SlideShare a Scribd company logo
ความเป็นมาและการตั้งหลักแหล่ง
ในดินแดนประเทศไทย
1. การตั้งหลักแหล่งสมัยก่อนประวัติศาสตร์
1. การตั้งถิ่นฐานในยุคหิน (ประมาณ 2,000,000-5,500 ปีมาแล้ว)
สันนิษฐานว่าดินแดนในประเทศไทยเป็นเส้นทางผ่านของมนุษย์ในยุคแรกเริ่มจากเขต
ภาคพื้นทวีปลงไปสู่หมู่เกาะทางตอนล่าง เนื่องจากค้นพบเครื่องมือหินกะเทาะยุคแรก ๆ
ภาคเหนือ แหล่งโบราณคดีแม่ทะ จังหวัดลาปาง
ภาคใต้แหล่งโบราณคดีถ้าหลังโรงเรียน จังหวัดกระบี่
ร่องรอยการตั้งหลักแหล่งเป็นชุมชนในเขตประเทศไทยส่วนใหญ่มีอายุประมาณ
5,000 ปีลงมา พบในบริเวณถ้าและเพิงผาของแนวเขาทั่วทุกภาค โดยเฉพาะทิวเขาด้าน
ตะวันตกจากภาคเหนือทอดยาวต่อเนื่องลงสู่คาบสมุทรภาคใต้คือ มีถ้าและเพิงผาใกล้
แหล่งน้า มีทรัพยากรธรรมชาติที่จาเป็นต่อการดารงชีวิตอย่างอุดมสมบูรณ์ เช่น น้า
อาหารทั้งพืชและสัตว์แร่ธาตุที่นามาทาเครื่องมือเครื่องใช้และอาวุธ
การขุดค้น ณ แหล่งโบราณคดีภาพเขียนสี ดอยผาก้าน ตาบลบ้านดง อาเภอแม่เมาะ จังหวัดลาปาง
แหล่งภาพเขียนสีก่อนประวัติศาสตร์ค่ายประตูผา อยู่ในเขตอาเภอแม่เมาะ อยู่บริเวณหน้าผาด้านหลัง
ศาลเจ้าพ่อประตูผา พบเมื่อปี พ.ศ.๒๕๓๑ เป็นภาพเขียนสีขนาดใหญ่ ที่ผนังเพิงผา ซึ่งเป็นหน้าผาชันสูง
ประมาณ ๕๐ เมตร ยาวตลอดแนวของเขา พื้นดินมีลักษณะเป็นดินฝุ่นสีน้าตาลแดงเข้ม ถัดจากเพิงผาลงไป
เป็นลาดไหล่เขาค่อนข้างชัน
เครื่องมือหินกะเทาะพบที่เขาป่ าหนาม บ้านแม่ทะ และบ้านดอนมูล จังหวัดลาปางเครื่องมือหินกะเทาะ
ทั้งสองแห่งนี้พบอยู่ใต้ชั้นหินบะซอลต์ซึ่งเป็นการทับถม ของลาวาภูเขาไฟ อายุราว700,000ปีมาแล้ว แต่ไม่มี
การพบร่องรอยของมนุษย์แต่อย่างใด ร่องรอยของมนุษย์เก่าแก่ที่สุดคือ ฟันมนุษย์ที่ถ้าวิมานนาคินทร์ อาเภอ
คอนสาร จังหวัดชัยภูมิกาหนดอายุได้ในราว180,000 ปีมาแล้ว
แหล่งโบราณคดีถ้าหลังโรงเรียน
หลักฐานที่พบมีอายุประมาณ ๒๗,๐๐๐ - ๓๗,๐๐๐ ปี นับเป็นแหล่งที่เก่าแก่ที่สุดในประเทศไทย
และในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ หลักฐานทางโบราณคดีที่พบได้แก่ หลุมฝังศพและโครงกระดูก เศษ
ภาชนะดินเผาลายเชือกทาบ เครื่องมือหิน เครื่องมือทาจากเขาสัตว์และกระดูก กระดูกสัตว์ขนาดใหญ่และ
เปลือกหอย
เครื่องมือในยุคนี้ที่พบในถ้าหลังโรงเรียน ส่วนมากเป็นเครื่องมือหินกะเทาะที่มีการแต่งขอบภายหลัง
ดังเช่นที่พบในจีนและอินโดนีเซีย เครื่องมือหินเหล่านี้คงใช้ในการดารงชีวิตแบบล่าสัตว์และเก็บพืชผลป่า
มาบริโภค
1.1 แหล่งโบราณคดีถ้าผีแมน ลาน้าปาย จังหวัดแม่ฮ่องสอน อายุประมาณ 5,000 ปี
ชุมชนที่อาศัยอยู่ในเขตนี้คงพัฒนาจากยุคหินกลางเข้าสู่ยุคหินใหม่ รู้จักการเพาะปลูก
เนื่องจากได้พบเมล็ดข้าวและเมล็ดพืชบางชนิดในบริเวณหลุมฝังศพ ยังพบโลงศพไม้ที่เป็น
รูปเรือขุดจานวนมาก แสดงถึงการใช้เรือเป็นพาหนะในการติดต่อระหว่างชุมชน
รูปวาดลายเส้นโลงไม้รูปเรือ
แหล่งโบราณคดีถ้าผีแมน ล้าน้าปาย จังหวัดแม่ฮ่องสอน
1.2 แหล่งโบราณคดีออบหลวง ลาน้าปิง จังหวัดเชียงใหม่ คือ ภาพเขียนสีรูปคนกับช้าง
แสดงการประกอบพิธีกรรมของคนในชุมชน
ขุดค้นพบโบราณวัตถุและหลักฐานทางโบราณคดีสมัยก่อนประวัติศาสตร์จานวนมาก เช่น
เครื่องมือหินกระเทาะแกนหินและสะเก็ดหิน ขวานหินขัด ชิ้นส่วน เครื่องประดับและภาชนะสาริด
ภาชนะดินเผาลายเชือกทาบ ที่สาคัญคือ พบโครงกระดูกของมนุษย์ในสมัยยุคสาริด มีอายุระหว่าง 2,500 -
3,500ปี ก่อนคริสตกา
แหล่งโบราณคดีออบหลวง
1.3 แหล่งโบราณคดีบริเวณลุ่มน้าแควน้อย แควใหญ่ จังหวัดกาญจนบุรี มีอายุประมาณ
5,000- 3,000 ปี พบหลักฐานแสดงการเข้ามาอยู่อาศัยของมนุษย์หลายเผ่าพันธุ์ตามบริเวณถ้า
ต่าง ๆ ริมแม่น้าแควทั้ง 2 สาย
เริ่มตั้งแต่สมัยเริ่มกาเนิดมีมนุษย์ขึ้นในโลก จากสภาพภูมิศาสตร์ที่มีภูเขา แม่น้า ป่าไม้สิงสาราสัตว์
มากมาย เหมาะที่จะเป็นที่ตั้งอาศัยของมนุษย์มาตั้งแต่ในสมัยก่อนประวัติศาสตร์ พบหลักฐานทางด้าน
โบราณคดีมากมายได้แก่ เครื่องมือหินกะเทาะ เครื่องมือสมัยหินใหม่ เครื่องมือสมัยโลหะ โครงกระดูก
มนุษย์ภาชนะดินเผา เครื่องประดับ ภาพเขียนสีที่ผนังถ้า โลงศพ ฯลฯ ตามถ้าเพิงผา และตามลาน้าแคว
น้อยแควใหญ่ ตลอดไปจนลุ่มแม่น้าแม่กลอง
ภาชนะดินเผาทรงคล้ายหม้อ มีขาทรงกรวยสามขา อายุราว 4,000-3,000 ปีมาแล้ว แหล่งโบราณคดีบ้านเก่า
ตาบลบ้านเก่า อาเภอเมือง จังหวัดกาญจนบุรี ที่ตั้งอยู่บริเวณริมห้วยสาขาของแม่น้าแควน้อย ที่แสดงถึงการติดต่อกัน
ของชุมชนภายในผืนแผ่นดินใหญ่ในเอเชีย ขาทั้ง 3 ขา ที่ติดอยู่บนภาชนะมีสัน มีลักษณะทรงกรวยกลวง บริเวณ
ส่วนบนหรือส่วนล่างของขาเจาะรู 1 – 2 รู เข้าใจว่าเป็นรูสาหรับระบายความร้อนในการเผา ซึ่งขาจะถูกทาขึ้นคนละ
ครั้งแล้วนามาติดกับตัวภาชนะ
โครงกระดุกฝังแบบนอนตะแคงงอเข่า
ขุดพบที่บ้านเก่า จ . กาญจนบุรี
ถ้าองบะ ตาบลด่านแม่แฉลบ
อาเภอศรีสวัสดิ์ จ.กาญจนบุรี
พบโครงกระดูก ภาชนะดินเผา
โครงกระดูกคนสมัยหินกลาง ขุดพบที่
ถ้าพระ ไทรโยค จังหวัดกาญจนบุรี
เห็นเฉพาะโครงกระดูกส่วนบน
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติบ้านเก่า จังหวัดกาญจนบุรี เปิดเข้าชมวัน
จันทร์ - วันศุกร์ เวลาราชการ คนไทย 10 บาท ชาวต่างชาติ30 บาท
1.4 แหล่งโบราณคดีบริเวณลุ่มน้าบางปะกงและที่ราบชายฝั่งทะเลด้านตะวันออก
พบเครื่องมือยุคหินเก่าในถ้าเขตจังหวัดชลบุรีและจันทบุรี ส่วนร่องรอยยุคหินใหม่จะพบ
ในเขตที่ราบชายฝั่งทะเลเก่า ซึ่งพื้นที่เหมาะแก่การเพาะปลูกและการจับสัตว์น้า ชุมชน
เหล่านั้นได้พัฒนาขึ้นเป็นสังคมเมืองในยุคโลหะ
ทางเข้าแหล่งโบราณคดีโคกพนมดี ภายในวัดโคกพนมดี อ.พนัสนิคมชลบุรี สภาพปัจจุบัน เนินดินแหล่งโบราณคดีโคกพนมดี อ.พนัสนิคมชลบุรี
การขุดค้นทางโบราณคดีที่แหล่งโบราณคดีโคกพนมดี ระหว่างปี พ.ศ. 2527-2528
สมัยก่อนประวัติศาสตร์ บริเวณลุ่มแม่น้าบางปะกง สมัยหินใหม่ อายุราว 4000 - 3500
ตารางจาแนกตัวอย่างโครงกระดูกจากแหล่งโบราณโคกพนมดี ตามเพศและค่าประเมินอายุเมื่อตาย
อายุ/ เพศ เพศชาย เพศหญิง
จาแนกเพศ
ไม่ได้
รวม
ทารก (0-2 ปี) 72 72
เด็ก (2-12 ปี) 14 14
วัยรุ่น (12-20 ปี) 5 3 8
วัยหนุ่ม (20-35 ปี) 22 20 42
วัยกลางคน (35-50 ปี) 5 12 17
วัยสูงอายุ (มากกว่า50 ปี) 1 1
รวม 32 36 86 154
ที่มา: ประพิศ พงษ์มาศ ชูศิริ, ผลการวิเคราะห์โครงกระดูกมนุษย์ที่แหล่งโบราณคดีโคกพนมดี.
(กรุงเทพฯ: โครงการสารวจแหล่งโบราณคดี ฝ่ ายวิชาการ กองโบราณคดี, 2534), 40-48.
1.5 แหล่งโบราณคดีบริเวณลุ่มน้าป่ าสัก-ลพบุรี เป็นชุมชนขนาดใหญ่ที่เติบโตขึ้นมา
ในยุคหินใหม่ประมาณ 4,000 ปีลงมา มีทั้งการเพาะปลูก เลี้ยงสัตว์และหาของป่า มี
พัฒนาการขึ้นเป็นเมืองใหญ่ที่รุ่งเรืองทางการค้าในยุคโลหะ
ภาชนะดินเผาลวดลายจักสาน พบเป็นจานวนมาก เป็นภาชนะเด่นในกลุ่ม แหล่ง
โบราณคดีก่อนประวัติศาสตร์ในบริเวณลุ่มน้าลพบุรี - ป่าสัก
1.6 แหล่งโบราณคดีในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ พบการก่อตั้งชุมชนขนาดใหญ่ตั้งแต่
ยุคหินใหม่ที่เจริญต่อเนื่องไปถึงยุคโลหะ คือ เขตลุ่มน้าสงครามทางตอนบนและลุ่มน้ามูล-ชี
ทางตอนล่าง โดยเฉพาะเขตลุ่มน้ามูลได้พัฒนาขึ้นเป็นเมืองใหญ่ในสมัยประวัติศาสตร์
ไหโบราณทาขึ้นเพื่อ
ใช้ประกอบพิธีกรรม
เกี่ยวกับความตาย เป็น
ภาชนะที่มีค่า ใส่
กระดูกแล้วฝัง
แหล่งโบราณคดี ตั้งอยู่ในพื้นที่ อ.โนนสูง 5 จุด คือ จุดที่ 1 บ้านหลุมข้าว ต.หลุมข้าว, จุดที่ 2 บ้านปราสาท ต.ธารปราสาท,
จุดที่ 3 โนนเมืองเก่า บ้านดงพลอง ต.หลุมข้าว, จุดที่ 4 เนินอุโลก บ้านหนองนาตูม ต.พลสงคราม ซึ่งทั้ง 4 จุดนี้ ได้มีการขุดพบ
โบราณวัตถุก่อนประวัติศาสตร์ที่เก่าแก่ อายุกว่า 2,500-3,000 ปี และจุดที่ 5 คือ จุดบ้านโนนวัด ต.พลสงคราม เป็นจุดที่ค้นพบ
โบราณวัตถุ และโครงกระดูกมนุษย์โบราณอายุกว่า 4,500 ปี ที่แขน 2 ข้างของโครงกระดูกใส่กาไลเปลือกหอยทะเลเต็มทั้ง 2 แขน
แหล่งอารยธรรมโบราณ 4พันปี ที่โคราช
บ้านโนนวัด ต.พลสงคราม อ.โนนสูง จ.นครราชสีมา
บ้านโนนวัดมีการตั้งชุมชนอยู่ในยุคก่อนประวัติศาสตร์เมื่อราว 4,500ปีที่ผ่านมา
2. การตั้งหลักแหล่งในยุคโลหะ (ประมาณ 4,000-1,500 ปีมาแล้ว)
มีการพัฒนาการขึ้นเป็นสังคมเมืองที่เป็นระเบียบ จัดรูปแบบการปกครอง แบ่งชน
ชั้นในสังคมตามบทบาทหน้าที่และเผ่าพันธุ์ ยุคโลหะในประเทศไทยแบ่งย่อยเป็น 2 ระยะ
คือ ยุคสาริด โดยการนาแร่ทองแดงและดีบุกมาหลอมรวมกันเป็นสาริด ใช้ผลิตเครื่องมือ
เครื่องใช้และเครื่องประดับ ในระยะต่อมาจึงมีการนาแร่เหล็กที่มีความแข็งแกร่งกว่ามาใช้
แทนสาริด
2.1 แหล่งโบราณคดีลุ่มน้าป่ าสัก-ลพบุรี คือ เขตชุมชนเก่าในยุคหินใหม่ที่มีความอุดม
สมบูรณ์ในฐานะแหล่งเกษตรกรรม เป็นแหล่งถลุงโลหะและสินค้าของป่าเพื่อการค้า รวมทั้ง
มีทาเลอยู่ริมลาน้าใหญ่ใกล้ปากอ่าว สามารถเป็นสื่อกลางในการติดต่อระหว่างชุมชนชายฝั่ง
ทะเลกับชุมชนที่อยู่ลึกเข้าไปภายในได้สะดวก แหล่งโบราณคดีสาคัญ ได้แก่ ท่าแค พุน้อย
โนนป่าหวาย ห้วยใหญ่ ห้วยโป่ง และซับจาปา
ระฆังรูปไก่ เป็นเทคโนโลยีการหล่อสาริดรูปสัตว์ที่สวยงาม
อายุในราว 2,000 ปี จากลุ่มน้าป่าสัก ชัยบาดาล จังหวัดลพบุรี
2.1.1 บ้านท่าแค ผลจากขุดค้นทางโบราณคดีได้พบชั้นวัฒนธรรมหลายสมัย โดย
สมัยที่เก่าที่สุดกาหนดอายุได้ราว 3,000 – 2,500 ปี มีการพบหลุมฝังศพ เศษภาชนะดินเผาซึ่ง
ส่วนใหญ่มีเนื้อดินสีแดงทาเป็นลายขูดขีดและลายเชือกทาบ ขวานหินขัด กาไล ลูกปัดหิน
รวมทั้งเศษกาไลสาริด และกระดูกสัตว์ชนิดต่าง ๆ ซึ่งหลักฐานที่พบที่บ้านท่าแคนี้เป็น
หลักฐานทางโบราณคดีที่มักพบทั่วไปในประเทศไทยที่เป็นวัฒนธรรมยุคก่อนประวัติศาสตร์
ระดับหมู่บ้านเกษตรกรรม สมัยต่อมาพบภาชนะดินเผาที่มีวิวัฒนาการในด้านรูปทรง เช่น
ภาชนะก้นกลมสีน้าตาลปนแดงจนถึงน้าตาลเข้ม มีทั้งผิวขัดมันและลายกดประทับ รวมทั้ง
พบเศษเครื่องมือที่ทาจากโลหะกระจายอยู่ทั่วไป
รูปทรงของภาชนะดินเผาสมัยก่อนประวัติศาสตร์ที่พบที่จังหวัดลพบุรี
เนื้อดินมีสีแดงมีการขูดขีดให้เป็นลวดลายง่าย ๆ
2.1.2 เมืองโบราณซับจาปา ปรากฏการตั้งถิ่นฐานที่อยู่อาศัยของมนุษย์มาตั้งแต่สมัยก่อน
ประวัติศาสตร์ จากการค้นพบหลักฐานทางโบราณคดี เช่น กาไลหิน แกนกาไลหิน กระดูกมนุษย์และภาชนะ
ดินเผาก่อนประวัติศาสตร์ในรูปแบบต่างๆ ซึ่งมีอายุประมาณ 3,000 – 2,500ปีมาแล้ว อีกทั้งโบราณวัตถุ
ประเภทศิลาจารึกประติมากรรมรูปต่าง ๆ สันนิฐานว่าในราวพุทธศตวรรษที่ 12 – 13ชุมชนโบราณแห่งนี้
ได้รับวัฒนธรรมอินเดีย เช่น ศาสนา ความเชื่อ อักษร ภาษาศิลปกรรม และพัฒนาขึ้นเป็นเมือง พื้นที่บริเวณ
รอบๆ มีการขุดคูน้าเพื่อสร้างคันดินเป็นกาแพงเมืองล้อมรอบชุมชน และมีกษัตริย์ปกครองเมือง
ชิ้นส่วนของธรรมจักรที่แตกหัก มองเห็นลายดอกกลมสลับสี่เหลี่ยมขนมเปียกปูน พบจากแหล่งโบราณคดีซับจาปา
ภาชนะดินเผาก่อนประวัติศาสตร์
กระบี่จอมยุทธ์ ด้ามสาริด ดาบเหล็ก ฝักกระบี่เป็นไม้ผุพังไปมากพบในแห่งโบราณคดียุคหิน- ทองแดง
เขตลุ่มน้าป่าสัก อาเภอลานารายณ์ อายุในราว 3,000 ปี
กระดิ่งหน้าคน จากลุ่มน้าป่าสัก
อายุประมาณ 2,000 ปี
ภาชนะสาริด ภายในมีร่องรอยของลูกปัดแก้ว
จากลุ่มน้าป่าสัก อายุประมาณ 2,000 ปี
.
ขวานปล่องสาริด พบเป็นจานวนมากในเขตโบราณคดี
ภาคกลางไปจนถึงภาคอีสาน อายุราว 2,000 - 3,500 ปี
ระฆังสาหรับแขวนคอสัตว์ มีแง่งเป็นแขน และ
ลวดลายดาวคล้ายตา จากแหล่งโบราณคดีลุ่มน้าป่า
สัก อายุในราว 2,000ปี
ระฆังช้าง มีรูปช้างขนาดเล็กเกาะอยู่ด้านบน ใช้สาหรับคล้องคอช้าง
พบในแหล่งโบราณคดีลุ่มน้าป่าสัก ชัยบาดาล อายุในราว 2,000 ปี
2.2 แหล่งโบราณคดีชายฝั่งทะเลตะวันออก บริเวณนี้ได้พัฒนาเป็นเมืองในเขตที่ราบ
ชายฝั่งที่มีการติดต่อค้าขายกับชุมชนนอกภูมิภาคที่อยู่ห่างไกลเพราะพบหลักฐานที่เป็นสินค้า
จากจีนและอินเดีย
กลองมโหรทึกสาริดในวัฒนธรรมดองซอน (Dong Son Culture) ซึ่งพบมากทางตอนใต้ของประเทศจีนและ
เวียดนาม และกระจายตัวไปทั่วภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้เป็นหลักฐานสาคัญที่แสดงให้เห็นการติดต่อกัน
ระหว่างชุมชนในภูมิภาคสุวรรณภูมิในสมัยโบราณ
2.3 แหล่งโบราณคดีในลุ่มแม่น้าแม่กลอง ชุมชนที่ขยายตัวจากบริเวณแม่น้าแควใน
ยุคหินใหม่และยุคโลหะได้พัฒนาขึ้นเป็นเมืองใกล้ชายฝั่งมากขึ้น เพื่อขยายพื้นที่เพาะปลูก
และติดต่อค้าขายกับรัฐนอกภูมิภาค พื้นที่สาคัญ ได้แก่ แหล่งโบราณคดีโคกพลับ จังหวัด
ราชบุรี เป็นชุมชนสมัยสาริด แหล่งโบราณคดีบ้านดอนตาเพชร จังหวัดกาญจนบุรี เป็น
ชุมชนยุคเหล็ก เมืองที่เป็นชุมทางการค้าทางบก คือ เมืองพงตึกในลุ่มน้าแคว จังหวัด
กาญจนบุรี และเมืองท่าชายฝั่งที่สาคัญในสมัยทวารวดี คือ เมืองคูบัว จังหวัดราชบุรี
เครื่องประดับรูปสัตว์สองหัว
พบที่บ้านดอนตาเพชร
อ.พนมทวน จ.กาญจนบุรี
ลูกปัดหินคาร์เนเลี่ยน พบที่บ้านดอนตาเพชร จ.กาญจนบุรี
เครื่องประดับรูปคล้ายหัวสัตว์
เครื่องสาริด บ้านดอนตาเพชร
เครื่องเหล็ก บ้านดอนตาเพชร
เครื่องประดับ บ้านดอนตาเพชร
เมืองโบราณคูบัว เป็นเมืองโบราณสมัยทวาราวดี ที่พัฒนาจากยุคก่อนประวัติศาสตร์ เป็น
ศูนย์กลางทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรมของชุมชนลุ่มแม่น้าแม่กลอง โดยมีฐานะเป็น
เมืองท่าทางการค้าริมแม่น้าสาคัญและชายฝั่งทะเลในยุคประวัติ ศาสตร์ มีการรับเอาแบบอย่าง
การดาเนินชีวิตในรูปแบบสังคมเมือง การนับถือพุทธศาสนา และการรู้จักใช้ตัวอักษรและ
หนังสือ
พบซากฐานเจดีย์ที่ก่อด้วยอิฐและฉาบปูนไว้พบพระพุทธรูปดินเผารูปพระโพธิสัตว์รูป
มนุษย์ยักษ์มาร สัตว์ต่าง ๆ และลวดลายประดับองค์เจดีย์ซึ่งทาด้วยดินเผา
ปูนชั้นชิ้นเอกของเมืองคูบัวภาพ "ปัญจดุริยสตรี" อันเป็นเอกลักษณ์ของทวารวดี
ที่นักดนตรีชั้นสูงกลับเป็น"หญิง"ในขณะที่ในอินเดียนักดนตรีจะเป็น"ชาย
โบราณคดีคูบัว จ.ราชบุรี
ประติมากรรมรูปพระพุทธรูป พระโพธิสัตว์เทวดา บุคคล และลวดลายต่างๆ ที่ทามาจากดินเผาและปูนปั้น
2.4 แหล่งโบราณคดีบนชายฝั่งตะวันออกของคาบสมุทร ชายฝั่งด้านอ่าวไทยมี
บริเวณที่ราบลุ่มซึ่งมีน้าจืดเพียงพอสาหรับการเพาะปลูกของชุมชนขนาดใหญ่ เช่น
บริเวณอ่าวบ้านดอนไชยา จังหวัดสุราษฎร์ธานี ที่ราบเมืองนครและทะเลสาบสงขวา ที่
ราบปากน้าตาปี ชุมชนเหล่านี้ได้พัฒนาเติบโตขึ้นเป็นเมืองท่าสาคัญในสมัยประวัติศาสตร์
เพราะมีชัยภูมิที่ดี คือ มีอ่าวจอดเรือและมีเกาะหรือแหลมช่วยกาบังคลื่นลม
เส้นทางคาบสมุทรฝั่งอันดามันบรรจบอ่าวไทย เป็นเส้นทางการเดินเรือที่ยิ่งใหญ่ของโลกแห่งหนึ่ง และมีอดีตที่รุ่งโรจน์ อัน
ปรากฏด้วยหลักฐานทางประวัติศาสตร์ที่ขุดค้นพบ เครื่องถ้วยเปอร์เซียเครื่องเคลือบจากเมืองจีนอายุกว่าพันปี เทวรูปสัญลักษณ์
สาคัญของการเผยแผ่ศาสนาจากอินเดีย รวมถึงลูกปัดที่บ่งบอกถึงความเป็นเมืองท่าที่มีการติดต่อค้าขายที่เจริญรุ่งเรืองในย่านนี้
ลูกปัดหินและแก้วจากทุ่งตึกปัจจุบันอยู่ในครอบครองของเอกชน พระนารายณ์ที่เขาศรีวิชัย อ.พุนพิน จ.สุราษฎร์ธานี
2.5 แหล่งโบราณคดีในแอ่งสกลนคร ประกอบด้วยกลุ่มบ้านเชียง อยู่บริเวณที่ราบ
ตอนบนของลาน้าสงครามซึ่งไหลลงลาน้าโขง และกลุ่มโพนชัยบริเวณที่ราบตอนบนของลาน้า
ชีซึ่งจะไหลลงไปสมทบกับลาน้ามูล
วัฒนธรรมบ้านเชียง (ปัจจุบันอยู่ในเขตจังหวัดอุดรธานี) ชุมชนวัฒนธรรมบ้านเชียงมี
พัฒนาการต่อเนื่องมาตั้งแต่ยุคหินกลาง เนื่องจากเป็นบริเวณที่มีความอุดมสมบูรณ์มาก
ความสาคัญโดดเด่นอยู่ที่ความสามารถในการใช้เทคโนโลยีโลหะกรรมระดับสูงในการผลิต
เครื่องสาริดเป็นเครื่องใช้อาวุธ และเครื่องประดับ รวมทั้งผลิตเครื่องปั้นดินเผาที่มีลักษณะ
เฉพาะตัว คือ เขียนลวดลายก้นหอยสีแดงบนพื้นผิวภาชนะสีนวล
เครื่องมือประเภทขวานปล่องและ
เครื่องประดับ เบ้าหลอม จาก
วัฒนธรรมลุ่มน้าสงคราม แหล่ง
โบราณคดีบ้านเชียง อุดรธานี และ
ภูมิภาคในเขตจังหวัดสกลนคร อายุ
ในราว 4,500 ปี - 2,000 ปี
หอกและขวานปล่องสาริด จากแหล่งโบราณคดีบ้านเชียง อายุในราว 2,000 ปี
เครื่องประดับทาจากสาริด จากแหล่งโบราณคดีบ้านเชียงอายุในราว 2,000 ปี
กาไรรูปแมลงปอ และ กาไลรูปเขาควาย ประดับลูก
กระดิ่ง จากแหล่งโบราณคดีบ้านเชียง จังหวัดอุดรธานี
กาไลลูกกระพรวน
เบ็ด
ไหเขียนสีบ้านเชียง
1.6 แหล่งโบราณคดีในแอ่งโคราช ประกอบด้วยกลุ่มทุ่งสาริดซึ่งอยู่บริเวณที่ราบ
ตอนกลางของลาน้ามูลและกลุ่มทุ่งกุลาร้องไห้ซึ่งอยู่ในเขตพื้นที่ลาน้ามูล-ชี บริเวณนี้
ค่อนข้างแห้งแล้งเพราะดินเป็นดินปนทรายไม่อุ้มน้า ยกเว้นบริเวณปากน้ามูลซึ่งเป็นที่ราบ
ดินตะกอนอันอุดมสมบูรณ์ แต่ชุมชนในแอ่งโคราชสามารถพัฒนาขึ้นเป็นเมืองใหญ่ใน
สมัยประวัติศาสตร์ได้เพราะมีการผลิตเหล็กและเกลือสินเธาว์เพื่อการส่งออก ประกอบกับ
พื้นที่นี้อยู่ในทาเลที่เชื่อมต่อกับอีสานตอนบน เขมร และลุ่มแม่น้าเจ้าพระยา
ต่างหูสาริดจากเนินอุโลก นครราชสีมา อายุในราว 1,800 -
2,000 ปี เป็นหลักฐานเครื่องประดับสาริดในยุคเหล็ก
ไหดินเผาขนาดใหญ่ที่ใช้ใส่ศพคนตายแล้วนาไปฝัง
แหล่งโบราณคดีบ้านกระเบื้องนอก ต.กระเบื้องนอก
อ.ชุมพวง จ.นครราชสีมา
โครงกระดูกสตรีใส่เครื่องประดับสาริดทั้งที่เป็น
ต่างหู กาไลแขนและห่วงเอวอายุในราว 1,800
ปี จากเนินอุโลก นครราชสีมา เป็นหลักฐาน
ของเครื่องประดับสาริดในยุคเหล็ก
คาถาม
1. นักเรียนคิดว่ามนุษย์ยุคหินและมนุษย์ยุคโลหะในดินแดนประเทศไทยมีการ
ตั้งถิ่นฐานแตกต่างกันอย่างไร

More Related Content

What's hot

การสร้างสรรค์ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์
การสร้างสรรค์ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์การสร้างสรรค์ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์
การสร้างสรรค์ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์
พัน พัน
 
นำเสนอเศรษฐกิจพอเพียง
นำเสนอเศรษฐกิจพอเพียงนำเสนอเศรษฐกิจพอเพียง
นำเสนอเศรษฐกิจพอเพียงwilai2510
 
ใบงานคำที่มาจากภาษาต่างประเทศ
ใบงานคำที่มาจากภาษาต่างประเทศใบงานคำที่มาจากภาษาต่างประเทศ
ใบงานคำที่มาจากภาษาต่างประเทศ
ssuser456899
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
พัน พัน
 
เศรษฐศาสตร์ ม.3
เศรษฐศาสตร์ ม.3เศรษฐศาสตร์ ม.3
เศรษฐศาสตร์ ม.3
พัน พัน
 
ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1
ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1
ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1
prayut2516
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ ถ่านอัดแท่งสมุนไพร1
โครงงานวิทยาศาสตร์ ถ่านอัดแท่งสมุนไพร1โครงงานวิทยาศาสตร์ ถ่านอัดแท่งสมุนไพร1
โครงงานวิทยาศาสตร์ ถ่านอัดแท่งสมุนไพร1Chok Ke
 
8. ชุดที่ 5 การลำเลียง
8. ชุดที่ 5 การลำเลียง8. ชุดที่ 5 การลำเลียง
8. ชุดที่ 5 การลำเลียง
เอเดียน คุณาสิทธิ์
 
บทที่ 9 การศึกษารายกรณี 55
บทที่ 9 การศึกษารายกรณี  55บทที่ 9 การศึกษารายกรณี  55
บทที่ 9 การศึกษารายกรณี 55Decode Ac
 
Ptt อาณาจักรสูโขทัย
Ptt อาณาจักรสูโขทัยPtt อาณาจักรสูโขทัย
Ptt อาณาจักรสูโขทัย
Yim Wiphawan
 
หน่วยที่ 1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น
หน่วยที่ 1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้นหน่วยที่ 1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น
หน่วยที่ 1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น
Paew Tongpanya
 
ประโยคตามเจตนา 7
ประโยคตามเจตนา 7ประโยคตามเจตนา 7
ประโยคตามเจตนา 7Nongkran Jarurnphong
 
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์สมศรี หอมเนียม
 
สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์
สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์
สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์แวมไพร์ แวมไพร์
 
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรีSivagon Soontong
 
การสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ในสังคมไทยปัจจุบัน
การสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ในสังคมไทยปัจจุบันการสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ในสังคมไทยปัจจุบัน
การสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ในสังคมไทยปัจจุบัน
Taraya Srivilas
 

What's hot (20)

การสร้างสรรค์ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์
การสร้างสรรค์ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์การสร้างสรรค์ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์
การสร้างสรรค์ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์
 
นำเสนอเศรษฐกิจพอเพียง
นำเสนอเศรษฐกิจพอเพียงนำเสนอเศรษฐกิจพอเพียง
นำเสนอเศรษฐกิจพอเพียง
 
ใบงานคำที่มาจากภาษาต่างประเทศ
ใบงานคำที่มาจากภาษาต่างประเทศใบงานคำที่มาจากภาษาต่างประเทศ
ใบงานคำที่มาจากภาษาต่างประเทศ
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 
เศรษฐศาสตร์ ม.3
เศรษฐศาสตร์ ม.3เศรษฐศาสตร์ ม.3
เศรษฐศาสตร์ ม.3
 
ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1
ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1
ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ ถ่านอัดแท่งสมุนไพร1
โครงงานวิทยาศาสตร์ ถ่านอัดแท่งสมุนไพร1โครงงานวิทยาศาสตร์ ถ่านอัดแท่งสมุนไพร1
โครงงานวิทยาศาสตร์ ถ่านอัดแท่งสมุนไพร1
 
8. ชุดที่ 5 การลำเลียง
8. ชุดที่ 5 การลำเลียง8. ชุดที่ 5 การลำเลียง
8. ชุดที่ 5 การลำเลียง
 
บทที่ 9 การศึกษารายกรณี 55
บทที่ 9 การศึกษารายกรณี  55บทที่ 9 การศึกษารายกรณี  55
บทที่ 9 การศึกษารายกรณี 55
 
Ptt อาณาจักรสูโขทัย
Ptt อาณาจักรสูโขทัยPtt อาณาจักรสูโขทัย
Ptt อาณาจักรสูโขทัย
 
หน่วยที่ 1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น
หน่วยที่ 1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้นหน่วยที่ 1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น
หน่วยที่ 1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น
 
ใบงาน2
ใบงาน2ใบงาน2
ใบงาน2
 
ประโยคตามเจตนา 7
ประโยคตามเจตนา 7ประโยคตามเจตนา 7
ประโยคตามเจตนา 7
 
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
 
สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์
สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์
สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์
 
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
 
ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]
ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]
ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]
 
ใบงาน อเมริกาเหนือ
ใบงาน อเมริกาเหนือใบงาน อเมริกาเหนือ
ใบงาน อเมริกาเหนือ
 
คำประสม
คำประสมคำประสม
คำประสม
 
การสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ในสังคมไทยปัจจุบัน
การสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ในสังคมไทยปัจจุบันการสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ในสังคมไทยปัจจุบัน
การสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ในสังคมไทยปัจจุบัน
 

Similar to A2 thai-history

เรื่องยุคประวัติศาสตร์สมัยโบราณ 1
เรื่องยุคประวัติศาสตร์สมัยโบราณ 1เรื่องยุคประวัติศาสตร์สมัยโบราณ 1
เรื่องยุคประวัติศาสตร์สมัยโบราณ 1
cgame002
 
ประวัติศาสตร์วัฒนธรรมอีสาน1
ประวัติศาสตร์วัฒนธรรมอีสาน1ประวัติศาสตร์วัฒนธรรมอีสาน1
ประวัติศาสตร์วัฒนธรรมอีสาน1teacherhistory
 
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7 เลขที่4,10
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7 เลขที่4,10การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7 เลขที่4,10
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7 เลขที่4,10
mintmint2540
 
สังคม ม.6.7 เลขที่4,10
สังคม ม.6.7 เลขที่4,10สังคม ม.6.7 เลขที่4,10
สังคม ม.6.7 เลขที่4,10mintmint2540
 
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7 เลขที่ 4,10
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7 เลขที่ 4,10การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7 เลขที่ 4,10
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7 เลขที่ 4,10
mintmint2540
 
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7 เลขที่4,10
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7 เลขที่4,10การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7 เลขที่4,10
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7 เลขที่4,10
mintmint2540
 
ประวัติศาสตร์วัฒนธรรมอีสาน2
ประวัติศาสตร์วัฒนธรรมอีสาน2ประวัติศาสตร์วัฒนธรรมอีสาน2
ประวัติศาสตร์วัฒนธรรมอีสาน2teacherhistory
 
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ 6.1
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์  6.1การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์  6.1
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ 6.1
Noo Suthina
 
อารยธรรมจีน
อารยธรรมจีนอารยธรรมจีน
อารยธรรมจีน
พัน พัน
 
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.1
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.1 การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.1
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.1
Noo Suthina
 
ธรณีประวัติ
ธรณีประวัติธรณีประวัติ
หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์
Gob_duangkamon
 
03การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ไทย
03การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ไทย03การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ไทย
03การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ไทยJulPcc CR
 
03การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ไทย
03การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ไทย03การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ไทย
03การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ไทยJulPcc CR
 
Unit1 e0b980e0b8a7e0b8a5e0b8b2e0b981e0b8a5e0b8b0e0b8a2e0b8b8e0b884e0b8aae0b8a...
Unit1 e0b980e0b8a7e0b8a5e0b8b2e0b981e0b8a5e0b8b0e0b8a2e0b8b8e0b884e0b8aae0b8a...Unit1 e0b980e0b8a7e0b8a5e0b8b2e0b981e0b8a5e0b8b0e0b8a2e0b8b8e0b884e0b8aae0b8a...
Unit1 e0b980e0b8a7e0b8a5e0b8b2e0b981e0b8a5e0b8b0e0b8a2e0b8b8e0b884e0b8aae0b8a...krunrita
 
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
Noo Suthina
 

Similar to A2 thai-history (20)

Unit2 การสร้างสรรค์อารยธรรม
Unit2 การสร้างสรรค์อารยธรรมUnit2 การสร้างสรรค์อารยธรรม
Unit2 การสร้างสรรค์อารยธรรม
 
เรื่องยุคประวัติศาสตร์สมัยโบราณ 1
เรื่องยุคประวัติศาสตร์สมัยโบราณ 1เรื่องยุคประวัติศาสตร์สมัยโบราณ 1
เรื่องยุคประวัติศาสตร์สมัยโบราณ 1
 
ประวัติศาสตร์วัฒนธรรมอีสาน1
ประวัติศาสตร์วัฒนธรรมอีสาน1ประวัติศาสตร์วัฒนธรรมอีสาน1
ประวัติศาสตร์วัฒนธรรมอีสาน1
 
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7 เลขที่4,10
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7 เลขที่4,10การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7 เลขที่4,10
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7 เลขที่4,10
 
สังคม ม.6.7 เลขที่4,10
สังคม ม.6.7 เลขที่4,10สังคม ม.6.7 เลขที่4,10
สังคม ม.6.7 เลขที่4,10
 
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7 เลขที่ 4,10
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7 เลขที่ 4,10การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7 เลขที่ 4,10
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7 เลขที่ 4,10
 
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7 เลขที่4,10
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7 เลขที่4,10การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7 เลขที่4,10
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7 เลขที่4,10
 
ประวัติศาสตร์วัฒนธรรมอีสาน2
ประวัติศาสตร์วัฒนธรรมอีสาน2ประวัติศาสตร์วัฒนธรรมอีสาน2
ประวัติศาสตร์วัฒนธรรมอีสาน2
 
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ 6.1
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์  6.1การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์  6.1
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ 6.1
 
อารยธรรมจีน
อารยธรรมจีนอารยธรรมจีน
อารยธรรมจีน
 
3.4 อารยธรรมกร ก
3.4 อารยธรรมกร ก3.4 อารยธรรมกร ก
3.4 อารยธรรมกร ก
 
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.1
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.1 การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.1
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.1
 
3.4 อารยธรรมกรีก
3.4 อารยธรรมกรีก3.4 อารยธรรมกรีก
3.4 อารยธรรมกรีก
 
ธรณีประวัติ
ธรณีประวัติธรณีประวัติ
ธรณีประวัติ
 
หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์
 
03การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ไทย
03การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ไทย03การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ไทย
03การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ไทย
 
03การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ไทย
03การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ไทย03การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ไทย
03การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ไทย
 
Unit1 e0b980e0b8a7e0b8a5e0b8b2e0b981e0b8a5e0b8b0e0b8a2e0b8b8e0b884e0b8aae0b8a...
Unit1 e0b980e0b8a7e0b8a5e0b8b2e0b981e0b8a5e0b8b0e0b8a2e0b8b8e0b884e0b8aae0b8a...Unit1 e0b980e0b8a7e0b8a5e0b8b2e0b981e0b8a5e0b8b0e0b8a2e0b8b8e0b884e0b8aae0b8a...
Unit1 e0b980e0b8a7e0b8a5e0b8b2e0b981e0b8a5e0b8b0e0b8a2e0b8b8e0b884e0b8aae0b8a...
 
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
 
ภูมิศาสตร์กายภาพประเทศไทย
ภูมิศาสตร์กายภาพประเทศไทยภูมิศาสตร์กายภาพประเทศไทย
ภูมิศาสตร์กายภาพประเทศไทย
 

More from ธีรพงศ์ อ่อนอก

แผ่นผับเที่ยวบุรีรัมย์_new2.pdf
แผ่นผับเที่ยวบุรีรัมย์_new2.pdfแผ่นผับเที่ยวบุรีรัมย์_new2.pdf
แผ่นผับเที่ยวบุรีรัมย์_new2.pdf
ธีรพงศ์ อ่อนอก
 
แบบประเมิน Scitific Inquiry and the Nature of Science 65.pdf
แบบประเมิน Scitific Inquiry and the Nature of Science 65.pdfแบบประเมิน Scitific Inquiry and the Nature of Science 65.pdf
แบบประเมิน Scitific Inquiry and the Nature of Science 65.pdf
ธีรพงศ์ อ่อนอก
 
194825214 science-tests
194825214 science-tests194825214 science-tests
การศึกษาปัญหา จักจั่น
การศึกษาปัญหา จักจั่นการศึกษาปัญหา จักจั่น
การศึกษาปัญหา จักจั่น
ธีรพงศ์ อ่อนอก
 
Water4 6 freesamples-norestriction
Water4 6 freesamples-norestrictionWater4 6 freesamples-norestriction
Water4 6 freesamples-norestriction
ธีรพงศ์ อ่อนอก
 
Anatomy of-tree
Anatomy of-treeAnatomy of-tree

More from ธีรพงศ์ อ่อนอก (9)

แผ่นผับเที่ยวบุรีรัมย์_new2.pdf
แผ่นผับเที่ยวบุรีรัมย์_new2.pdfแผ่นผับเที่ยวบุรีรัมย์_new2.pdf
แผ่นผับเที่ยวบุรีรัมย์_new2.pdf
 
แบบประเมิน Scitific Inquiry and the Nature of Science 65.pdf
แบบประเมิน Scitific Inquiry and the Nature of Science 65.pdfแบบประเมิน Scitific Inquiry and the Nature of Science 65.pdf
แบบประเมิน Scitific Inquiry and the Nature of Science 65.pdf
 
Math circle2
Math circle2Math circle2
Math circle2
 
Momentum
MomentumMomentum
Momentum
 
194825214 science-tests
194825214 science-tests194825214 science-tests
194825214 science-tests
 
57 submath
57 submath57 submath
57 submath
 
การศึกษาปัญหา จักจั่น
การศึกษาปัญหา จักจั่นการศึกษาปัญหา จักจั่น
การศึกษาปัญหา จักจั่น
 
Water4 6 freesamples-norestriction
Water4 6 freesamples-norestrictionWater4 6 freesamples-norestriction
Water4 6 freesamples-norestriction
 
Anatomy of-tree
Anatomy of-treeAnatomy of-tree
Anatomy of-tree
 

A2 thai-history