SlideShare a Scribd company logo
1
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
รหัสวิชา ง33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 6
ปีการศึกษา 2558
ชื่อโครงงาน ภัยจากโซเซียลมีเดีย
ชื่อผู้ทาโครงงาน
1. น.ส. ทิพย์ประภา วุฒิอินทร์ เลขที่ 10 ชั้น ม.6 ห้อง 5
2. น.ส. วิภาดา ทิมกลั่น เลขที่ 21 ชั้น ม.6 ห้อง 5
ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2558
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
2
ใบงาน
การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
สมาชิกในกลุ่ม
1 น.ส. ทิพย์ประภา วุฒิอินทร์ เลขที่ 10
2 น.ส. วิภาดา ทิมกลั่น เลขที่ 21
คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้
ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย)
ภัยจากโซเซียลมีเดีย
ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ)
The threat of social media
ประเภทโครงงาน โครงงานสื่อเพื่อการศึกษา
ชื่อผู้ทาโครงงาน 1. น.ส. ทิพย์ประภา วุฒิอินทร์ เลขที่ 10 ชั้น ม.6 /5
2. น.ส. วิภาดา ทิมกลั่น เลขที่ 21 ชั้น ม.6 /5
ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ชื่อที่ปรึกษาร่วม -
ระยะเวลาดาเนินงาน4 เดือน
ที่มาและความสาคัญของโครงงาน (อธิบายถึงที่มา แนวคิด และเหตุผล ของการทาโครงงาน)
โซเชียลมีเดียถือว่าเป็นสิ่งที่มีอิทธิพลและทรงพลังมากที่สุดในยุคปัจจุบันนี้ เพราะว่าสามารถ
เข้าถึงคนจานวนมาก กว้างขวางและรวดเร็วที่สุดในบรรดาสื่อทั้งหมด แต่ในดีก็มีเสีย เพราะมีภัยร้าย
หลายๆ ภัยที่มาพร้อมกับโซเชียลมีเดีย ซึ่งคนส่วนใหญ่มักใช้โซเชียลมีเดียในการติดตามข่าวสาร
ข้อมูลต่างๆ จึงอาจจะทาให้เหล่ามิจฉาชีพเห็นช่องทางในการฉวยโอกาส
3
วัตถุประสงค์ (สิ่งที่ต้องการในการทาโครงงาน ระบุเป็นข้อ)
1. เพื่อให้ผู้ใช้อินเทอร์เน็ตตระหนักถึงภัยของโซเซียลมีเดีย
2. เพื่อให้ผู้ใช้อินเทอร์เน็ตใช้โซเซียลมีเดียในทางที่ถูก
3. เพื่อให้ผู้ใช้อินเทอร์เน็ตป็นคนช่างสังเกตและรู้จักระมัดระวังในการเสพสื่อ
ขอบเขตโครงงาน (คุณลักษณะ ขอบเขต เงื่อนไขและข้อจากัดของการทาโครงงาน)
เพื่อศึกษาภัยอันตรายและข้อเสียจากการใช้โซเซียลมีเดีย
หลักการและทฤษฎี(ความรู้ หลักการ หรือทฤษฎีที่สนับสนุนการทาโครงงาน)
ความหมายของโซเซียลมีเดียคือ สื่อสังคมออนไลน์ หรือหมายถึง สื่อที่ใช้ในการสื่อสาร เช่น
บทความที่คนเขียนขึ้นมา ภาพ วีดีโอที่คนอัพโหลดขึ้นไป ซึ่งโซเซียลมีเดียเป็นสถานที่ที่คนเผยแพร่
ข้อมูลข่าวสารได้ง่าย เราต้องระมัดระวังในการเสพข่าวเพราะบางครั้งข้อมูลข่าวสารอาจไม่เป็น
ความจริง มีผู้ที่ไม่ประสงค์ดีต่อคนจานวนมากมายที่โพสต์เรื่องราวต่างๆเพื่อเอาผลประโยชน์จากผู้อื่น
ตัวอย่างภัยจากโซเซียลมีเดีย
1. หลอกว่ามาดีแต่จริงๆประสงค์ร้าย (Social Engineering Attack on Social Network)
การโจมตีแบบนี้ เป็นหนึ่งในวิธีการที่นิยมใช้เป็นอย่างมาก เน้นการโจมตีที่ตัวบุคคล โดยผู้ใช้งาน
มักจะคาดไม่ถึง และ ตกเป็น เหยื่อในที่สุด ส่วนมากจะมาในรูปแบบของ
2. ถูกสวมรอยง่ายๆ แค่เล่น Facebook อย่างไม่ระวัง (Cross Site Request Forgery Attack)
เป็นวิธีการที่อาชญากรใช้ในการโจมตีผู้ใช้ Facebook หรือ Internet Banking โดยการแอบขโมยสิทธิ
หรือ Credential ที่ผู้ใช้ได้ล็อกอินเว็บไซด์ ค้างไว้ซึ่งอาชญากรอาจนา Credential ของเราไปใช้งานต่อ
เช่น ทาการโอนเงินออก จากบัญชีของผู้ใช้งานระบบ Internet Banking โดยผู้ใช้ไม่รู้ตัว เป็นต้น
3. โดนดักข้อมูลลับระหว่างทาง (Indentity Theft)
เป็นเทคนิคการโจมตีผู้ใช้งาน Facebook โดยอาชญากรจะทาการดักจับข้อมูลที่ส่งไปมาระหว่าง
ผู้ใช้งาน Facebook กับ facebook.com แบบเงียบ เพื่อขโมย Username และ Password ของผู้ใช้และ
อาจลุกลามไปถึง E-mail Account ด้วย ถ้าใช้Username และ Password เดียวกัน กับ Facebook
4
วิธีการป้องกันและแก้ไขอย่างได้ผล สาหรับผู้ใช้งานทั่วไป ควรทาตัวเป็นผู้ช่างสังเกต พิจารณา
ถึงความเป็นไปได้ของ หน้าเว็บไซด์ แอพพลิเคชั่น คลิปวิดีโอ รูปภาพ เกม หรือลิงค์ต่างๆ ก่อนคลิก
เข้าชม หรือทาการ Log In เข้าใช้งาน อาจเลี่ยงโดย การพิมพ์URL Link แทนการคลิกโดยตรงจากหน้า
เว็บไซด์ และไม่ควรตั้ง Password ที่ง่ายต่อการคาดเดาของอาชญากร เช่น 111, 555, 1234 หรือ
พ.ศ.เกิด เป็นต้น ที่สาคัญไม่ควรใช้Username และ Password เดียวกัน ในทุก Account เพื่อป้อง กัน
การเข้าถึงข้อมูลได้ในทุกๆ ด้าน รวมถึง Log Out ออกจากระบบทุกครั้งเมื่อสิ้นสุดการใช้งาน ที่สาคัญ
ควรศึกษาหาความรู้เกี่ยว กับเรื่องของไวรัส การโจรกรรมข้อมูลทางอินเทอร์เน็ต และควรติดตั้ง
โปรแกรมระบบป้องกันไวรัส และหมั่นอัพเดตโปรแกรมอยู่เสมอ
สาหรับผู้ใช้งานองค์กร ควรจัดอบรมให้ความรู้ และความเข้าใจเกี่ยวกับเรื่องการป้องกันภัยร้าย
จากการใช้งานอินเทอร์เน็ตอย่าง ปลอดภัย แก่พนักงานภายในองค์กรเป็นประจาอย่างสม่าเสมอ ติดตั้ง
ระบบป้องกันไวรัสและหมั่นอัพเดตโปรแกรม รวมถึงควรมีฝ่าย ไอที เพื่อตรวจสอบ วิเคราะห์ระบบ
และรู้จักทดสอบช่องโหว่ของระบบภายในองค์กร ในมุมมองของอาชญากรด้วย
เครือข่ายสังคมออนไลน์นั้น เป็นที่แพร่กระจายโปรแกรมมุ่งร้ายชั้นดี ของเหล่าอาชญากร และอาจ
สร้างความเสียหาย ให้กับผู้ใช้งาน หากไม่ตระหนัก และ ไม่ระมัดระวังที่จะป้องกันภัยคุกคามอย่าง
เพียงพอในการใช้งานเครือข่ายสังคมออนไลน์ ดังนั้น การศึกษาเรื่องความมั่นคงปลอดภัยในการใช้
งานเครือข่ายสังคมออนไลน์ จึงเป็นสิ่งสาคัญอย่างยิ่งที่ผู้ใช้งานจาเป็นต้องรู้ ต้องเข้าใจ ไม่ว่าจะเป็นการ
ใช้งานส่วนตัว หรือการใช้งานระดับองค์กร
วิธีดาเนินงาน
แนวทางการดาเนินงาน
1.เลือกหัวข้อในที่สนใจ
2.รวบรวมข้อมูล
3.ทาแบบเสนอโครงร่างเพื่อนาเสนอครู
เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้
1.คอมพิวเตอร์
งบประมาณ
0 บาท
5
ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน
ลาดับ
ที่
ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17
1 คิดหัวข้อโครงงาน
2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล
3 จัดทาโครงร่างงาน
4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน
5 ปรับปรุงทดสอบ
6 การทาเอกสารรายงาน
7 ประเมินผลงาน
8 นาเสนอโครงงาน
ผลที่คาดว่าจะได้รับ (ผลลัพธ์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดการทาโครงงาน)
-เพื่อให้ผู้ใช้อินเทอร์เน็ตทุกคนตระหนักถึงภัยของโซเซียลมีเดีย
-เพื่อให้ผู้ใช้อินเทอร์เน็ตทุกคนใช้โซเซียลมีเดียในทางที่ถูก
-เพื่อให้ผู้ใช้อินเทอร์เน็ตทุกคนเป็นคนช่างสังเกตและรู้จักระมัดระวังในการเสพสื่อ
สถานที่ดาเนินการ
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย อาเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่
กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง
กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ( คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ )
แหล่งอ้างอิง (เอกสาร หรือแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ที่นามาใช้การทาโครงงาน)
https://sites.google.com/site/khawsanetc7/xantray-cak-so-cheiy-l-net-weir
http://www.dmc.tv/pages/top_of_week/มหันตภัยโซเชียลมีเดีย

More Related Content

What's hot

Taxonomy 2
Taxonomy 2Taxonomy 2
Taxonomy 2
just2miwz
 
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวการเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว
กมลรัตน์ ฉิมพาลี
 
Lesson1 celldivision wichaitu62
Lesson1 celldivision wichaitu62Lesson1 celldivision wichaitu62
Lesson1 celldivision wichaitu62
Wichai Likitponrak
 
วิจัยในชั้นเรียน ปี57
วิจัยในชั้นเรียน ปี57วิจัยในชั้นเรียน ปี57
วิจัยในชั้นเรียน ปี57
Kongkrit Pimpa
 
การสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศของพืช
การสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศของพืชการสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศของพืช
การสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศของพืชdnavaroj
 
water and mineral transport in plant
water and mineral transport in plantwater and mineral transport in plant
water and mineral transport in plant
Thanyamon Chat.
 
แบบสอบถาม
แบบสอบถามแบบสอบถาม
แบบสอบถาม
อรวรรณ อาหาสิเม
 
ระบบย่อยอาหาร - Digestive system
ระบบย่อยอาหาร - Digestive systemระบบย่อยอาหาร - Digestive system
ระบบย่อยอาหาร - Digestive systemsupreechafkk
 
แบบทดสอบ แรงและการเเคลื่อนที่ฯ ม.4 6
แบบทดสอบ แรงและการเเคลื่อนที่ฯ ม.4 6แบบทดสอบ แรงและการเเคลื่อนที่ฯ ม.4 6
แบบทดสอบ แรงและการเเคลื่อนที่ฯ ม.4 6teerachon
 
Evolution Plan : การคัดเลือกตามธรรมชาติ
Evolution Plan : การคัดเลือกตามธรรมชาติEvolution Plan : การคัดเลือกตามธรรมชาติ
Evolution Plan : การคัดเลือกตามธรรมชาติ
กมลรัตน์ ฉิมพาลี
 
ระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่าย ระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่าย
Thitaree Samphao
 
กระดาษใยสับปะรด
กระดาษใยสับปะรดกระดาษใยสับปะรด
กระดาษใยสับปะรด
Nu Babong
 
ใบงานที่ 1 เรื่อง ตลาดในระบบเศรษฐกิจ
ใบงานที่ 1  เรื่อง  ตลาดในระบบเศรษฐกิจใบงานที่ 1  เรื่อง  ตลาดในระบบเศรษฐกิจ
ใบงานที่ 1 เรื่อง ตลาดในระบบเศรษฐกิจไพบููลย์ หัดรัดชัย
 
Dichotomous key
Dichotomous keyDichotomous key
Dichotomous key
Nattapong Boonpong
 
ความพึงพอใจในการใช้บริการห้องสมุด
ความพึงพอใจในการใช้บริการห้องสมุดความพึงพอใจในการใช้บริการห้องสมุด
ความพึงพอใจในการใช้บริการห้องสมุด
risa021040
 
สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์Sp'z Puifai
 
ใบความรู้เรื่องการแพร่และออสโมซิสDocx
ใบความรู้เรื่องการแพร่และออสโมซิสDocxใบความรู้เรื่องการแพร่และออสโมซิสDocx
ใบความรู้เรื่องการแพร่และออสโมซิสDocxSumarin Sanguanwong
 
การสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศของพืช
การสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศของพืชการสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศของพืช
การสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศของพืชdnavaroj
 
การถ่ายละอองเรณู (T)
การถ่ายละอองเรณู (T)การถ่ายละอองเรณู (T)
การถ่ายละอองเรณู (T)
Thitaree Samphao
 

What's hot (20)

Taxonomy 2
Taxonomy 2Taxonomy 2
Taxonomy 2
 
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวการเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว
 
Lesson1 celldivision wichaitu62
Lesson1 celldivision wichaitu62Lesson1 celldivision wichaitu62
Lesson1 celldivision wichaitu62
 
วิจัยในชั้นเรียน ปี57
วิจัยในชั้นเรียน ปี57วิจัยในชั้นเรียน ปี57
วิจัยในชั้นเรียน ปี57
 
การสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศของพืช
การสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศของพืชการสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศของพืช
การสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศของพืช
 
water and mineral transport in plant
water and mineral transport in plantwater and mineral transport in plant
water and mineral transport in plant
 
แบบสอบถาม
แบบสอบถามแบบสอบถาม
แบบสอบถาม
 
ระบบย่อยอาหาร - Digestive system
ระบบย่อยอาหาร - Digestive systemระบบย่อยอาหาร - Digestive system
ระบบย่อยอาหาร - Digestive system
 
แบบทดสอบ แรงและการเเคลื่อนที่ฯ ม.4 6
แบบทดสอบ แรงและการเเคลื่อนที่ฯ ม.4 6แบบทดสอบ แรงและการเเคลื่อนที่ฯ ม.4 6
แบบทดสอบ แรงและการเเคลื่อนที่ฯ ม.4 6
 
Evolution Plan : การคัดเลือกตามธรรมชาติ
Evolution Plan : การคัดเลือกตามธรรมชาติEvolution Plan : การคัดเลือกตามธรรมชาติ
Evolution Plan : การคัดเลือกตามธรรมชาติ
 
ระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่าย ระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่าย
 
กระดาษใยสับปะรด
กระดาษใยสับปะรดกระดาษใยสับปะรด
กระดาษใยสับปะรด
 
ใบงานที่ 1 เรื่อง ตลาดในระบบเศรษฐกิจ
ใบงานที่ 1  เรื่อง  ตลาดในระบบเศรษฐกิจใบงานที่ 1  เรื่อง  ตลาดในระบบเศรษฐกิจ
ใบงานที่ 1 เรื่อง ตลาดในระบบเศรษฐกิจ
 
Dichotomous key
Dichotomous keyDichotomous key
Dichotomous key
 
ความพึงพอใจในการใช้บริการห้องสมุด
ความพึงพอใจในการใช้บริการห้องสมุดความพึงพอใจในการใช้บริการห้องสมุด
ความพึงพอใจในการใช้บริการห้องสมุด
 
สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์
 
ใบความรู้เรื่องการแพร่และออสโมซิสDocx
ใบความรู้เรื่องการแพร่และออสโมซิสDocxใบความรู้เรื่องการแพร่และออสโมซิสDocx
ใบความรู้เรื่องการแพร่และออสโมซิสDocx
 
A2 thai-history
A2 thai-historyA2 thai-history
A2 thai-history
 
การสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศของพืช
การสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศของพืชการสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศของพืช
การสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศของพืช
 
การถ่ายละอองเรณู (T)
การถ่ายละอองเรณู (T)การถ่ายละอองเรณู (T)
การถ่ายละอองเรณู (T)
 

Viewers also liked

Award press releases
Award press releasesAward press releases
Award press releasesEric Visscher
 
Intra alveolar carcinama /prosthodontic courses
Intra   alveolar carcinama /prosthodontic coursesIntra   alveolar carcinama /prosthodontic courses
Intra alveolar carcinama /prosthodontic courses
Indian dental academy
 
Discovery Mar 2010
Discovery Mar 2010Discovery Mar 2010
Discovery Mar 2010Reggie Ho
 
SJC/Nike
SJC/NikeSJC/Nike
SJC/Nike
CZazzera
 
Your One-Stop Guide to All Things Pittsburg
Your One-Stop Guide to All Things PittsburgYour One-Stop Guide to All Things Pittsburg
Your One-Stop Guide to All Things Pittsburg
DoubleTree by Hilton
 
Odontgenic tumors vii / dental implant courses by Indian dental academy 
Odontgenic tumors vii / dental implant courses by Indian dental academy Odontgenic tumors vii / dental implant courses by Indian dental academy 
Odontgenic tumors vii / dental implant courses by Indian dental academy 
Indian dental academy
 
31 Sus Enseñanzas
31 Sus Enseñanzas31 Sus Enseñanzas
31 Sus Enseñanzas
Maranata
 

Viewers also liked (13)

Practica blog
Practica blogPractica blog
Practica blog
 
Award press releases
Award press releasesAward press releases
Award press releases
 
Ajay Menon
Ajay MenonAjay Menon
Ajay Menon
 
Practica blog
Practica blogPractica blog
Practica blog
 
Intra alveolar carcinama /prosthodontic courses
Intra   alveolar carcinama /prosthodontic coursesIntra   alveolar carcinama /prosthodontic courses
Intra alveolar carcinama /prosthodontic courses
 
Practica blog
Practica blogPractica blog
Practica blog
 
Discovery Mar 2010
Discovery Mar 2010Discovery Mar 2010
Discovery Mar 2010
 
SJC/Nike
SJC/NikeSJC/Nike
SJC/Nike
 
Why Nagel Is Right
Why Nagel Is RightWhy Nagel Is Right
Why Nagel Is Right
 
Your One-Stop Guide to All Things Pittsburg
Your One-Stop Guide to All Things PittsburgYour One-Stop Guide to All Things Pittsburg
Your One-Stop Guide to All Things Pittsburg
 
ขนมไทยไร้เทียมทาน
ขนมไทยไร้เทียมทานขนมไทยไร้เทียมทาน
ขนมไทยไร้เทียมทาน
 
Odontgenic tumors vii / dental implant courses by Indian dental academy 
Odontgenic tumors vii / dental implant courses by Indian dental academy Odontgenic tumors vii / dental implant courses by Indian dental academy 
Odontgenic tumors vii / dental implant courses by Indian dental academy 
 
31 Sus Enseñanzas
31 Sus Enseñanzas31 Sus Enseñanzas
31 Sus Enseñanzas
 

Similar to ภัยจากโซเซียลมีเดีย

Get rich by social
Get rich by socialGet rich by social
Get rich by social
pimvipada
 
2558 project
2558 project 2558 project
2558 project
PetcharatMint
 
โครงงานคอม อาเซียน (1)
โครงงานคอม อาเซียน (1)โครงงานคอม อาเซียน (1)
โครงงานคอม อาเซียน (1)ขวัญ ขวัญ
 
2558 project
2558 project 2558 project
2558 project
Beem HaHa
 
2562 final-project -1
2562 final-project -12562 final-project -1
2562 final-project -1
RungtiwaWongchai
 
โครงร่างคอมคู่1
โครงร่างคอมคู่1โครงร่างคอมคู่1
โครงร่างคอมคู่1
ปณิธิ ศรีสุวรรณนพกุล
 
สาขาอาชีพแห่งอนาคต
สาขาอาชีพแห่งอนาคตสาขาอาชีพแห่งอนาคต
สาขาอาชีพแห่งอนาคต
Wariyaphon Wongjirawat
 
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
Ajchariya Sitthikaew
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ (คู่)
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ (คู่)แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ (คู่)
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ (คู่)
pimvipada
 
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
Sasitorn Rodboonrung
 
2562 final-project no.38
2562 final-project no.382562 final-project no.38
2562 final-project no.38
pleng.mu
 
Projectm6 2-2556
Projectm6 2-2556Projectm6 2-2556
Projectm6 2-2556noeiinoii
 
Projectm6 2-2556
Projectm6 2-2556Projectm6 2-2556
Projectm6 2-2556simple67
 
2561 project -
2561 project -2561 project -
2561 project -
SornApasorn
 
2562 final-project -teerapatr
2562 final-project -teerapatr2562 final-project -teerapatr
2562 final-project -teerapatr
asdasdasdaasdasasdas
 
กิจกรรมที่ 1
กิจกรรมที่ 1 กิจกรรมที่ 1
กิจกรรมที่ 1
msyttt
 
2558 project new82
2558 project new822558 project new82
2558 project new82
JSIjittra
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงาน
แบบเสนอโครงร่างโครงงานแบบเสนอโครงร่างโครงงาน
แบบเสนอโครงร่างโครงงาน
Chotipong Ekasain
 
2558 project-com605
2558 project-com6052558 project-com605
2558 project-com605
eve2312
 

Similar to ภัยจากโซเซียลมีเดีย (20)

Get rich by social
Get rich by socialGet rich by social
Get rich by social
 
2558 project
2558 project 2558 project
2558 project
 
Commm
CommmCommm
Commm
 
โครงงานคอม อาเซียน (1)
โครงงานคอม อาเซียน (1)โครงงานคอม อาเซียน (1)
โครงงานคอม อาเซียน (1)
 
2558 project
2558 project 2558 project
2558 project
 
2562 final-project -1
2562 final-project -12562 final-project -1
2562 final-project -1
 
โครงร่างคอมคู่1
โครงร่างคอมคู่1โครงร่างคอมคู่1
โครงร่างคอมคู่1
 
สาขาอาชีพแห่งอนาคต
สาขาอาชีพแห่งอนาคตสาขาอาชีพแห่งอนาคต
สาขาอาชีพแห่งอนาคต
 
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ (คู่)
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ (คู่)แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ (คู่)
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ (คู่)
 
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
2562 final-project no.38
2562 final-project no.382562 final-project no.38
2562 final-project no.38
 
Projectm6 2-2556
Projectm6 2-2556Projectm6 2-2556
Projectm6 2-2556
 
Projectm6 2-2556
Projectm6 2-2556Projectm6 2-2556
Projectm6 2-2556
 
2561 project -
2561 project -2561 project -
2561 project -
 
2562 final-project -teerapatr
2562 final-project -teerapatr2562 final-project -teerapatr
2562 final-project -teerapatr
 
กิจกรรมที่ 1
กิจกรรมที่ 1 กิจกรรมที่ 1
กิจกรรมที่ 1
 
2558 project new82
2558 project new822558 project new82
2558 project new82
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงาน
แบบเสนอโครงร่างโครงงานแบบเสนอโครงร่างโครงงาน
แบบเสนอโครงร่างโครงงาน
 
2558 project-com605
2558 project-com6052558 project-com605
2558 project-com605
 

ภัยจากโซเซียลมีเดีย

  • 1. 1 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ รหัสวิชา ง33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 6 ปีการศึกษา 2558 ชื่อโครงงาน ภัยจากโซเซียลมีเดีย ชื่อผู้ทาโครงงาน 1. น.ส. ทิพย์ประภา วุฒิอินทร์ เลขที่ 10 ชั้น ม.6 ห้อง 5 2. น.ส. วิภาดา ทิมกลั่น เลขที่ 21 ชั้น ม.6 ห้อง 5 ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2558 โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
  • 2. 2 ใบงาน การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ สมาชิกในกลุ่ม 1 น.ส. ทิพย์ประภา วุฒิอินทร์ เลขที่ 10 2 น.ส. วิภาดา ทิมกลั่น เลขที่ 21 คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้ ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย) ภัยจากโซเซียลมีเดีย ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ) The threat of social media ประเภทโครงงาน โครงงานสื่อเพื่อการศึกษา ชื่อผู้ทาโครงงาน 1. น.ส. ทิพย์ประภา วุฒิอินทร์ เลขที่ 10 ชั้น ม.6 /5 2. น.ส. วิภาดา ทิมกลั่น เลขที่ 21 ชั้น ม.6 /5 ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ชื่อที่ปรึกษาร่วม - ระยะเวลาดาเนินงาน4 เดือน ที่มาและความสาคัญของโครงงาน (อธิบายถึงที่มา แนวคิด และเหตุผล ของการทาโครงงาน) โซเชียลมีเดียถือว่าเป็นสิ่งที่มีอิทธิพลและทรงพลังมากที่สุดในยุคปัจจุบันนี้ เพราะว่าสามารถ เข้าถึงคนจานวนมาก กว้างขวางและรวดเร็วที่สุดในบรรดาสื่อทั้งหมด แต่ในดีก็มีเสีย เพราะมีภัยร้าย หลายๆ ภัยที่มาพร้อมกับโซเชียลมีเดีย ซึ่งคนส่วนใหญ่มักใช้โซเชียลมีเดียในการติดตามข่าวสาร ข้อมูลต่างๆ จึงอาจจะทาให้เหล่ามิจฉาชีพเห็นช่องทางในการฉวยโอกาส
  • 3. 3 วัตถุประสงค์ (สิ่งที่ต้องการในการทาโครงงาน ระบุเป็นข้อ) 1. เพื่อให้ผู้ใช้อินเทอร์เน็ตตระหนักถึงภัยของโซเซียลมีเดีย 2. เพื่อให้ผู้ใช้อินเทอร์เน็ตใช้โซเซียลมีเดียในทางที่ถูก 3. เพื่อให้ผู้ใช้อินเทอร์เน็ตป็นคนช่างสังเกตและรู้จักระมัดระวังในการเสพสื่อ ขอบเขตโครงงาน (คุณลักษณะ ขอบเขต เงื่อนไขและข้อจากัดของการทาโครงงาน) เพื่อศึกษาภัยอันตรายและข้อเสียจากการใช้โซเซียลมีเดีย หลักการและทฤษฎี(ความรู้ หลักการ หรือทฤษฎีที่สนับสนุนการทาโครงงาน) ความหมายของโซเซียลมีเดียคือ สื่อสังคมออนไลน์ หรือหมายถึง สื่อที่ใช้ในการสื่อสาร เช่น บทความที่คนเขียนขึ้นมา ภาพ วีดีโอที่คนอัพโหลดขึ้นไป ซึ่งโซเซียลมีเดียเป็นสถานที่ที่คนเผยแพร่ ข้อมูลข่าวสารได้ง่าย เราต้องระมัดระวังในการเสพข่าวเพราะบางครั้งข้อมูลข่าวสารอาจไม่เป็น ความจริง มีผู้ที่ไม่ประสงค์ดีต่อคนจานวนมากมายที่โพสต์เรื่องราวต่างๆเพื่อเอาผลประโยชน์จากผู้อื่น ตัวอย่างภัยจากโซเซียลมีเดีย 1. หลอกว่ามาดีแต่จริงๆประสงค์ร้าย (Social Engineering Attack on Social Network) การโจมตีแบบนี้ เป็นหนึ่งในวิธีการที่นิยมใช้เป็นอย่างมาก เน้นการโจมตีที่ตัวบุคคล โดยผู้ใช้งาน มักจะคาดไม่ถึง และ ตกเป็น เหยื่อในที่สุด ส่วนมากจะมาในรูปแบบของ 2. ถูกสวมรอยง่ายๆ แค่เล่น Facebook อย่างไม่ระวัง (Cross Site Request Forgery Attack) เป็นวิธีการที่อาชญากรใช้ในการโจมตีผู้ใช้ Facebook หรือ Internet Banking โดยการแอบขโมยสิทธิ หรือ Credential ที่ผู้ใช้ได้ล็อกอินเว็บไซด์ ค้างไว้ซึ่งอาชญากรอาจนา Credential ของเราไปใช้งานต่อ เช่น ทาการโอนเงินออก จากบัญชีของผู้ใช้งานระบบ Internet Banking โดยผู้ใช้ไม่รู้ตัว เป็นต้น 3. โดนดักข้อมูลลับระหว่างทาง (Indentity Theft) เป็นเทคนิคการโจมตีผู้ใช้งาน Facebook โดยอาชญากรจะทาการดักจับข้อมูลที่ส่งไปมาระหว่าง ผู้ใช้งาน Facebook กับ facebook.com แบบเงียบ เพื่อขโมย Username และ Password ของผู้ใช้และ อาจลุกลามไปถึง E-mail Account ด้วย ถ้าใช้Username และ Password เดียวกัน กับ Facebook
  • 4. 4 วิธีการป้องกันและแก้ไขอย่างได้ผล สาหรับผู้ใช้งานทั่วไป ควรทาตัวเป็นผู้ช่างสังเกต พิจารณา ถึงความเป็นไปได้ของ หน้าเว็บไซด์ แอพพลิเคชั่น คลิปวิดีโอ รูปภาพ เกม หรือลิงค์ต่างๆ ก่อนคลิก เข้าชม หรือทาการ Log In เข้าใช้งาน อาจเลี่ยงโดย การพิมพ์URL Link แทนการคลิกโดยตรงจากหน้า เว็บไซด์ และไม่ควรตั้ง Password ที่ง่ายต่อการคาดเดาของอาชญากร เช่น 111, 555, 1234 หรือ พ.ศ.เกิด เป็นต้น ที่สาคัญไม่ควรใช้Username และ Password เดียวกัน ในทุก Account เพื่อป้อง กัน การเข้าถึงข้อมูลได้ในทุกๆ ด้าน รวมถึง Log Out ออกจากระบบทุกครั้งเมื่อสิ้นสุดการใช้งาน ที่สาคัญ ควรศึกษาหาความรู้เกี่ยว กับเรื่องของไวรัส การโจรกรรมข้อมูลทางอินเทอร์เน็ต และควรติดตั้ง โปรแกรมระบบป้องกันไวรัส และหมั่นอัพเดตโปรแกรมอยู่เสมอ สาหรับผู้ใช้งานองค์กร ควรจัดอบรมให้ความรู้ และความเข้าใจเกี่ยวกับเรื่องการป้องกันภัยร้าย จากการใช้งานอินเทอร์เน็ตอย่าง ปลอดภัย แก่พนักงานภายในองค์กรเป็นประจาอย่างสม่าเสมอ ติดตั้ง ระบบป้องกันไวรัสและหมั่นอัพเดตโปรแกรม รวมถึงควรมีฝ่าย ไอที เพื่อตรวจสอบ วิเคราะห์ระบบ และรู้จักทดสอบช่องโหว่ของระบบภายในองค์กร ในมุมมองของอาชญากรด้วย เครือข่ายสังคมออนไลน์นั้น เป็นที่แพร่กระจายโปรแกรมมุ่งร้ายชั้นดี ของเหล่าอาชญากร และอาจ สร้างความเสียหาย ให้กับผู้ใช้งาน หากไม่ตระหนัก และ ไม่ระมัดระวังที่จะป้องกันภัยคุกคามอย่าง เพียงพอในการใช้งานเครือข่ายสังคมออนไลน์ ดังนั้น การศึกษาเรื่องความมั่นคงปลอดภัยในการใช้ งานเครือข่ายสังคมออนไลน์ จึงเป็นสิ่งสาคัญอย่างยิ่งที่ผู้ใช้งานจาเป็นต้องรู้ ต้องเข้าใจ ไม่ว่าจะเป็นการ ใช้งานส่วนตัว หรือการใช้งานระดับองค์กร วิธีดาเนินงาน แนวทางการดาเนินงาน 1.เลือกหัวข้อในที่สนใจ 2.รวบรวมข้อมูล 3.ทาแบบเสนอโครงร่างเพื่อนาเสนอครู เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้ 1.คอมพิวเตอร์ งบประมาณ 0 บาท
  • 5. 5 ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน ลาดับ ที่ ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 1 คิดหัวข้อโครงงาน 2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล 3 จัดทาโครงร่างงาน 4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน 5 ปรับปรุงทดสอบ 6 การทาเอกสารรายงาน 7 ประเมินผลงาน 8 นาเสนอโครงงาน ผลที่คาดว่าจะได้รับ (ผลลัพธ์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดการทาโครงงาน) -เพื่อให้ผู้ใช้อินเทอร์เน็ตทุกคนตระหนักถึงภัยของโซเซียลมีเดีย -เพื่อให้ผู้ใช้อินเทอร์เน็ตทุกคนใช้โซเซียลมีเดียในทางที่ถูก -เพื่อให้ผู้ใช้อินเทอร์เน็ตทุกคนเป็นคนช่างสังเกตและรู้จักระมัดระวังในการเสพสื่อ สถานที่ดาเนินการ โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย อาเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ( คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ ) แหล่งอ้างอิง (เอกสาร หรือแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ที่นามาใช้การทาโครงงาน) https://sites.google.com/site/khawsanetc7/xantray-cak-so-cheiy-l-net-weir http://www.dmc.tv/pages/top_of_week/มหันตภัยโซเชียลมีเดีย