38.20                  38.2           38.20
2545   2.00    46.60         4.00       8.00          16.00          32.00       64.00          93.20                  186.4          372.80
2546   3.00    91.40         9.00       27.00         81.00          243.00      729.00         274.20                 822.6         2467.80
2547   4.00    68.60        16.00       64.00         256.00        1024.00     4096.00         274.40                1097.6         4390.40
2548   5.00    57.40        25.00      125.00         625.00        3125.00     15625.00        287.00                 1435          7175.00
2549   6.00    65.50        36.00      216.00        1296.00        7776.00     46656.00        393.00                 2358          14148.00
2550   7.00    53.60        49.00      343.00        2401.00        16807.00   117649.00        375.20                2626.4         18384.80
2551   8.00    50.40        64.00      512.00        4096.00        32768.00   262144.00        403.20                3225.6         25804.80
2552   9.00    56.00        81.00      729.00        6561.00        59049.00   531441.00        504.00                 4536          40824.00
2553   10.00   40.70        100.00     1000.00       10000.00      100000.00   1000000.00       407.00                 4070          40700.00
2554   11.00   37.00        121.00     1331.00       14641.00      161051.00   1771561.00       407.00                 4477          49247.00
               y         x 2
                                      x 3
                                                 x     4
                                                                   x 5
                                                                               x  6
                                                                                              ( x  y)            ( x  y) 
                                                                                                                        2
                                                                                                                                   ( x3  y ) 
  x  66
               605.4         506        4356          39974        381876.00   3749966.00       3456.4                24872.8       203552.80

        หมายเหตุ ค่า   y   คือ ปริ มาณฝุ่ นละอองในอากาศ (มีหน่วยเป็ น g / m3 )
15




          เมื่อพิจารณาแนวโน้มของปริ มาณฝุ่ นละอองในอากาศของเดือนธันวาคมตั้งแต่ปี พ.ศ. 2544 – 2554 ใน
รู ปแบบความสัมพันธ์ที่เป็ นพหุนามดีกรี สาม พบว่า
สมการรู ปทัวไป คือ
           ่                 y  ax3  bx2  cx  d

และ สมการปกติ คือ         y                   a x3  b x2  c x  nd              ..............(1)
                           ( x  y)           a x4  b x3  c x2  d  x          ..............(2)
                           ( x2  y)          a x5  b x4  c x3  d  x2         ..............(3)
                           ( x3  y )         a  x 6  b  x5  c  x 4  d  x 3   ..............(4)
จากตารางและสมการปกติ จะได้
                          605.4                4356a  506b  66c  11d               ..............(1)
                          3456.4               39974a  4356b  506c  66d            ..............(2)
                          24872.8              381876a  39974b  4356c  506d        ..............(3)
                          203552.8             3749966a  381876b  39974c  4356d ….....(4)

                   ่
จากระบบสมการ จะได้วา      a  0.2428, b  5.3772, c  32.38     และ d  11.9515
          ดังนั้น สมการแนวโน้มในรู ปแบบพหุ นามดีกรี สามของปริ มาณฝุ่ นละอองในอากาศของเดือนธันวาคม
ตั้งแต่   ปี พ.ศ. 2544 – พ.ศ. 2554 คือ   y  0.2428x3  5.3772 x2  32.38x  11.9515
16




4.1.4 แนวโน้ มแบบเอ็กซ์ โพเนนเชียลของปริมำณฝุ่ นละอองในอำกำศของเดือนธันวำคมตั้งแต่ ปี พ.ศ.2544 –2554

ตำรำงที่ 4 แสดงการคานวณเพื่อหาเส้นแนวโน้มแบบเอ็กซ์โพเนนเชียลของปริ มาณฝุ่ นละอองในอากาศ
               ของเดือนธันวาคมตั้งแต่ปี พ.ศ. 2544 –2554

    ปี          xs             yg                 x2                    log y   f                       x log y   f
  2544         1.00           38.20              1.00                     1.58                             1.58
  2545         2.00           46.60              4.00                     1.67                             3.34
  2546         3.00           91.40              9.00                     1.96                             5.88
  2547         4.00           68.60              16.00                    1.84                             7.35
  2548         5.00           57.40              25.00                    1.76                             8.79
  2549         6.00           65.50              36.00                    1.82                            10.90
  2550         7.00           53.60              49.00                    1.73                            12.10
  2551         8.00           50.40              64.00                    1.70                            13.62
  2552         9.00           56.00              81.00                    1.75                            15.73
  2553         10.00          40.70             100.00                    1.61                            16.10
  2554         11.00          37.00             121.00                    1.57                            17.25
          x  66           y  605.4         x2  506           log y  18.98                    x log y  112.64

หมายเหตุ ค่า    y   คือ ปริ มาณฝุ่ นละอองในอากาศ (มีหน่วยเป็ น g / m3 )

            เมื่อพิจารณาแนวโน้มของปริ มาณฝุ่ นละอองในอากาศของเดือนธันวาคมตั้งแต่ปี พ.ศ. 2544 – พ.ศ. 2554
ในรู ปแบบความสัมพันธ์ที่เป็ นเอ็กซ์โพเนนเชียล พบว่า
สมการรู ปทัวไป คือ
           ่                    y  ab x หรื อ log y  log a  x log b

และ สมการปกติ คือ             log y             N log a  log b x                 ..............(1)
                              x log y           log a x  log b x2               ..............(2)
จากตารางและสมการปกติ จะได้
                             18.98045            11log a  66log b                  ..............(1)
                             112.6424            66log a  506log b                 ..............(2)
                   ่
จากระบบสมการ จะได้วา         log a  1.7931   และ logb =  0.0113 ดังนั้น a = 6.008049 และ b = 0.988764
17




          ดังนั้น สมการแนวโน้มในรู ปแบบเอ็กซ์โพเนนเชียลของปริ มาณฝุ่ นละอองในอากาศของเดือนธันวาคม
ตั้งแต่   ปี พ.ศ. 2544 – พ.ศ. 2554 คือ    y  (6.008049)(0.988764) x



และในการศึกษาทานองเดียวกันของเดือนมกราคม กุมพาพันธ์ มีนาคม และเมษายนได้ผลการศึกษา ดังนี้
สมำกำรแนวโน้ มรู ปแบบเส้ นตรง
             มกราคม                      y   3.269x  88.48

             กุมภาพันธ์                  y   6.136x  134.2

             มีนาคม                      y  2.185x  91.29

             เมษายน                      y  0.452x  66.02



สมกำรแนวโน้ มรู ปแบบพำลำโปลำ
             มกราคม                      y   0.756x 2  5.810x  68.81

             กุมภาพันธ์                  y   0.438x 2  0.877x  122.8

             มีนาคม                      y   3.430x 2  43.34x  2.114

             เมษายน                      y   0.266x 2  3.652x  59.08



สมกำรแนวโน้ มรู ปแบบพหุนำมดีกรีสำม
             มกราคม                      y  0.201x3  4.385x 2  23.99x  46.79

             กุมภาพันธ์                  y  0.090x3  2.064x 2  7.269x  113.0

             มีนาคม                      y   0.048x3  2.550x 2  38.93x  7.451

             เมษายน                      y   0.024x3  0.172x 2  1.450x  61.75



สมำกำรแนวโน้ มรู ปแบบเอ็กซ์ โพเนนเชียล
             มกราคม                      y  90.04e0.04x

             กุมภาพันธ์                  y  130.7e0.06x

             มีนาคม                      y  75.22e0.035x

             เมษายน                      y  62.77e0.007x
18




ตำรำงที่ 5 ตารางสรุ ปผลการศึกษา




                                                            ค่ ำสั มประสิ ทธิ์ของ




                                                                                                                                                                             ควำมคลำดเคลือน
ข้ อมูลของ




                                                                                                                                                            มำตรฐำนของค่ ำ
                                                                                                                                                                                         ่
                                                                                                   ค่ ำควำมคลำด
                             รู ปแบบเส้ นแนวโน้ ม




                                                                                    กำรตัดสิ นใจ


                                                                                                                  เคลือนเฉลีย


                                                                                                                                            ค่ ำเบี่ยงเบน
                                                                                                                            ่
  เดือน




                                                                                                                                สั มบูรณ์
                                                                                                                      ่
             เส้นตรง: y     3.269x  88.48                        0.343                                         9.65                                      14.99
             พาราโบลา: y      0.756x 2  5.810x  68.81           0.486                                         8.22                                      13.26
 มกราคม      พหุนามดีกรี สาม:
                                                                    0.560                                         7.88                                      12.28
              y  0.201x3  4.385x 2  23.99x  46.79

             เอ็กซ์โพเนนเชียล: y    90.04e0.04x                   0.448                                     10.87                                         15.54
             เส้นตรง: y     6.136x  134.2                        0.297                                     24.94                                         31.29
             พาราโบลา: y      0.438x 2  0.877x  122.8           0.309                                     23.91                                         31.03
กุมภาพันธ์ พหุนามดีกรี สาม:
                                                                    0.312                                     23.89                                         30.95
              y  0.090x3  2.064x 2  7.269x  113.0

             เอ็กซ์โพเนนเชียล: y    130.7e0.06x                   0.271                                     25.64                                         31.97
             เส้นตรง: y    2.185x  91.29                          0.018                                     37.43                                         52.31
             พาราโบลา: y      3.430x 2  43.34x  2.114           0.380                                     29.44                                         41.56
  มีนาคม     พหุนามดีกรี สาม:
                                                                    0.381                                     28.92                                         41.54
              y   0.048x3  2.550x 2  38.93x  7.451

             เอ็กซ์โพเนนเชียล: y    75.22e0.035x                   0.050                                     36.04                                         54.01
             เส้นตรง: y    0.452x  66.02                          0.004                                     17.66                                         22.96
             พาราโบลา: y      0.266x 2  3.652x  59.08           0.015                                     17.96                                         22.82
 เมษายน      พหุนามดีกรี สาม:                                                                                                                               22.82
                                                                    0.016                                     17.86
              y   0.024x3  0.172x 2  1.450x  61.75

             เอ็กซ์โพเนนเชียล: y    62.77e0.007x                   0.006                                     16.78                                         23.21
             เส้นตรง: y  1.6x  64.6364                           0.111                                     10.74                                         15.00
             พาราโบลา: y  1.0065x2  10.4783x  38.46             0.454                                         8.20                                      11.75
 ธันวาคม     พหุนามดีกรี สาม:
                                                                    0.598                                         6.44                                      10.09
              y  0.2428x3  5.3772 x2  32.38x  11.9515

             เอ็กซ์โพเนนเชียล: y  (6.008049)(0.988764) x           0.099                                     11.05                                         15.15
19




                                                    บทที่ 5
                                         สรุ ป อภิปรำยผล และข้ อเสนอ


                   จากการศึ กษา และวิเ คราะห์ ข้อ มู ล ปริ ม าณฝุ่ นละอองในอากาศเพื่ อศึ กษาแนวโน้ม และ
พยากรณ์ ป ริ ม าณฝุ่ นละอองในอากาศสามารถพยากรณ์ ปริ มาณฝุ่ นละอองในอากาศในอนาคตได้ โดยอาศัย
หลักการวิเคราะห์อนุกรมเวลา

5.1 สรุปผลกำรศึกษำ

         จากการศึ กษารู ปแบบของเส้นแนวโน้มปริ มาณฝุ่ นละอองในอากาศ ณ จุดตรวจวัด โรงเรี ยนยุพราช
วิทยาลัย จังหวัดเชี ยงใหม่ ด้วยวิธีการสร้างเส้นแนวโน้มที่ อาศัยวิธีกาลังสองน้อยที่ สุด ทั้งสิ้ น 4 รู ปแบบ คื อ
                                                                                             ่
รู ปเส้นตรง รู ปพาราโบลา รู ปพหุ นามดีกรี สามและรู ปเอ๊กซ์โปเนนเชีย ล พบว่า เส้นแนวโน้มที่อยูในรู ปพหุ นาม
ดี กรี สามมี ค่าสัมประสิ ทธิ์ ของการตัดสิ นใจใกล้เคี ยงกับ 1 มากที่ สุด ทาให้ได้รูปแบบการพยากรณ์ ปริ มาณ
ฝุ่ นละอองในอากาศในช่วงเดื อน มกราคม กุมภาพันธ์ มีนาคม เมษายน และธันวาคม ของทุกปี ณ จุดตรวจวัด
โรงเรี ยนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่ ดังนี้
                   เดือนมกราคม           y  0.201x3  4.385x 2  23.99x  46.79

                   เดือนกุมภาพันธ์       y  0.090x3  2.064x 2  7.269x  113.0

                   มีนาคม                y   0.048x3  2.550x 2  38.93x  7.451

                   เมษายน                y   0.024x3  0.172x 2  1.450x  61.75

                   ธันวาคม               y  0.2428x3  5.3772 x2  32.38x  11.9515

             จากรู ปแบบการพยากรณ์ สามารถคาดเดาปริ มาณฝุ่ นละอองในอากาศของปี พ.ศ.2555 และพ.ศ.2556
สาหรับเดือนมกราคมกุมภาพันธ์ มีนาคม เมษายน และธันวาคม ได้เป็ น

ตำรำงที่ 6 การพยากรณ์ปริ มาณปริ มาณฝุ่ นละอองในอากาศในเดือนต่างๆ ในปี พ.ศ.2555

         ปริ มาณฝุ่ นละอองในอากาศ ณ จุดตรวจวัดโรงเรี ยนยุพราชวิทยาลัยจังหวัดเชียงใหม่(  g / m3 )
     มกราคม                 กุมภาพันธ์              มีนาคม                เมษายน                ธันวาคม
      50.558                  58.532                24.467                62.446                 44.398
20




          ค่าปริ มาณฝุ่ นละอองในอากาศที่ได้ในแต่ละเดือน ภายใต้ค่าสัมประสิ ทธิ์ของการตัดสิ นใจ เดือนมกราคม
กุมภาพันธ์ มีนาคม เมษายน และธันวาคม ตามลาดับดังนี้ 0.560,0.312,0.381,0.016และ0.598

ตำรำงที่ 7 การพยากรณ์ปริ มาณปริ มาณฝุ่ นละอองในอากาศในเดือนต่างๆ ในปี พ.ศ.2556

         ปริ มาณฝุ่ นละอองในอากาศ ณ จุดตรวจวัดโรงเรี ยนยุพราชวิทยาลัยจังหวัดเชียงใหม่(  g / m3 )
       มกราคม               กุมภาพันธ์                มีนาคม                 เมษายน            ธันวาคม
       59.192                 56.411                  -22.865                 56.94             55.851

          ค่าปริ มาณฝุ่ นละอองในอากาศที่ได้ในแต่ละเดือน ภายใต้ค่าสัมประสิ ทธิ์ของการตัดสิ นใจ เดือนมกราคม
กุมภาพันธ์ มีนาคม เมษายน และธันวาคม ตามลาดับดังนี้ 0.560,0.312,0.381,0.016และ0.598

5.2 กำรอภิปรำยผล
          การศึกษาแนวโน้มปริ มาณฝุ่ นละอองในอากาศ ณ จุดตรวจวัดโรงเรี ยนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่
พบว่าข้อมูลมีการเปลี่ยนแปลงในทุก ๆ ปี ทั้งนี้เป็ นผลมาจากสภาพอากาศ สภาพแวดล้อม ปรากฏการณ์ธรรมชาติ
ที่ไม่สามารถควบคุมได้ การศึกษาแนวโน้มของปริ มาณฝุ่ นละอองในอากาศที่ อาศัยการสร้างเส้นแนวโน้มด้วยวิธี
กาลังสองน้อยที่สุด ทั้งสิ้น 4 รู ปแบบ คือ รู ปเส้นตรง รู ปพาราโบลา รู ปพหุ นามดีกรี สามและรู ปเอ๊กซ์โปเนนเชียล
พบว่าการพยากรณ์จะมีความแม่นยามากขึ้นถ้าหากมีการใช้พหุ นามดีกรี สาม จากการพยากรณ์ในปี พ.ศ.2556 ได้
ค่าปริ มาณฝุ่ นละอองติดลบ ซึ่งไม่ตรงกับความเป็ นจริ ง ที่ผลลัพธ์ออกมาเช่นนี้เป็ นเพราะข้อจากัดของพหุ นามดีกรี
สามส่ วนที่เป็ นฟั งก์ชนลด ซึ่ งมีโอกาสจะให้ค่าของฟั งก์ชนที่ติดลบได้ ดังนั้นการใช้เส้นแนวโน้มในรู ปพหุ นาม
                       ั                                 ั
ดีกรี สามในการพยากรณ์ขอมูลส่ วนนี้ อาจไม่เหมาะ สมควรใช้เส้นแนวโน้มที่เป็ นพหุ นามในดี กรี ที่สูงขึ้นไปจะ
                      ้
เหมาะสมกว่า ซึ่ งถ้าหากสามารถพยากรณ์ปริ มาณฝุ่ นละอองในอากาศ ณ จุดตรวจวัดโรงเรี ยนยุพราชวิทยาลัย
จังหวัดเชี ยงใหม่ได้แม่นยา จะสามารถนาไปประยุกต์ใช้ในการศึ กษาผลกระทบต่อสิ่ งแวดล้อมและมนุ ษย์ใน
อนาคต รวมถึงแนวทางในการการรับมือกับปริ มาณฝุ่ นละอองในอากาศที่จะเกิดขึ้นในอนาคตได้


5.3 ข้ อเสนอแนะ
          5.3.1 ควรศึกษาผลกระทบของปรากฏการณ์ธรรมชาติในแต่ละปี
          5.3.2ควรศึกษาแนวโน้มของปริ มาณฝุ่ นละอองในอากาศโดยการสร้างเส้นแนวโน้มด้วยพหุ นามดีกรี ที่
สูงขึ้นเพื่อเปรี ยบเทียบว่าค่าสัมประสิ ทธิ์การตัดสิ นใจจะใกล้เคียงกับ 1 มากที่สุดหรื อไม่
          5.3.3 ควรศึกษาแนวโน้มองค์ประอื่นๆของอนุกรมเวลาเช่นค่าการแปรผันตามฤดูกาล ค่าการแปรตามวัฎ
จักร

More Related Content

What's hot

โครงงานคอมพิวเตอร์ ยาดมสมุนไพร PDF
โครงงานคอมพิวเตอร์ ยาดมสมุนไพร PDFโครงงานคอมพิวเตอร์ ยาดมสมุนไพร PDF
โครงงานคอมพิวเตอร์ ยาดมสมุนไพร PDF
Wichitchai Buathong
 
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มด
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มดโครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มด
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มดพัน พัน
 
โครงงานเรื่อง กล้วย (กล้วยแขก)
โครงงานเรื่อง กล้วย (กล้วยแขก) โครงงานเรื่อง กล้วย (กล้วยแขก)
โครงงานเรื่อง กล้วย (กล้วยแขก) Np Vnk
 
โครงงานคัดแยกขยะ
โครงงานคัดแยกขยะโครงงานคัดแยกขยะ
โครงงานคัดแยกขยะ
Pang Pond
 
โครงงานเคมีกัญ (1)
โครงงานเคมีกัญ (1)โครงงานเคมีกัญ (1)
โครงงานเคมีกัญ (1)Guntima NaLove
 
เค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์
เค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์เค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์
เค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์
โทโต๊ะ บินไกล
 
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บทตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บทchaipalat
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ ถ่านอัดแท่งสมุนไพร1
โครงงานวิทยาศาสตร์ ถ่านอัดแท่งสมุนไพร1โครงงานวิทยาศาสตร์ ถ่านอัดแท่งสมุนไพร1
โครงงานวิทยาศาสตร์ ถ่านอัดแท่งสมุนไพร1Chok Ke
 
เทียนหอมสมุนไพรไล่ยุง
เทียนหอมสมุนไพรไล่ยุงเทียนหอมสมุนไพรไล่ยุง
เทียนหอมสมุนไพรไล่ยุง
BoomCNC
 
เล่ม 2 สมการเคมี
เล่ม 2 สมการเคมีเล่ม 2 สมการเคมี
เล่ม 2 สมการเคมี
Preeyapat Lengrabam
 
โครงงานอาชีพ คุกกี้ธัญพืช
โครงงานอาชีพ คุกกี้ธัญพืชโครงงานอาชีพ คุกกี้ธัญพืช
โครงงานอาชีพ คุกกี้ธัญพืชMin Pchw
 
โครงงานคณิตศาสตร์
โครงงานคณิตศาสตร์โครงงานคณิตศาสตร์
โครงงานคณิตศาสตร์Jiraprapa Suwannajak
 
ตัวอย่างรายงานโครงงาน
ตัวอย่างรายงานโครงงานตัวอย่างรายงานโครงงาน
ตัวอย่างรายงานโครงงานThanawadee Prim
 
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ป.3
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ป.3แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ป.3
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ป.3
Khunnawang Khunnawang
 
แผนการสอนปรับพื้นฐานม.4 การเคลื่อนที่
แผนการสอนปรับพื้นฐานม.4 การเคลื่อนที่แผนการสอนปรับพื้นฐานม.4 การเคลื่อนที่
แผนการสอนปรับพื้นฐานม.4 การเคลื่อนที่เกษรา จุ้งลก
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...
ssuser858855
 
รายงานการศึกษาค้นคว้า
รายงานการศึกษาค้นคว้ารายงานการศึกษาค้นคว้า
รายงานการศึกษาค้นคว้าtanakit pintong
 
ปกโครงงานคณิตศาสตร์
ปกโครงงานคณิตศาสตร์ปกโครงงานคณิตศาสตร์
ปกโครงงานคณิตศาสตร์
ศุภกรณ์ วัฒนศรี
 
รูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงานรูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงาน
AjBenny Pong
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง น้ำยาเช็ดกระจกจากแป้งข้าวโพด
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง น้ำยาเช็ดกระจกจากแป้งข้าวโพดโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง น้ำยาเช็ดกระจกจากแป้งข้าวโพด
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง น้ำยาเช็ดกระจกจากแป้งข้าวโพดพัน พัน
 

What's hot (20)

โครงงานคอมพิวเตอร์ ยาดมสมุนไพร PDF
โครงงานคอมพิวเตอร์ ยาดมสมุนไพร PDFโครงงานคอมพิวเตอร์ ยาดมสมุนไพร PDF
โครงงานคอมพิวเตอร์ ยาดมสมุนไพร PDF
 
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มด
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มดโครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มด
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มด
 
โครงงานเรื่อง กล้วย (กล้วยแขก)
โครงงานเรื่อง กล้วย (กล้วยแขก) โครงงานเรื่อง กล้วย (กล้วยแขก)
โครงงานเรื่อง กล้วย (กล้วยแขก)
 
โครงงานคัดแยกขยะ
โครงงานคัดแยกขยะโครงงานคัดแยกขยะ
โครงงานคัดแยกขยะ
 
โครงงานเคมีกัญ (1)
โครงงานเคมีกัญ (1)โครงงานเคมีกัญ (1)
โครงงานเคมีกัญ (1)
 
เค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์
เค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์เค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์
เค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์
 
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บทตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ ถ่านอัดแท่งสมุนไพร1
โครงงานวิทยาศาสตร์ ถ่านอัดแท่งสมุนไพร1โครงงานวิทยาศาสตร์ ถ่านอัดแท่งสมุนไพร1
โครงงานวิทยาศาสตร์ ถ่านอัดแท่งสมุนไพร1
 
เทียนหอมสมุนไพรไล่ยุง
เทียนหอมสมุนไพรไล่ยุงเทียนหอมสมุนไพรไล่ยุง
เทียนหอมสมุนไพรไล่ยุง
 
เล่ม 2 สมการเคมี
เล่ม 2 สมการเคมีเล่ม 2 สมการเคมี
เล่ม 2 สมการเคมี
 
โครงงานอาชีพ คุกกี้ธัญพืช
โครงงานอาชีพ คุกกี้ธัญพืชโครงงานอาชีพ คุกกี้ธัญพืช
โครงงานอาชีพ คุกกี้ธัญพืช
 
โครงงานคณิตศาสตร์
โครงงานคณิตศาสตร์โครงงานคณิตศาสตร์
โครงงานคณิตศาสตร์
 
ตัวอย่างรายงานโครงงาน
ตัวอย่างรายงานโครงงานตัวอย่างรายงานโครงงาน
ตัวอย่างรายงานโครงงาน
 
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ป.3
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ป.3แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ป.3
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ป.3
 
แผนการสอนปรับพื้นฐานม.4 การเคลื่อนที่
แผนการสอนปรับพื้นฐานม.4 การเคลื่อนที่แผนการสอนปรับพื้นฐานม.4 การเคลื่อนที่
แผนการสอนปรับพื้นฐานม.4 การเคลื่อนที่
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...
 
รายงานการศึกษาค้นคว้า
รายงานการศึกษาค้นคว้ารายงานการศึกษาค้นคว้า
รายงานการศึกษาค้นคว้า
 
ปกโครงงานคณิตศาสตร์
ปกโครงงานคณิตศาสตร์ปกโครงงานคณิตศาสตร์
ปกโครงงานคณิตศาสตร์
 
รูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงานรูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงาน
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง น้ำยาเช็ดกระจกจากแป้งข้าวโพด
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง น้ำยาเช็ดกระจกจากแป้งข้าวโพดโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง น้ำยาเช็ดกระจกจากแป้งข้าวโพด
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง น้ำยาเช็ดกระจกจากแป้งข้าวโพด
 

Similar to โครงงานปริมาณฝุ่นละอองในอากาศ

แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ วรากร 609
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ วรากร 609แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ วรากร 609
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ วรากร 609วรากร หลวงโย
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ วรากร 609
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ วรากร 609แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ วรากร 609
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ วรากร 609วรากร หลวงโย
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์Panit Jaijareun
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์Panit Jaijareun
 
บทที่ 1 5
บทที่ 1 5บทที่ 1 5
บทที่ 1 5
Tonkaow Jb
 
04 แบบจำลองอะตอมของโบร์และกลุ่มหมอก
04 แบบจำลองอะตอมของโบร์และกลุ่มหมอก04 แบบจำลองอะตอมของโบร์และกลุ่มหมอก
04 แบบจำลองอะตอมของโบร์และกลุ่มหมอกkruannchem
 
SMMS 53 Spectrum Library
SMMS 53 Spectrum LibrarySMMS 53 Spectrum Library
SMMS 53 Spectrum LibrarySunt Uttayarath
 
05 พันธะไอออนิก
05 พันธะไอออนิก05 พันธะไอออนิก
05 พันธะไอออนิกkruannchem
 
สถิติเบื้องต้นกลุ่ม 2 สำรอง
สถิติเบื้องต้นกลุ่ม 2 สำรองสถิติเบื้องต้นกลุ่ม 2 สำรอง
สถิติเบื้องต้นกลุ่ม 2 สำรองดา ดาลี่
 
สถิติเบื้องต้นกลุ่ม 2 สำรอง
สถิติเบื้องต้นกลุ่ม 2 สำรองสถิติเบื้องต้นกลุ่ม 2 สำรอง
สถิติเบื้องต้นกลุ่ม 2 สำรองดา ดาลี่
 
ตัวอย่างการทำslide
ตัวอย่างการทำslideตัวอย่างการทำslide
ตัวอย่างการทำslide
rubtumproject.com
 
1 การวิเคราะห์เส้นทาง path analysis
1 การวิเคราะห์เส้นทาง path analysis1 การวิเคราะห์เส้นทาง path analysis
1 การวิเคราะห์เส้นทาง path analysis
khuwawa2513
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
Nattanan Rassameepak
 
การวิจัยเชิงสำรวจ
การวิจัยเชิงสำรวจการวิจัยเชิงสำรวจ
การวิจัยเชิงสำรวจkhuwawa2513
 
แผนการสอน โมเมนตั้มและการชน หลักสูตร 2551
แผนการสอน โมเมนตั้มและการชน หลักสูตร 2551แผนการสอน โมเมนตั้มและการชน หลักสูตร 2551
แผนการสอน โมเมนตั้มและการชน หลักสูตร 2551
Weerachat Martluplao
 
Financial forecasting by time series 55660701
Financial forecasting by time series 55660701Financial forecasting by time series 55660701
Financial forecasting by time series 55660701
Pongsiri Nontasak
 
statistics
statisticsstatistics
statistics
Poxpox Pox
 

Similar to โครงงานปริมาณฝุ่นละอองในอากาศ (20)

แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ วรากร 609
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ วรากร 609แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ วรากร 609
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ วรากร 609
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ วรากร 609
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ วรากร 609แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ วรากร 609
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ วรากร 609
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
บทที่ 1 5
บทที่ 1 5บทที่ 1 5
บทที่ 1 5
 
04 แบบจำลองอะตอมของโบร์และกลุ่มหมอก
04 แบบจำลองอะตอมของโบร์และกลุ่มหมอก04 แบบจำลองอะตอมของโบร์และกลุ่มหมอก
04 แบบจำลองอะตอมของโบร์และกลุ่มหมอก
 
SMMS 53 Spectrum Library
SMMS 53 Spectrum LibrarySMMS 53 Spectrum Library
SMMS 53 Spectrum Library
 
Wave 1
Wave 1Wave 1
Wave 1
 
05 พันธะไอออนิก
05 พันธะไอออนิก05 พันธะไอออนิก
05 พันธะไอออนิก
 
สถิติเบื้องต้นกลุ่ม 2 สำรอง
สถิติเบื้องต้นกลุ่ม 2 สำรองสถิติเบื้องต้นกลุ่ม 2 สำรอง
สถิติเบื้องต้นกลุ่ม 2 สำรอง
 
สถิติเบื้องต้นกลุ่ม 2 สำรอง
สถิติเบื้องต้นกลุ่ม 2 สำรองสถิติเบื้องต้นกลุ่ม 2 สำรอง
สถิติเบื้องต้นกลุ่ม 2 สำรอง
 
ตัวอย่างการทำslide
ตัวอย่างการทำslideตัวอย่างการทำslide
ตัวอย่างการทำslide
 
1 การวิเคราะห์เส้นทาง path analysis
1 การวิเคราะห์เส้นทาง path analysis1 การวิเคราะห์เส้นทาง path analysis
1 การวิเคราะห์เส้นทาง path analysis
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
73 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล บทนำ
73 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล บทนำ73 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล บทนำ
73 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล บทนำ
 
การวิจัยเชิงสำรวจ
การวิจัยเชิงสำรวจการวิจัยเชิงสำรวจ
การวิจัยเชิงสำรวจ
 
74 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่1_เนื้อหา
74 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่1_เนื้อหา74 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่1_เนื้อหา
74 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่1_เนื้อหา
 
แผนการสอน โมเมนตั้มและการชน หลักสูตร 2551
แผนการสอน โมเมนตั้มและการชน หลักสูตร 2551แผนการสอน โมเมนตั้มและการชน หลักสูตร 2551
แผนการสอน โมเมนตั้มและการชน หลักสูตร 2551
 
Financial forecasting by time series 55660701
Financial forecasting by time series 55660701Financial forecasting by time series 55660701
Financial forecasting by time series 55660701
 
statistics
statisticsstatistics
statistics
 

โครงงานปริมาณฝุ่นละอองในอากาศ

  • 1. บทที่ 1 บทนำ 1.1 ทีมำและควำมสำคัญ ่ ในช่วงเดือนธันวาคมถึงเดือนเมษายนของทุกปี ทางภาคเหนื อตอนบนของประเทศไทย มักจะประสบ กับ ปั ญ หามลภาวะทางอากาศ เกิ ด มี ป ริ ม าณฝุ่ นละอองหนาแน่ น เกิ น ระดับ มาตรฐาน องค์ก ารอนามัย โลก (มากกว่า 50 g / m3 ) โดยเฉพาะอย่างยิ่งในปี พ.ศ. 2544 ถึง พ.ศ.2554 นี้ ปริ มาณฝุ่ นละอองดังกล่าวมีแนวโน้ม ที่จะเพิ่มมากขึ้นเรื่ อยๆ ผูจดทาจึงมีแนวคิดที่จะศึกษาวิธีการพยากรณ์ปริ มาณฝุ่ นละอองในอากาศในอนาคต ว่าจะมี ้ั มากน้อยเพียงใด โดยอาศัยระเบียบการศึกษาวิธีทางสถิติ เพื่อนาเสนอผลการศึกษา ทั้งนี้ เพื่อเป็ นประโยชน์ในการ วางแผนเพื่อหาแนวทางการแก้ไขปั ญหาดังกล่าวให้กับผูที่เกี่ ยวข้อง ตลอดจนสร้ างความตระหนักในการลด ้ พฤติกรรมที่ก่อให้เกิดฝุ่ นละอองในอากาศด้วย 1.2 วัตถุประสงค์ 1.2.1 เพื่อศึ กษาแนวโน้มของปริ มาณฝุ่ นละอองในอากาศ ณ จุ ดตรวจวัดโรงเรี ยนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่ ในปี พ.ศ. 2544 – พ.ศ. 2554 1.2.2 เพื่ อ พยากรณ์ ป ริ มาณฝุ่ นละอองในอากาศ ณ จุ ด ตรวจวัด โรงเรี ยนยุ พ ราชวิ ท ยาลั ย จังหวัดเชียงใหม่ ในปี พ.ศ. 2555 – พ.ศ. 2556 1.3 สมมติฐำน จากข้อมูลปริ มาณฝุ่ นละอองในอากาศตั้งแต่ พ.ศ. 2544 – 2554 สามารถพยากรณ์ปริ มาณฝุ่ นละออง ในอากาศในอนาคตได้ โดยอาศัยหลักการวิเคราะห์อนุกรมเวลา
  • 2. 2 1.4 นิยำมศัพท์ เฉพำะ ่ ฝุ่ นละอองในอำกำศ หมายถึง ของแข็งขนาดเล็กที่ลอยอยูในอากาศ ซึ่งเกิดจากธรรมชาติหรื อมนุษย์โดย นับเป็ นมลพิษทางอากาศ ฝุ่ นละอองในอำกำศที่เกินค่ ำมำตรฐำนขององค์ กำรอนำมัยโลก คือ ปริ มาณฝุ่ นละอองในอากาศที่มีค่า มากเกิน 50 ไมโครกรัม ต่อ ลูกบาศก์เมตร อนุ กรมเวลำ คื อ เซตของข้อมูลเชิ งปริ มาณที่ จัดเก็บในช่ วงเวลาหนึ่ ง ซึ่ งในที่ น้ ี หมายถึ ง ข้อมูลของ ปริ มาณฝุ่ นละอองในอากาศ ณ จุดตรวจวัด โรงเรี ยนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่ ที่จดเก็บตั้งแต่ปี พ.ศ. 2544 ั ถึง ปี พ.ศ. 2554 เส้ นแนวโน้ ม คือ ทิศทางของข้อมูลในอนุกรมเวลาที่มีการเคลื่อนที่ไปในแนวทางใดทางหนึ่ง 1.5 ขอบเขตของกำรศึกษำ โครงงานนี้ ได้อาศัยการเก็บรวบรวมข้อมูล ศึ กษา วิเคราะห์ขอมูล และพยากรณ์ขอมูลของปริ มาณฝุ่ น ้ ้ ละอองในอากาศ ณ จุดตรวจวัดโรงเรี ยนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชี ยงใหม่ ของกรมควบคุ มมลพิษทางอากาศ ในเดือนที่มีค่าปริ มาณฝุ่ นละอองในอากาศเกินค่ามาตรฐานขององค์การอนามัยโลก (มากกว่า 50 g / m3 ) ในช่วง เดือนมกราคม กุมภาพันธ์ มีนาคม เมษายน และธันวาคม
  • 3. 3 บทที่ 2 เอกสำรและงำนวิจัยทีเ่ กี่ยวข้ อง ในโครงงานเรื่ อ ง การวิเ คราะห์ แ นวโน้มและพยากรณ์ ป ริ ม าณฝุ่ นละอองในอากาศ ณ จุ ด ตรวจวัด โรงเรี ยนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชี ยงใหม่ คณะผูจัดท าได้ศึกษาเอกสารและงานวิจยที่ เกี่ ยวข้อง ในประเด็ น ้ ั ดังต่อไปนี้ 2.1 อนุกรมเวลา 2.2 ฝุ่ นละอองในอากาศ 2.1 อนุกรมเวลำ 2.1.1 ควำมหมำยและประเภทของข้ อมูล ข้อมูล (Data) บางครั้งเรี ยกว่า “ค่าสังเกตได้” หมายถึง ข้อเท็จจริ งต่าง ๆ ที่ ได้จากการเก็บรวบรวมซึ่ ง สามารถนาค่าที่สังเกตได้เหล่านี้ ไปวิเคราะห์ แปลความหมาย และนาเสนอเผยแพร่ ขอมูลทางสถิติไม่ใช่ขอมูลที่ ้ ้ เป็ นตัวเลขเท่านั้น อาจเป็ นข้อความหรื อผลที่ได้จากการสังเกตอื่น ๆ ที่มีประโยชน์ต่อการพิจารณาและนาไปใช้ ถ้าแบ่งประเภทของข้อมูลโดยอาศัยระยะเวลาที่ ใช้ในการเก็บรวบรวมเป็ นเกณฑ์ สามารถแบ่งข้อมูล ได้เป็ น 2 ประเภท คือ ข้อมูลภาคตัดขวาง (Cross section data) และ ข้อมูลอนุกรมเวลา (Time series data) ในโครงงานเรื่ องนี้ ได้ศึกษาเกี่ ยวกับข้อมูลที่เป็ นข้อมูลอนุกรมเวลา (Time series data) คือ ข้อมูลที่ใช้ เวลาการเก็บต่อเนื่ อง ตั้งแต่ตนจนสิ้ นสุ ดช่วงเวลาที่ กาหนด ซึ่ งการเก็บข้อมูลแบบนี้ จะติ ดตามค่าสังเกตอย่าง ้ ต่อเนื่องตั้งแต่ตนจนสิ้นสุดช่วงเวลาที่กาหนด ้ 2.1.2 ควำมหมำยของอนุกรมเวลำ อนุกรมเวลา (Time series) หมายถึงข้อมูลหรื อค่าสังเกตที่เปลี่ยนแปลงไปตามลาดับเวลาที่เกิดขึ้น ข้อมูล เหล่านี้ถูกเก็บรวบรวม ณ ช่วงเวลาต่าง ๆ ที่เท่า ๆ กัน หรื อไม่ก็ได้ อนุกรมเวลาเป็ นเรื่ องเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลง ของตัวแปรในช่วงเวลาที่ผานไป ลักษณะการเปลี่ยนแปลงอาจมีรูปแบบหรื อไม่มีก็ได้ แต่ถาอนุกรมเวลาแสดงให้ ่ ้ เห็นรู ปแบบการเปลี่ยนแปลงที่ช่วงเวลาที่ผานมาในอดีต จะทาให้คาดเดาได้วาในอนาคตลักษณะการเปลี่ยนแปลง ่ ่ ่ ของข้อมูลควรอยูในรู ปแบบนั้น การใช้ขอมูลในอดีตเป็ นสิ่ งคาดการณ์การเปลี่ยนแปลงในอนาคตเป็ นพื้นฐานของ ้ การวิเคราะห์อนุกรมเวลา
  • 4. 4 2.1.3 ส่ วนประกอบของอนุกรมเวลำ 2.1.3.1 ค่ ำแนวโน้ ม (Long Term Trend : T) ค่าแนวโน้มเป็ นการแสดงถึงการเคลื่อนไหวหรื อ เปลี่ยนแปลงของข้อมูลในระยะยาว เช่น ปริ มาณการใช้ไฟฟ้ าของประเทศไทย, ปริ มาณการนาเข้าน้ ามันดิบ เป็ น ต้น 2.1.3.2 ค่ ำกำรผันแปรตำมฤดูกำล (Seasonal Variation : S) หมายถึงการเปลี่ยนแปลงตามฤดูกาล โดย เกิ ดขึ้นซ้ า ๆ กันในรอบ 1 ปี จนกลายเป็ นแบบแผนเดี ยวกัน เช่นผลผลิตข้าวจะสู งในช่วงไตรมาสแรกของปี , ยอดขายของห้างสรรพสิ นค้าจะสูงในช่วงปลายปี , เป็ นต้น ในการวิเคราะห์การผันแปรตามฤดูกาลนี้ จะวัดออกมา ในรู ปของดัชนีฤดูกาล(Seasonal Index) 2.1.3.3 ค่ ำกำรผันแปรตำมวัฏจักร (Cyclical Variation: C) หมายถึงการเคลื่อนไหวที่เป็ นไปตามวัฏจักร (เช่นวัฏจักรธุรกิจ) ซึ่งการเคลื่อนไหวตามวัฏจักรนี้จะมีลกษณะคล้ายกับการผันแปรตามฤดูกาล แต่จะมีระยะเวลา ั ที่ยาวนานกว่า 2.1.3.4 กำรผันแปรเนื่องจำกเหตุกำรณ์ ไม่ ปกติ (Irregular Variation: I) การผันแปรชนิ ดนี้ ไม่แน่นอน ไม่สามารถคาดการณ์ได้ล่วงหน้า เช่น ภัยธรรมชาติ, สงคราม, การนัดหยุดงาน, เป็ นต้น ข้อมูลอนุกรมเวลาอาจได้รับอิทธิพลของปั จจัยที่เป็ นส่วนประกอบของอนุกรมเวลาทั้ง 4 ปั จจัยหรื อเพียง ปั จจัยใดปั จจัยหนึ่งเท่านั้น การวิเคราะห์จึงควรแยกวิเคราะห์ทีละปั จจัยซึ่งในที่น้ ีจะกล่าวถึงการวิเคราะห์ ปั จจัยค่า แนวโน้ม และค่าผันแปรตามฤดูกาลเท่านั้น 2.1.4 ลักษณะของข้ อมูลทีจะนำมำวิเครำะห์ อนุกรมเวลำ ่ ่ จากความหมายของอนุกรมเวลาจะเห็นได้วาข้อมูลที่นามาวิเคราะห์อนุกรมเวลาต้องเป็ นข้อมูลที่เก็บ ั รวบรวมมานานพอสมควรและข้อมูลที่เก็บรวบรวมมาได้ตองมีความสัมพันธ์กบเวลา กล่าวคือ การเปลี่ยนแปลง ้ ค่าของข้อมูลมีสาเหตุมาจากเวลาที่เปลี่ยนแปลงไปเท่านั้น ดังนั้นข้อมูลที่เก็บรวบรวมเพื่อทาการวิเคราะห์อนุกรม ่ เวลาจะต้องคานึงถึงช่วงระยะเวลาที่ใช้วาเท่ากันหรื อไม่ 2.1.5 กำรวิเครำะห์ แนวโน้ มซึ่งเป็ นส่ วนประกอบของอนุกรมเวลำ การวิเคราะห์แนวโน้มเป็ นการศึกษาการเคลื่อนไหวของข้อมูลที่เกิดขึ้นในระยะยาว ว่าข้อมูลมีรูปแบบ การเคลื่อนไหวเป็ นเส้นตรงหรื อเส้นโค้ง เส้นที่ ใช้แทนการเคลื่อนไหวของข้อมูลต้องเป็ นเส้นเรี ยบไม่มีมุมหัก ซึ่งเรี ยกเส้นนี้วา “เส้นแนวโน้ม” เส้นแนวโน้มที่สร้างขึ้นมีประโยชน์ต่อการพยาการณ์ขอมูลที่จะเกิดขึ้นในอนาคต ่ ้ ภายใต้ขอสมมุติและสภาพแวดล้อมเดียวกับอดีต ้ ค่าที่พยากรณ์ได้จากเส้นแนวโน้มเรี ยกว่า “ค่าแนวโน้ม” เส้นแนวโน้มที่ดีจะต้องสามารถพยากรณ์ค่าได้ ใกล้เคียงความจริ งมากที่สุด
  • 5. 5 การสร้างแนวโน้มโดยทัวไปทาได้ 2 วิธี คือ การสร้างเส้นแนวโน้มโดยการประมาณด้วยสายตาและ การ ่ สร้างเส้นแนวโน้มโดยการคานวณ ในโครงงานนี้ ได้นาวิธีการสร้างเส้นแนวโน้มโดยการคานวณ ซึ่งการสร้างเส้นแนวโน้มโดยการคานวณ เป็ นวิธีการสร้างเส้นแนวโน้มที่ตองอาศัยความรู ้พ้ืนฐานเกี่ยวกับคณิ ตศาสตร์ และมีความยุงยากมากกว่าการสร้าง ้ ่ แนวโน้มโดยการประมาณด้วยสายตา แต่การสร้ างแนวโน้มโดยการคานวณ มีหลักเกณฑ์ที่เชื่ อถือได้มากกว่า ่ ั อีกทั้งเส้นแนวโน้มที่ถูกสร้างขึ้นจะมีเพียงเส้นเดียวเท่านั้น และไม่ข้ ึนอยูกบประสบการณ์ของผูสร้าง ก่อนสร้าง ้ เส้นแนวโน้มโดยการคานวณจะต้องเขียนแผนภาพการกระจายของข้อมูลเพื่อดูการเคลื่อนไหวของข้อมูลว่าเป็ น เส้นตรงหรื อเส้นโค้ง แล้วจึ งทาการคานวณหาเส้นแนวโน้มการสร้างเส้นแนวโน้มโดยการคานวณมี หลายวิธี ได้แก่ 1)วิธีเลือกจุด 2 จุดใดๆ (Selected Two Points Method) 2)วิธีก่ ึงเฉลี่ย (Semi – Average Method) 3)วิธีค่าเฉลี่ยเคลื่อนที่ (Moving Average Method) 4)วิธีกาลังสองน้อยที่สุด (Least Square Method) 2.1.6 กำรสร้ ำงเส้ นแนวโน้ มโดยกำรคำนวณด้ วยวิธีกำลังสองน้ อยทีสุด (Least Square Method) ่ เป็ นวิธีการสร้างเส้นแนวโน้มที่ ใช้แนวความคิดที่ จะทาให้ผลรวมของกาลังสองของผลต่างระหว่าง ค่าแนวโน้มกับค่าข้อมูลที่ เก็บรวบรวมมาได้มีค่าน้อยที่ สุด (least-square error) การสร้างเส้นแนวโน้มด้วยวิธี กาลังสองน้อยที่สุด เป็ นวิธีที่นิยมเพราะเป็ นวิธีที่ใช้คุณสมบัติทางคณิ ตศาสตร์ที่สาคัญ และน่าเชื่อถือในการหาเส้น ที่เหมาะที่สุด (line of best fit) ที่ เป็ นตัวแทนของข้อมูลที่ เก็บรวบรวมมาได้ และใช้สร้างเส้นแนวโน้มที่เป็ น เส้นตรงหรื อไม่ใช่เส้นตรงก็ได้ เมื่อพิจารณาแผนภาพการกระจายข้อมูลที่เก็บรวบรวมมาได้ อาจมีรูปการกระจาย ที่ มี แ นวโน้ม เป็ นเส้ น ตรงหรื อ เส้ น โค้ง แบบต่ า งๆมากมาย ดัง นั้น รู ป ทั่ว ไปของสมการเส้ น แนวโน้ม ที่ ไ ด้ จากการคานวณด้วยวิธีกาลังสองน้อยที่สุดจึงมีมากมายหลายแบบ ดังตัวอย่างต่อไปนี้ 2.1.6.1 รู ปเส้ นตรง สมการเส้นแนวโน้มรู ปทัวไป คือ Yc  mX  c เมื่อ m และ c เป็ นค่าคงตัว ่ ข้อมูล ข้อมูล เวลา เวลา ภำพที่ 2.1 แสดงสมการแนวโน้มรู ปเส้นตรง
  • 6. 6 2.1.6.2 รู ปพำรำโบลำ (รูปพหุนำมดีกรีสอง) สมการเส้นแนวโน้มรู ปทัวไป คือ Yc  aX 2  bX  c ่ เมื่อ a, b และ c เป็ นค่าคงตัว ข้อมูล ข้อมูล เวลา เวลา ภำพที่ 2.2แสดงสมการแนวโน้มรู ปพาราโบลา 2.1.6.3 รู ปเส้ นโค้ งรู ปตัวเอส (รู ปพหุนำมดีกรีสำม) สมการเส้นแนวโน้มรู ปทัวไป คือ ่ Yc  aX 3  bX 2  cX  d เมื่อ a, b, c และ d เป็ นค่าคงตัว ข้อมูล ข้อมูล เวลา เวลา ภำพที่ 2.3แสดงสมการแนวโน้มรู ปเส้นโค้งรู ปตัวเอส 2.1.6.4 รู ปเอ๊ กซ์ โปเนนเชียลสมการเส้นแนวโน้มรู ปทัวไป คือ Yc  a  b x เมื่อ a และ b เป็ นค่าคงตัว ่ ข้อมูล ข้อมูล เวลา เวลา ภำพที่ 2.4 แสดงสมการแนวโน้มรู ปเส้นโค้งรู ปเอ๊กซ์โปเนนเชียล
  • 7. 7 2.1.7 ค่ ำสัมประสิทธิ์ของกำรตัดสินใจ (Coefficient of Determination): R2 ค่า R 2 นี้ อธิ บ ายได้ว่า ผลของค่ าตัว แปรตามที่ ไ ด้เป็ นผลหรื อ อิ ท ธิ พ ลจากตัวแปรต้น คิ ดเป็ นสัด ส่ ว น เท่าใด ส่ วนที่ หายไปเป็ นผลจากตัวแปรหรื อปั จจัยอื่ นที่ ไม่ทราบได้ ดังนั้นหากสมการแนวโน้มมีค่า R 2 ยิ่งสู ง เท่าใดความแม่นยาของการนาสมการแนวโน้มนั้นไปใช้เพื่อทานายหรื อคาดคะเนผลลัพธ์ย่อมมี สูงมากยิ่งขึ้ น ค่า R2 มีค่าตั้งแต่ 0 ถึง 1 โดยมีความหมายดังนี้ ค่า R2 มี ค่ า เข้าใกล้ 0 ั แสดงว่า ตัว แปรตามไม่ มีค วามสัม พัน ธ์ กบ ตัว แปรต้น ตามสมการแนวโน้ม ที่กาหนด ค่า R2 มีค่าเข้าใกล้ 1 แสดงว่าตัวแปรตามมีความสัมพันธ์กบตัวแปรต้นตามสมการแนวโน้มที่กาหนด ั ซึ่งสามารถหาค่า R2 ได้โดยใช้สูตร SSE R2  1  SST เมื่อ SSE (Sum of Square Error) คือ ผลรวมของกาลังสองของค่าคลาดเคลื่อนจากการพยากรณ์ SSE   ( yi  yi )2 ˆ โดยที่ ˆ yi เป็ นค่าตัวแปรตามที่ได้จากการใช้สมการแนวโน้ม และ yi เป็ นค่าตัวแปรตามที่ได้จากข้อมูลจริ ง เมื่อ SST (Total Sum of Square) คือ ผลรวมของกาลังสองของผลต่างระหว่างข้อมูลจริ งแต่ละตัวกับ ค่าเฉลี่ยของข้อมูลทั้งหมด SST   ( yi  y )2 โดยที่ yi เป็ นค่าตัวแปรตามที่ได้จากข้อมูลจริ ง และ y เป็ นค่าเฉลี่ยตัวแปรตามที่ได้จากข้อมูลจริ ง 2.1.8 ค่ ำคลำดเคลือนของกำรพยำกรณ์ ่ et เป้ าหมายของการพยากรณ์คือการทาให้ค่าผิดพลาดในการพยากรณ์ต่ าที่ สุดสาหรับสถิติที่ใช้วดความ ั ผิดพลาดของการพยากรณ์ในโครงงานนี้ผจดทาได้แสดงไว้ 2 ประเภท คือ ู้ ั 2.1.8.1 ค่ ำควำมคลำดเคลือนเฉลียสัมบูรณ์ (Mean Absolute Deviation) : ่ ่ MAD โดยที่ MAD  e i n 2.1.8.2 ค่ ำเบี่ยงเบนมำตรฐำนของค่ ำควำมคลำดเคลือน (Standard Deviation of Error) : SDE ่ โดยที่ SDE  e i 2 n 1
  • 8. 8 2.2 ฝุ่ นละอองในอำกำศ ฝุ่ นละออง มีความหมายรวมถึงอนุภาคของแข็งและหยดละอองของเหลวที่แขวนลอยกระจายในอากาศ อนุภาคที่กระจายในอากาศนี้บางชนิดมีขนาดใหญ่และมีสีดาจนมองเห็นเป็ นเขม่าและควันแต่บางชนิ ดมีขนาดเล็ก มากจนมองด้วยตาเปล่าไม่เห็นฝุ่ นละอองที่แขวนลอยในอากาศ โดยทัวไปมีขนาดตั้งแต่ 100 ไมครอนลงมา ่ ฝุ่ นละอองสามารถก่อให้เกิดผลกระทบต่อสุ ขภาพอนามัยของคน สัตว์ พืชเกิดความเสี ยหายต่ออาคาร บ้านเรื อน ทาให้เกิ ดความเดื อดร้อนราคาญต่อประชาชนบดบังทัศนะวิสัย ทาให้เกิ ดอุปสรรคในการคมนาคม ขนส่ งนานาประเทศจึ งได้มีการกาหนดมาตรฐานฝุ่ นละออง ในบรรยากาศขึ้นสาหรับในประเทศสหรัฐอเมริ กา US. EPA (United state Environmental Protection Agency) ได้มีการกาหนดค่ามาตรฐานของฝุ่ นรวม (Total Suspended Particulate) และฝุ่ น PM10 แต่เนื่ องจากมีการศึกษาวิจยฝุ่ นขนาดเล็กนั้นจะเป็ นอันตรายต่อสุ ขภาพ ั มากกว่าฝุ่ นรวมเนื่ องจากสามารถผ่านเข้าไประบบทางเดิ นหายใจส่ วนในและมีผลต่อสุ ขภาพมากกว่าฝุ่ นรวม ดังนั้น US. EPA จึงได้มีการยกเลิกค่ามาตรฐานฝุ่ นรวมและกาหนดค่ามาตรฐานฝุ่ นขนาดเล็กเป็ น 2 ชนิด คือ 1) PM10 ตามคาจากัดความของ US. EPA หมายถึง ฝุ่ นหยาบ (Course Particle) เป็ นอนุภาคที่มีเส้น ผ่านศูนย์กลาง 2.5 - 10 ไมครอนมีแหล่งกาเนิ ดจากการจราจรบนถนนที่ไม้ได้ลาดยางตามการ ขนส่งวัสดุฝนจากกิจกรรมบด ย่อย หิ น ุ่ 2) PM2.5 ตามคาจากัดความของ US. EPA หมายถึง ฝุ่ นละเอียด (Final Particles) เป็ นอนุภาคที่มีเส้น ผ่านศูนย์กลางเล็กกว่า 2.5 ไมครอนฝุ่ นละเอียดที่มีแหล่งกาเนิ ดจากควันเสี ยของรถยนต์ โรงไฟฟ้ า โรงงานอุตสาหกรรม ควันที่เกิดจากการหุ งต้มอาหารโดยใช้ฟืน นอกจากนี้ ก๊าซ SO2NOxและสาร VOC จะทาปฏิกิริยากับสารอื่นในอากาศทาให้เกิดฝุ่ นละเอียดได้ ฝุ่ นละอองขนาดเล็กจะมีผลกระทบต่อสุ ขภาพเป็ นอย่างมากเมื่อหายใจเข้าไปในปอดจะเข้าไปอยู่ใน ระบบทางเดินหายใจส่ วนล่างในสหรัฐอเมริ กาพบว่า ผูที่ได้รับฝุ่ น PM10 ในระดับหนึ่ งจะทาให้เกิดโรค Asthma ้ ั และ ฝุ่ น PM2.5 ในบรรยากาศจะมีความสัมพันธ์กบอัตราการเพิ่มของผูป่วยที่เป็ นโรคหัวใจและโรคปอด และ ้ เกี่ยวโยงกับการเสี ยชี วิตก่อนวัยอันควร โดยเฉพาะผูป่วยสู งอายุผป่วยโรคหัวใจ โรคหื ดหอบ และเด็กจะมีอตรา ้ ู้ ั เสี่ ยงสูงกว่าคนปกติดวย ้ 2.2.1 แหล่ งทีมำของฝุ่ นละอองในบรรยำกำศ ่ ฝุ่ นละอองในอากาศมีแหล่งที่มา ดังนี้ 2.2.1.1 ฝุ่ นละอองที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติ (Natural Particle) 2.2.1.2 ฝุ่ นละอองที่เกิดจากกิจกรรมที่มนุษย์ (Man-made Particle) 2.2.1.3 การคมนาคมขนส่ง 2.2.1.4 การก่อสร้าง
  • 9. 9 2.2.2 หมอกควันในภำคเหนือของประเทศไทย หมอกควัน ในภาคเหนื อ เป็ นปั ญหามลพิ ษ ที่ เ กิ ด ขึ้ นเป็ นประจ าทุ ก ปี ในภาคเหนื อ ของประเทศไทย โดยเฉพาะอย่างยิ่งที่จงหวัดเชียงใหม่เริ่ มตั้งแต่เดือนพฤศจิกายนและมีปริ มาณสู งสุ ดในเดือนมีนาคมสาเหตุหลัก ั เกิ ดจากไฟป่ าฝุ่ นละอองจากถนนการก่อสร้าง และเขม่าจากน้ ามันดีเซลทาให้คุณภาพอากาศแย่ลง ประกอบกับ สภาพภูมิประเทศซึ่งมีภูเขาล้อมรอบ ทาให้มลพิษต่าง ๆ ถูกกักไว้และแผ่ปกคลุมทัวเมือง ผลวิจยพบปริ มาณผูป่วย ่ ั ้ โรคระบบทางเดินหายใจในเชียงใหม่เพิ่มขึ้นทุกปี ปั ญหาหมอกควันทาให้คนที่ อยู่ในที่ โล่งนาน ๆ มีอาการแสบตาตาแดง น้ าตาไหล คอแห้ง ระคายคอ หายใจติดขัด เหนื่อยง่าย และแน่นหน้าอกผลวิจยการหาความสัมพันธ์ของฝุ่ นละอองกับอัตราการป่ วยและเสี ยชีวต ั ิ ของประชาชนในเชี ยงใหม่และลาพูน โดยคณะวิจยมหาวิทยาลัยเชี ยงใหม่ซ่ ึ งมี ผศ.ดร.มงคล รายะนาคร เป็ น ั หัวหน้าโครงการ พบค่ าเฉลี่ ย รายวัน ของฝุ่ นละอองขนาด 2.5 ไมครอนในเชี ย งใหม่สู งกว่ามาตรฐานของ สหรัฐอเมริ กา 3-6 เท่า ผูป่วยโรคระบบทางเดินหายใจในเชียงใหม่ เพิ่มขึ้นทุกปี และอัตราผูป่วยด้วยโรคมะเร็ ง ้ ้ ปอดต่อประชากรแสนคนสู งกว่ากรุ งเทพฯและสู งกว่าค่าเฉลี่ยของประเทศไทยโดยพบผูป่วยโรคระบบทางเดิ น ้ หายใจเพิ่มขึ้นถึงร้อยละ 17.6 ผูป่วยด้วยโรคมะเร็ งปอด อัตราต่อแสนประชากรเพิ่มจาก 9 คน ในปี 2545เพิ่มเป็ น ้ 58.12 คน ในปี 2548ฝุ่ นขนาดเล็กจะทาให้หลอดเลื อดหัวใจตี บตัน ซึ่ งอาจสัมพันธ์กับการเสี ยชี วิตเพิ่มขึ้ นที่ โรงพยาบาลสารภีเนื่องจากเป็ นพื้นที่ที่พบปริ มาณฝุ่ นละอองสูงที่สุดในเชียงใหม่
  • 10. 10 บทที่ 3 วิธีดำเนินกำรศึกษำ 3.1 โปรแกรมพิเศษ 3.1.1 โปรแกรมประยุกต์ MATLAB เพื่อหาค่าสัมประสิ ทธ์ของสมการของเส้นแนวโน้ม 3.1.2 โปรแกรม Graph เพื่อสร้างกราฟในการวิเคราะห์แนวโน้ม 3.1.3 โปรแกรม Microsoft Office (Excel) 3.2 ขั้นตอนกำรดำเนินงำน 3.2.1. รวบรวมข้อมูลปริ มาณฝุ่ นละอองในอากาศในแต่เดือน ณ จุดตรวจวัดโรงเรี ยนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่ต้ งแต่ปี 2544 – 2554 ั 3.2.2. สัง เกตปริ มาณฝุ่ นละอองในอากาศของแต่ล ะเดื อน พบว่าเดื อ นมกราคม กุมภาพันธ์ มี นาคม เมษายน และธันวาคม มีปริ มาณฝุ่ นละอองในอากาศสูงมากกว่า 50  g / m3 3.2.3 นาเสนอข้อมูลปริ มาณฝุ่ นละอองในอากาศในแต่เดื อน ณ จุดตรวจวัดโรงเรี ยนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่ในรู ปแบบตารางและแผนภาพการกระจาย 3.2.3.1 สร้างตารางข้อมูลปริ มาณฝุ่ นละอองในอากาศในแต่เดื อน ณ จุดตรวจวัดโรงเรี ยน ยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่ 3.2.3.2 สร้างแผนภาพการกระจายของของข้อมูล 3.2.4. ศึ กษาข้อมูลเกี่ยวกับหลักการวิเคราะห์อนุ กรมเวลา การวิเคราะห์แนวโน้ม ค่าสัมประสิ ทธิ์ การ ตัดสิ นใจและค่าคลาดเคลื่อนของการพยากรณ์ 3.2.4.1 ศึ กษาหลัก การวิเ คราะห์ อ นุ ก รมเวลา ความหมาย คุ ณสมบัติ ข องข้อ มู ล และ องค์ประกอบ 3.2.4.2 ศึกษาการวิเคราะห์แนวโน้ม และการพยากรณ์ค่าแนวโน้มโดยวิธีกาลังสองน้อยที่สุด ซึ่งประกอบไปด้วย 4 รู ปแบบ คือ รู ปเส้นตรง รู ปพาราโบลา และรู ปพหุนามดีกรี สาม 3.2.4.3 ศึ กษาค่าสัมประสิ ทธิ์ การตัดสิ น ใจและค่าคลาดเคลื่ อนของการพยากรณ์ โดยค่ า คลาดเคลื่อนของพยากรณ์จะนามาประยุกต์ใช้เพื่อหาค่าความคลาดเคลื่อนเฉลี่ยสัมบูรณ์ และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ของค่าความคลาดเคลื่อน 3.2.5. วิเคราะห์แนวโน้มของปริ มาณฝุ่ นละอองในอากาศในแต่เดื อน ณ จุดตรวจวัดโรงเรี ยนยุพราช วิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่ 3.2.5.1 วิเคราะห์แนวโน้มด้วยวิธีการสร้างเส้นแนวโน้มที่อาศัยวิธีกาลังสองน้อยที่ สุด ทั้ง 4 รู ปแบบ
  • 11. 11 3.2.6. ใช้ขอมูลในข้อที่ 5 พยากรณ์ ปริ มาณฝุ่ นละอองในอากาศในแต่เดื อน ณ จุ ดตรวจวัดโรงเรี ยน ้ ยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่ในปี 2556 3.2.6.1 หลังจากที่ ได้สมการแนวโน้ม จากการวิเคราะห์ ค วามสัม พัน ธ์แ ล้ว นาสมการมา พิจารณาค่าสัมประสิ ทธิ์การตัดสิ นใจของแต่ละสมการ 3.2.6.2 เลือกสมการที่มีค่าสัมประสิ ทธิ์ การตัดสิ นใจเข้าใกล้ 1 มากที่ สุด แล้วแทนค่าเพื่อ พยากรณ์ 3.2.7. หาค่าคลาดเคลื่อนการพยากรณ์ 3.2.8 สรุ ปและอภิปรายผลการทดลองศึกษา
  • 12. 12 บทที่ 4 ผลกำรศึกษำ การศึกษาครั้งนี้ ผูจดทาได้ศึกษาปั ญหาภายใต้ขอบเขตของการศึกษา และได้นากระบวนการเกี่ยวกับการ ้ั วิเคราะห์อนุกรมเวลามาใช้ในการศึกษาแนวโน้มและพยากรณ์ปริ มาณฝุ่ นละอองในอากาศของเดือนที่มีค่าปริ มาณ ฝุ่ นละอองในอากาศเกินค่ามาตรฐานขององค์การอนามัยโลก (  50 ไมโครกรัม / ลูกบาศก์เมตร) ณ จุดตรวจวัด โรงเรี ยนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่ ได้ผลการศึกษาดังนี้ 4.1 ปริมำณฝุ่ นละอองในอำกำศของเดือนธันวำคมตั้งแต่ ปี พ.ศ. 2544 –2554 4.1.1 แนวโน้ มแบบเส้ นตรงของปริมำณฝุ่ นละอองในอำกำศของเดือนธันวำคมตั้งแต่ ปี พ.ศ. 2544 –2554 ตำรำงที่ 1 แสดงการคานวณเพื่อหาเส้นแนวโน้มแบบเส้นตรงของปริ มาณฝุ่ นละอองในอากาศ ของเดือนธันวาคมตั้งแต่ปี พ.ศ. 2544 –2554 ปี xs ปริ มาณฝุ่ นละอองในอากาศ ( g / m3 ) : y x2 f x y f 2544 1.00 38.20 1.00 38.20 2545 2.00 46.60 4.00 93.20 2546 3.00 91.40 9.00 274.20 2547 4.00 68.60 16.00 274.40 2548 5.00 57.40 25.00 287.00 2549 6.00 65.50 36.00 393.00 2550 7.00 53.60 49.00 375.20 2551 8.00 50.40 64.00 403.20 2552 9.00 56.00 81.00 504.00 2553 10.00 40.70 100.00 407.00 2554 11.00 37.00 121.00 407.00  x  66  y  605.4  x2  506  ( x  y)  3456.4
  • 13. 13 เมื่อพิจารณาแนวโน้มของปริ มาณฝุ่ นละอองในอากาศของเดือนธันวาคมตั้งแต่ปี พ.ศ. 2544 –2554 ใน รู ปแบบความสัมพันธ์ที่เป็ นเส้นตรง พบว่า สมการรู ปทัวไป คือ ่ y  mx  c และ สมการปกติ คือ y  m x  cn ..............(1)  ( x  y)  m x2  c x ..............(2) จากตารางและสมการปกติ จะได้ 605.4  66m  11c ..............(1) 3456.4  506m  66c ..............(2) ่ จากระบบสมการ จะได้วา m  1.6 และ c  64.6364 ดังนั้น สมการแนวโน้มในรู ปแบบเส้นตรงของปริ มาณฝุ่ นละอองในอากาศของเดื อนธันวาคมตั้งแต่ ปี พ.ศ. 2544 – พ.ศ. 2554 คือ y  1.6 x  64.6364 4.1.2 แนวโน้ มแบบพำรำโบลำของปริมำณฝุ่ นละอองในอำกำศของเดือนธันวำคมตั้งแต่ ปี พ.ศ. 2544 –2554 ตำรำงที่ 2 แสดงการคานวณเพื่อหาเส้นแนวโน้มแบบพาราโบลาของปริ มาณฝุ่ นละอองในอากาศ ของเดือนธันวาคมตั้งแต่ปี พ.ศ. 2544 –2554 ปี xs yg x2 f x3 f x4 f x y f x2  y f 2544 1.00 38.20 1.00 1.00 1.00 38.20 38.2 2545 2.00 46.60 4.00 8.00 16.00 93.20 186.4 2546 3.00 91.40 9.00 27.00 81.00 274.20 822.6 2547 4.00 68.60 16.00 64.00 256.00 274.40 1097.6 2548 5.00 57.40 25.00 125.00 625.00 287.00 1435 2549 6.00 65.50 36.00 216.00 1296.00 393.00 2358 2550 7.00 53.60 49.00 343.00 2401.00 375.20 2626.4 2551 8.00 50.40 64.00 512.00 4096.00 403.20 3225.6 2552 9.00 56.00 81.00 729.00 6561.00 504.00 4536 2553 10.00 40.70 100.00 1000.00 10000.00 407.00 4070 2554 11.00 37.00 121.00 1331.00 14641.00 407.00 4477 y  x2   x3   x4   ( x  y)   ( x2  y)   x  66 605.4 506 4356 39974 3456.4 24872.8 หมายเหตุ ค่า y คือ ปริ มาณฝุ่ นละอองในอากาศ (มีหน่วยเป็ น g / m3 )
  • 14. 14 เมื่อพิจารณาแนวโน้มของปริ มาณฝุ่ นละอองในอากาศของเดือนธันวาคมตั้งแต่ปี พ.ศ. 2544 –2554 ใน รู ปแบบความสัมพันธ์ที่เป็ นพาราโบลา พบว่า สมการรู ปทัวไป คือ ่ y  ax2  bx  c และ สมการปกติ คือ y  a x2  b x  cn ..............(1)  ( x  y)  a  x3  b  x 2  c  x ..............(2)  ( x2  y)  a  x 4  b  x3  c  x 2 ..............(3) จากตารางและสมการปกติ จะได้ 605.4  506a  66b  11c ..............(1) 3456.4  4356a  506b  66c ..............(2) 24872.8  39974a  4356b  506c ..............(3) ่ จากระบบสมการ จะได้วา a  1.6, b  10.4783 และ c  64.6364 ดังนั้น สมการแนวโน้มในรู ปแบบพาราโบลาของปริ มาณฝุ่ นละอองในอากาศของเดือนธันวาคมตั้งแต่ ปี พ.ศ. 2544 – พ.ศ. 2554 คือ y  1.0065x2  10.4783x  38.4667 4.1.3 แนวโน้ มแบบพหุนำมดีกรีสำมของปริมำณฝุ่ นละอองในอำกำศของเดือนธันวำคมตั้งแต่ ปี พ.ศ. 2544 –2554 ตำรำงที่ 3 แสดงการคานวณเพื่อหาเส้นแนวโน้มแบบพหุนามดีกรี สามของปริ มาณฝุ่ นละอองในอากาศ ของเดือนธันวาคมตั้งแต่ปี พ.ศ. 2544 – พ.ศ. 2554 ปี xs yg x2 f x3 f x4 f x5 x6 x y f x2  y f x3  y 2544 1.00 38.20 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 38.20 38.2 38.20 2545 2.00 46.60 4.00 8.00 16.00 32.00 64.00 93.20 186.4 372.80 2546 3.00 91.40 9.00 27.00 81.00 243.00 729.00 274.20 822.6 2467.80 2547 4.00 68.60 16.00 64.00 256.00 1024.00 4096.00 274.40 1097.6 4390.40 2548 5.00 57.40 25.00 125.00 625.00 3125.00 15625.00 287.00 1435 7175.00 2549 6.00 65.50 36.00 216.00 1296.00 7776.00 46656.00 393.00 2358 14148.00 2550 7.00 53.60 49.00 343.00 2401.00 16807.00 117649.00 375.20 2626.4 18384.80 2551 8.00 50.40 64.00 512.00 4096.00 32768.00 262144.00 403.20 3225.6 25804.80 2552 9.00 56.00 81.00 729.00 6561.00 59049.00 531441.00 504.00 4536 40824.00 2553 10.00 40.70 100.00 1000.00 10000.00 100000.00 1000000.00 407.00 4070 40700.00 2554 11.00 37.00 121.00 1331.00 14641.00 161051.00 1771561.00 407.00 4477 49247.00 y x 2 x 3 x  4 x 5 x  6  ( x  y)   ( x  y)  2  ( x3  y )   x  66 605.4 506 4356 39974 381876.00 3749966.00 3456.4 24872.8 203552.80 หมายเหตุ ค่า y คือ ปริ มาณฝุ่ นละอองในอากาศ (มีหน่วยเป็ น g / m3 )
  • 15. 15 เมื่อพิจารณาแนวโน้มของปริ มาณฝุ่ นละอองในอากาศของเดือนธันวาคมตั้งแต่ปี พ.ศ. 2544 – 2554 ใน รู ปแบบความสัมพันธ์ที่เป็ นพหุนามดีกรี สาม พบว่า สมการรู ปทัวไป คือ ่ y  ax3  bx2  cx  d และ สมการปกติ คือ y  a x3  b x2  c x  nd ..............(1)  ( x  y)  a x4  b x3  c x2  d  x ..............(2)  ( x2  y)  a x5  b x4  c x3  d  x2 ..............(3)  ( x3  y )  a  x 6  b  x5  c  x 4  d  x 3 ..............(4) จากตารางและสมการปกติ จะได้ 605.4  4356a  506b  66c  11d ..............(1) 3456.4  39974a  4356b  506c  66d ..............(2) 24872.8  381876a  39974b  4356c  506d ..............(3) 203552.8  3749966a  381876b  39974c  4356d ….....(4) ่ จากระบบสมการ จะได้วา a  0.2428, b  5.3772, c  32.38 และ d  11.9515 ดังนั้น สมการแนวโน้มในรู ปแบบพหุ นามดีกรี สามของปริ มาณฝุ่ นละอองในอากาศของเดือนธันวาคม ตั้งแต่ ปี พ.ศ. 2544 – พ.ศ. 2554 คือ y  0.2428x3  5.3772 x2  32.38x  11.9515
  • 16. 16 4.1.4 แนวโน้ มแบบเอ็กซ์ โพเนนเชียลของปริมำณฝุ่ นละอองในอำกำศของเดือนธันวำคมตั้งแต่ ปี พ.ศ.2544 –2554 ตำรำงที่ 4 แสดงการคานวณเพื่อหาเส้นแนวโน้มแบบเอ็กซ์โพเนนเชียลของปริ มาณฝุ่ นละอองในอากาศ ของเดือนธันวาคมตั้งแต่ปี พ.ศ. 2544 –2554 ปี xs yg  x2 log y f x log y f 2544 1.00 38.20 1.00 1.58 1.58 2545 2.00 46.60 4.00 1.67 3.34 2546 3.00 91.40 9.00 1.96 5.88 2547 4.00 68.60 16.00 1.84 7.35 2548 5.00 57.40 25.00 1.76 8.79 2549 6.00 65.50 36.00 1.82 10.90 2550 7.00 53.60 49.00 1.73 12.10 2551 8.00 50.40 64.00 1.70 13.62 2552 9.00 56.00 81.00 1.75 15.73 2553 10.00 40.70 100.00 1.61 16.10 2554 11.00 37.00 121.00 1.57 17.25  x  66  y  605.4  x2  506  log y  18.98  x log y  112.64 หมายเหตุ ค่า y คือ ปริ มาณฝุ่ นละอองในอากาศ (มีหน่วยเป็ น g / m3 ) เมื่อพิจารณาแนวโน้มของปริ มาณฝุ่ นละอองในอากาศของเดือนธันวาคมตั้งแต่ปี พ.ศ. 2544 – พ.ศ. 2554 ในรู ปแบบความสัมพันธ์ที่เป็ นเอ็กซ์โพเนนเชียล พบว่า สมการรู ปทัวไป คือ ่ y  ab x หรื อ log y  log a  x log b และ สมการปกติ คือ  log y  N log a  log b x ..............(1)  x log y  log a x  log b x2 ..............(2) จากตารางและสมการปกติ จะได้ 18.98045  11log a  66log b ..............(1) 112.6424  66log a  506log b ..............(2) ่ จากระบบสมการ จะได้วา log a  1.7931 และ logb =  0.0113 ดังนั้น a = 6.008049 และ b = 0.988764
  • 17. 17 ดังนั้น สมการแนวโน้มในรู ปแบบเอ็กซ์โพเนนเชียลของปริ มาณฝุ่ นละอองในอากาศของเดือนธันวาคม ตั้งแต่ ปี พ.ศ. 2544 – พ.ศ. 2554 คือ y  (6.008049)(0.988764) x และในการศึกษาทานองเดียวกันของเดือนมกราคม กุมพาพันธ์ มีนาคม และเมษายนได้ผลการศึกษา ดังนี้ สมำกำรแนวโน้ มรู ปแบบเส้ นตรง มกราคม y   3.269x  88.48 กุมภาพันธ์ y   6.136x  134.2 มีนาคม y  2.185x  91.29 เมษายน y  0.452x  66.02 สมกำรแนวโน้ มรู ปแบบพำลำโปลำ มกราคม y   0.756x 2  5.810x  68.81 กุมภาพันธ์ y   0.438x 2  0.877x  122.8 มีนาคม y   3.430x 2  43.34x  2.114 เมษายน y   0.266x 2  3.652x  59.08 สมกำรแนวโน้ มรู ปแบบพหุนำมดีกรีสำม มกราคม y  0.201x3  4.385x 2  23.99x  46.79 กุมภาพันธ์ y  0.090x3  2.064x 2  7.269x  113.0 มีนาคม y   0.048x3  2.550x 2  38.93x  7.451 เมษายน y   0.024x3  0.172x 2  1.450x  61.75 สมำกำรแนวโน้ มรู ปแบบเอ็กซ์ โพเนนเชียล มกราคม y  90.04e0.04x กุมภาพันธ์ y  130.7e0.06x มีนาคม y  75.22e0.035x เมษายน y  62.77e0.007x
  • 18. 18 ตำรำงที่ 5 ตารางสรุ ปผลการศึกษา ค่ ำสั มประสิ ทธิ์ของ ควำมคลำดเคลือน ข้ อมูลของ มำตรฐำนของค่ ำ ่ ค่ ำควำมคลำด รู ปแบบเส้ นแนวโน้ ม กำรตัดสิ นใจ เคลือนเฉลีย ค่ ำเบี่ยงเบน ่ เดือน สั มบูรณ์ ่ เส้นตรง: y   3.269x  88.48 0.343 9.65 14.99 พาราโบลา: y   0.756x 2  5.810x  68.81 0.486 8.22 13.26 มกราคม พหุนามดีกรี สาม: 0.560 7.88 12.28 y  0.201x3  4.385x 2  23.99x  46.79 เอ็กซ์โพเนนเชียล: y  90.04e0.04x 0.448 10.87 15.54 เส้นตรง: y   6.136x  134.2 0.297 24.94 31.29 พาราโบลา: y   0.438x 2  0.877x  122.8 0.309 23.91 31.03 กุมภาพันธ์ พหุนามดีกรี สาม: 0.312 23.89 30.95 y  0.090x3  2.064x 2  7.269x  113.0 เอ็กซ์โพเนนเชียล: y  130.7e0.06x 0.271 25.64 31.97 เส้นตรง: y  2.185x  91.29 0.018 37.43 52.31 พาราโบลา: y   3.430x 2  43.34x  2.114 0.380 29.44 41.56 มีนาคม พหุนามดีกรี สาม: 0.381 28.92 41.54 y   0.048x3  2.550x 2  38.93x  7.451 เอ็กซ์โพเนนเชียล: y  75.22e0.035x 0.050 36.04 54.01 เส้นตรง: y  0.452x  66.02 0.004 17.66 22.96 พาราโบลา: y   0.266x 2  3.652x  59.08 0.015 17.96 22.82 เมษายน พหุนามดีกรี สาม: 22.82 0.016 17.86 y   0.024x3  0.172x 2  1.450x  61.75 เอ็กซ์โพเนนเชียล: y  62.77e0.007x 0.006 16.78 23.21 เส้นตรง: y  1.6x  64.6364 0.111 10.74 15.00 พาราโบลา: y  1.0065x2  10.4783x  38.46 0.454 8.20 11.75 ธันวาคม พหุนามดีกรี สาม: 0.598 6.44 10.09 y  0.2428x3  5.3772 x2  32.38x  11.9515 เอ็กซ์โพเนนเชียล: y  (6.008049)(0.988764) x 0.099 11.05 15.15
  • 19. 19 บทที่ 5 สรุ ป อภิปรำยผล และข้ อเสนอ จากการศึ กษา และวิเ คราะห์ ข้อ มู ล ปริ ม าณฝุ่ นละอองในอากาศเพื่ อศึ กษาแนวโน้ม และ พยากรณ์ ป ริ ม าณฝุ่ นละอองในอากาศสามารถพยากรณ์ ปริ มาณฝุ่ นละอองในอากาศในอนาคตได้ โดยอาศัย หลักการวิเคราะห์อนุกรมเวลา 5.1 สรุปผลกำรศึกษำ จากการศึ กษารู ปแบบของเส้นแนวโน้มปริ มาณฝุ่ นละอองในอากาศ ณ จุดตรวจวัด โรงเรี ยนยุพราช วิทยาลัย จังหวัดเชี ยงใหม่ ด้วยวิธีการสร้างเส้นแนวโน้มที่ อาศัยวิธีกาลังสองน้อยที่ สุด ทั้งสิ้ น 4 รู ปแบบ คื อ ่ รู ปเส้นตรง รู ปพาราโบลา รู ปพหุ นามดีกรี สามและรู ปเอ๊กซ์โปเนนเชีย ล พบว่า เส้นแนวโน้มที่อยูในรู ปพหุ นาม ดี กรี สามมี ค่าสัมประสิ ทธิ์ ของการตัดสิ นใจใกล้เคี ยงกับ 1 มากที่ สุด ทาให้ได้รูปแบบการพยากรณ์ ปริ มาณ ฝุ่ นละอองในอากาศในช่วงเดื อน มกราคม กุมภาพันธ์ มีนาคม เมษายน และธันวาคม ของทุกปี ณ จุดตรวจวัด โรงเรี ยนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่ ดังนี้ เดือนมกราคม y  0.201x3  4.385x 2  23.99x  46.79 เดือนกุมภาพันธ์ y  0.090x3  2.064x 2  7.269x  113.0 มีนาคม y   0.048x3  2.550x 2  38.93x  7.451 เมษายน y   0.024x3  0.172x 2  1.450x  61.75 ธันวาคม y  0.2428x3  5.3772 x2  32.38x  11.9515 จากรู ปแบบการพยากรณ์ สามารถคาดเดาปริ มาณฝุ่ นละอองในอากาศของปี พ.ศ.2555 และพ.ศ.2556 สาหรับเดือนมกราคมกุมภาพันธ์ มีนาคม เมษายน และธันวาคม ได้เป็ น ตำรำงที่ 6 การพยากรณ์ปริ มาณปริ มาณฝุ่ นละอองในอากาศในเดือนต่างๆ ในปี พ.ศ.2555 ปริ มาณฝุ่ นละอองในอากาศ ณ จุดตรวจวัดโรงเรี ยนยุพราชวิทยาลัยจังหวัดเชียงใหม่(  g / m3 ) มกราคม กุมภาพันธ์ มีนาคม เมษายน ธันวาคม 50.558 58.532 24.467 62.446 44.398
  • 20. 20 ค่าปริ มาณฝุ่ นละอองในอากาศที่ได้ในแต่ละเดือน ภายใต้ค่าสัมประสิ ทธิ์ของการตัดสิ นใจ เดือนมกราคม กุมภาพันธ์ มีนาคม เมษายน และธันวาคม ตามลาดับดังนี้ 0.560,0.312,0.381,0.016และ0.598 ตำรำงที่ 7 การพยากรณ์ปริ มาณปริ มาณฝุ่ นละอองในอากาศในเดือนต่างๆ ในปี พ.ศ.2556 ปริ มาณฝุ่ นละอองในอากาศ ณ จุดตรวจวัดโรงเรี ยนยุพราชวิทยาลัยจังหวัดเชียงใหม่(  g / m3 ) มกราคม กุมภาพันธ์ มีนาคม เมษายน ธันวาคม 59.192 56.411 -22.865 56.94 55.851 ค่าปริ มาณฝุ่ นละอองในอากาศที่ได้ในแต่ละเดือน ภายใต้ค่าสัมประสิ ทธิ์ของการตัดสิ นใจ เดือนมกราคม กุมภาพันธ์ มีนาคม เมษายน และธันวาคม ตามลาดับดังนี้ 0.560,0.312,0.381,0.016และ0.598 5.2 กำรอภิปรำยผล การศึกษาแนวโน้มปริ มาณฝุ่ นละอองในอากาศ ณ จุดตรวจวัดโรงเรี ยนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่ พบว่าข้อมูลมีการเปลี่ยนแปลงในทุก ๆ ปี ทั้งนี้เป็ นผลมาจากสภาพอากาศ สภาพแวดล้อม ปรากฏการณ์ธรรมชาติ ที่ไม่สามารถควบคุมได้ การศึกษาแนวโน้มของปริ มาณฝุ่ นละอองในอากาศที่ อาศัยการสร้างเส้นแนวโน้มด้วยวิธี กาลังสองน้อยที่สุด ทั้งสิ้น 4 รู ปแบบ คือ รู ปเส้นตรง รู ปพาราโบลา รู ปพหุ นามดีกรี สามและรู ปเอ๊กซ์โปเนนเชียล พบว่าการพยากรณ์จะมีความแม่นยามากขึ้นถ้าหากมีการใช้พหุ นามดีกรี สาม จากการพยากรณ์ในปี พ.ศ.2556 ได้ ค่าปริ มาณฝุ่ นละอองติดลบ ซึ่งไม่ตรงกับความเป็ นจริ ง ที่ผลลัพธ์ออกมาเช่นนี้เป็ นเพราะข้อจากัดของพหุ นามดีกรี สามส่ วนที่เป็ นฟั งก์ชนลด ซึ่ งมีโอกาสจะให้ค่าของฟั งก์ชนที่ติดลบได้ ดังนั้นการใช้เส้นแนวโน้มในรู ปพหุ นาม ั ั ดีกรี สามในการพยากรณ์ขอมูลส่ วนนี้ อาจไม่เหมาะ สมควรใช้เส้นแนวโน้มที่เป็ นพหุ นามในดี กรี ที่สูงขึ้นไปจะ ้ เหมาะสมกว่า ซึ่ งถ้าหากสามารถพยากรณ์ปริ มาณฝุ่ นละอองในอากาศ ณ จุดตรวจวัดโรงเรี ยนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชี ยงใหม่ได้แม่นยา จะสามารถนาไปประยุกต์ใช้ในการศึ กษาผลกระทบต่อสิ่ งแวดล้อมและมนุ ษย์ใน อนาคต รวมถึงแนวทางในการการรับมือกับปริ มาณฝุ่ นละอองในอากาศที่จะเกิดขึ้นในอนาคตได้ 5.3 ข้ อเสนอแนะ 5.3.1 ควรศึกษาผลกระทบของปรากฏการณ์ธรรมชาติในแต่ละปี 5.3.2ควรศึกษาแนวโน้มของปริ มาณฝุ่ นละอองในอากาศโดยการสร้างเส้นแนวโน้มด้วยพหุ นามดีกรี ที่ สูงขึ้นเพื่อเปรี ยบเทียบว่าค่าสัมประสิ ทธิ์การตัดสิ นใจจะใกล้เคียงกับ 1 มากที่สุดหรื อไม่ 5.3.3 ควรศึกษาแนวโน้มองค์ประอื่นๆของอนุกรมเวลาเช่นค่าการแปรผันตามฤดูกาล ค่าการแปรตามวัฎ จักร