SlideShare a Scribd company logo
บทบาทตุรกีในประเทศไทย : มุมมองและข้อสังเกต
ภายหลังเหตุการณ์ที่รัฐบาลไทยส่งตัวชาวอุยกูร์จานวน 109 คน กลับไปยังจีนเมื่อวันที่ 9
กรกฎาคม 2558 และปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นตามมาคือการที่ชาวตุรกีประท้วงหน้าสถานทูตไทยคงจะทาให้เรา
หันมาสนใจประเทศตุรกีมากขึ้น โดยเฉพาะในด้านอิทธิพลของตุรกีที่แผ่เข้ามาในภูมิภาครอบบ้านเรา
และที่คาดไม่ถึงคือในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ รวมทั้งผลกระทบของอิทธิพลที่ว่านี้กับการจัดวาง
ยุทธศาสตร์ความสัมพันธ์ของเรากับจีน
บทบาทที่เด่นชัดประการหนึ่งของประเทศตุรกีภายใต้รัฐบาลพรรคยุติธรรมและการพัฒนา
(AKP) คือ การปกป้องสิทธิมนุษยชน ให้ความช่วยเหลือด้านมนุษยธรรม และเข้าไปเป็นผู้ไกล่เกลี่ย
(Third Party) ในพื้นที่ความขัดแย้งต่างๆ ซึ่งมีพื้นฐานมาจากแนวคิดของพรรคที่เน้นการขยายอิทธิพล
ออกนอกประเทศซึ่งโยงกับมโนทัศน์ที่ต้องการรื้อฟื้นสถานะและบทบาทความเป็นจ้าวผู้ปกครองของโลก
มุสลิม (คอลิฟะห์) ในอดีตตั้งแต่ยุคอาณาจักรออตโตมานกลับคืนมา ที่เรียกว่าแนวคิดแบบ Neo-
Ottoman ดังนั้นจึงไม่แปลกที่การให้ความช่วยเหลือของตุรกีนั้นจะเน้นไปยังพื้นที่ความขัดแย้งที่ไม่ใช่มี
เฉพาะชาวเติร์กแต่รวมถึงพื้นที่อื่นๆในโลกที่มีชาวมุสลิมอาศัยอยู่ด้วยเพื่อเผยแผ่อิทธิพลตุรกีให้
กว้างไกล เช่น ปาเลสไตน์ ซีเรีย มินดาเนา อาระกัน (ชาวโรฮิงญา) รวมทั้งในพื้นที่สามจังหวัดชายแดน
ภาคใต้ของไทย
นอกเหนือจากความโดดเด่นของตุรกีในเวทีโลกและโลกอิสลามแล้ว แนวทางการให้ความ
ช่วยเหลือในโลกมุสลิมของกลุ่มทุนและรัฐบาลตุรกีมีความโดดเด่นตรงที่เน้นการเข้าหาท้องถิ่นและคน
ระดับรากหญ้าโดยตรง มากกว่าการให้ความช่วยเหลือแบบรัฐต่อรัฐซึ่งในกรณีของสามจังหวัดชายแดน
ใต้ไทยคือ ไม่ผ่านรัฐบาลที่กรุงเทพ อันเป็นลักษณะตรงข้ามกับทุนอาหรับนาโดยซาอุดิอาระเบีย ซึ่งเป็น
ประเทศมุสลิมที่แข็งแกร่งอีกแห่ง ที่เน้นเข้าหารัฐบาลกลางและสนับสนุนกลุ่มชนชั้นนาในประเทศอื่นๆ
แนวทางดังกล่าวของตุรกีแสดงชัดผ่านคากล่าวของนายอะฮ์เหม็ด ดาวุดโอว์ลู (Ahmet Davutoğlu)
นายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศของตุรกี ที่แสดงความเห็นว่า เขตแดนและ
การแบ่งแยกทางการเมืองแบบรัฐชาติสมัยใหม่นั้นเป็นเพียงสิ่งสมมติที่จะนาไปสู่ความขัดแย้ง จะ
สามารถจัดการปัญหาเหล่านี้ได้เมื่อมองในองค์รวมทุกระดับ (ตั้งแต่ชุมชนท้องถิ่น จนถึงรัฐต่อรัฐ) โดยที่
สาคัญคือต้องได้รับความร่วมมือจากตัวแสดงท้องถิ่นรากหญ้าเท่านั้น1
1
อัชฮาร์ สารีมะเจ๊ะ , บทบาทของประเทศตุรกีในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ . สไลด์ประกอบการนาเสนอโครงการวิจัย ณ ห้อง
ประชุมชั้น 4 อาคารพร้อมพันธุ์ 1. จัดโดย โครงการคลังปัญญาเพื่ออภิวัฒน์ประเทศไทยในยุคบูรพาภิวัตน์. วันที่ 13 กรกฎาคม 2558.
1. แนวคิด Neo-Ottoman
แนวคิดนี้เริ่มจากว่าในสมัยที่ตุรกียังเป็นอาณาจักรออตโตมานเมื่อราวศตวรรษที่แล้ว มี
ผู้ปกครองคือกาหลิบ หรือ คอลิฟะห์ ซึ่งเป็นตาแหน่งของผู้ปกครองโลกมุสลิมทั้งมวล มีเพียงหนึ่งเดียว
และอยู่ที่ออตโตมาน กาหลิบแห่งออตโตมานจึงเป็นผู้ดูแลมุสลิมทั้งมวลไม่ว่าจะอยู่ที่ใด เมื่อพรรค AKP
เข้ามาบริหารประเทศเมื่อราวทศวรรษที่แล้ว และได้รื้อฟื้นอุดมการณ์แห่งกาหลิบแห่งออตโตมานกลับมา
อีกครั้ง กล่าวคือมองภาพตุรกีว่าควรยกสถานะตนเองกลับมาเป็นศูนย์กลางแห่งโลกมุสลิมอีกครั้ง จึงถือ
เป็นจุดเปลี่ยนสาคัญของนโยบายต่างประเทศตุรกี กล่าวคือนโยบายการต่างประเทศตุรกีหันออกสู่
ภายนอกมากขึ้น โดยเน้นบทบาทผู้ช่วยเหลือไม่เฉพาะคนเชื้อสายเติร์กในที่ต่างๆนอกตุรกี แต่รวมถึง
เข้าไปมีส่วนร่วมกับปัญหาและการแก้ไขปัญหาในพื้นที่ที่มีชาวมุสลิมอยู่ด้วย
การต่างประเทศเชิงรุกในลักษณะการให้ความช่วยเหลือของประเทศตุรกี (ในยุคพรรค AKP)
อาจแบ่งได้เป็นสองส่วนคือ บทบาทของตุรกีในโลกอิสลามกับบทบาทของตุรกีในสามจังหวัดชายแดน
ภาคใต้ของไทย
2. บทบาทตุรกีในโลกอิสลาม
จากการกลับมารื้อฟื้นวาทกรรมการเป็นคอลิฟะห์แห่งโลกมุสลิมของรัฐบาลตุรกียุคพรรค AKP นี้
ทาให้ตุรกีในทศวรรษที่ผ่านมาแสดงบทบาทอย่างมากในเวทีระหว่างประเทศ เช่นกรณีตัวอย่างดังนี้
2.1 กรณีอียิปต์
เมื่อพรรคยุติธรรมและเสรีภาพที่ตั้งขึ้นโดยกลุ่มภราดรภาพมุสลิม (Muslim Brotherhood) ซึ่ง
เป็นกลุ่มการเมืองแนวอิสลามนิยมที่มีอิทธิพลมายาวนานในอียิปต์ชนะการเลือกตั้งทั่วไปอย่างถล่มทลาย
หลังการสิ้นสุดระบอบมูบารักไปเมื่อปี 2011 นายเออร์โดกันก็ได้ประกาศสนับสนุนอย่างเต็มที่ และเมื่อ
นายโมฮัมเหม็ด มอร์ซี ประธานาธิบดีของพรรคดังกล่าวถูกประชาชนลุกฮือขับไล่จนทาให้กองทัพอียิปต์
อ้างเอาเป็นเหตุเข้ายึดอานาจ นายเออร์โดกันก็ได้ประกาศให้ที่พักพิงแก่นายมอร์ซี
2.2 กรณีปาเลสไตน์
ตุรกีภายใต้พรรคแนวอิสลามนิยมของนายเออร์โดกันนั้นชัดเจนในภารกิจด้านมนุษยธรรมและ
การระหว่างประเทศภายในโลกมุสลิม เช่น ในปี 2012 ที่มีการปะทะกันระหว่างอิสราเอลกับปาเลสไตน์
เออร์โดกันแห่งตุรกีและมอร์ซีแห่งอียิปต์มีบทบาทอย่างสูงในการเจรจาไกล่เกลี่ยยุติการต่อสู้ นอกจากนี้
ในปี 2010 ตุรกีส่งเรือเดินทะเลขนาดใหญ่ขนความช่วยเหลือไปให้แก่ปาเลสไตน์ (แต่ก็ถูกสกัดโดยกอง
กาลังอิสราเอล) ขณะที่ในปี 2014 ในการปะทะกันอีกครั้งหนึ่งระหว่างอิสราเอลกับปาเลสไตน์ ตุรกีก็ส่ง
เครื่องบินไปรับผู้บาดเจ็บชาวปาเลสไตน์เพื่อมารักษาในโรงพยาบาลในตุรกี
ภาพที่ 1 เรือเดินทะเลที่ตุรกีส่งความช่วยเหลือแก่ปาเลสไตน์ เมื่อปี 2010
ที่มา http://www.globalresearch.ca/freedom-flotilla-iii-sets-sail-toward-gaza-
carrying-medical-supplies-and-solar-panels/5450727
ภาพที่ 2 ตุรกีส่งเครื่องบินไปรับผู้บาดเจ็บชาวปาเลสไตน์มารักษาที่ตุรกี เมื่อปี 2014
ที่มา http://www.jewishjournal.com/opinion/article
2.2 กรณีซีเรีย
นอกจากรัฐบาลเออร์โดกันแห่งตุรกีจะสนับสนุนกลุ่มกบฏต่อต้านระบอบอัสซาดในซีเรียแล้ว ยัง
เป็นศูนย์กลางสาคัญสาหรับเป็นพื้นที่กลางให้นักกิจกรรมทั่วโลกที่ต้องการส่งความช่วยเหลือไปยังซีเรีย
และปาเลสไตน์ ขณะเดียวกันบริเวณชายแดนตุรกีเองก็เป็นที่ตั้งของศูนย์พักพิงใหญ่แก่ผู้อพยพจากซีเรีย
จานวนราว 1.9 ล้านคน (ตัวเลขในขณะนั้นจาก UNHCR2
)
ภาพที่ 3 ค่ายผู้อพยพขนาดใหญ่จากซีเรียในชายแดนฝั่งประเทศตุรกี
ที่มา https://chaurahha.wordpress.com/2013/03/22/917/ (ซ้าย)
http://www.enduringamerica.com/home/2011/6/19/syria-libya-and-beyond-
liveblog-in-the-camps.html (ขวา)
2.3 กรณีมินดาเนา
ตุรกีเป็นหนึ่งในคณะกรรมการผู้ไกล่เกลี่ยความขัดแย้งกรณีมินดาเนาที่มีมาเลเซียเป็นตัวหลัก
ระหว่างแนวร่วมปลดปล่อยอิสลามโมโร (MILF) กับรัฐบาลมะนิลา มีบทบาทอานวยความสะดวกการจัด
เวทีเจรจาและประกาศสนับสนุนข้อตกลงสันติภาพระหว่างคู่ขัดแย้งทั้งสองที่ได้ลงนามกันในปี 2014 ที่
กรุงมะนิลา3
2
UNHCR. 2015 UNHCR country operations profile – Turkey. ออนไลน์ : http://www.unhcr.org/pages
/49e48e0fa7f.html
3
The Guardian. Philippines signs long-awaited peace deal with Muslim rebels. ออนไลน์ :
http://www.theguardian.com/world/2014/mar/27/philippines-muslim-rebel-peace-deal-aquino-milf
ภาพที่ 4 นายอะห์เหม็ด ดาวุดโอว์ลู (นั่ง) นายกรัฐมนตรีตุรกีเดินทางมาพบปะกับประธานาธิบดีเบนิกโน
อาควีโนที่กรุงมะนิลา เมื่อเดือนพฤศจิกายน ปี 2014 เพื่อประกาศสนับสนุน ข้อตกลงสันติภาพ
มะนิลา ที่ลงนามได้สาเร็จในเดือนมีนาคมปีเดียวกันระหว่างขบวนการ MILF กับรัฐบาลฟิลิปปินส์
ที่มา http://www.philstar.com/headlines/2014/11/18/1393006/turkey-support
-mindanao- peace-process
ในปี 2012 ตุรกีเป็นประเทศผู้บริจาคเพื่อช่วยเหลือทางมนุษยธรรมรายใหญ่ที่สุดแก่ผู้ได้รับ
ผลกระทบชาวซีเรีย และรัฐบาลตุรกีเป็นรัฐบาลผู้บริจาคให้ความช่วยเหลือทางมนุษยธรรมอย่างเป็น
ทางการรายใหญ่ที่สุดอันดับสามของโลกในปี 2013 และมากที่สุดเป็นอันดับหกของโลกในทศวรรษที่
ผ่านมา โดยบริจาคเงินจานวน 1.6 พันล้านดอลลาร์สหรัฐสาหรับโครงการช่วยเหลือทางมนุษยธรรม
ต่างๆ4
ส่วนรูปแบบหรือช่องทางการส่งความช่วยเหลือของตุรกีนั้น มีสองรูปแบบคือในรูปของการให้
ความช่วยเหลือโดยตรงจากรัฐบาลตุรกี ผ่านหน่วยงานที่เรียกว่า TIKA สังกัดกระทรวงการต่างประเทศ
ตุรกี และผ่านองค์กรพัฒนาเอกชน (NGOs) หลักในประเทศตุรกี ที่สาคัญคือ องค์กร IHH (หรือชื่อใน
ภาษาอังกฤษคือ Humanitarian Relief foundation)
4
Key Facts. ออนไลน์ : http://www.globalhumanitarianassistance.org/countryprofile/turkey
ภาพที่ 5 องค์กร TIKA ภาพที่ 6 องค์กร IHH
ที่มา http://www.tika.gov.tr/en ที่มา http://www.ihh.org.tr/en
โดยสรุปแล้ว สิ่งเหล่านี้คือการที่ตุรกีพยายามส่งสัญญาณว่าตนมีศักยภาพในการสร้างสันติภาพ
สูง จึงเข้าไปเล่นบทบาทผู้ไกล่เกลี่ยและหันมาให้ความสนใจประเด็นปัญหาในพื้นที่ความขัดแย้งต่างๆ
เช่นที่กล่าวมา
3. บทบาทตุรกีในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้
ในบริบทของสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ ตุรกีเพิ่งเข้ามามีบทบาทไม่นานราวทศวรรษที่ผ่านมา
การเข้ามานี้มีทั้งการให้ความช่วยเหลือโดยตรงจากรัฐบาลและผ่านองค์กรพัฒนาเอกชนที่สาคัญของ
ประเทศตุรกี เช่น IHH ความช่วยเหลือจากประเทศตุรกีในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้สามารถแบ่ง
ออกเป็นสามกิจกรรมหลัก คือ
ด้านการศึกษา
- เช่น มีการเข้ามาสร้างโรงเรียนเพื่อเด็กด้อยโอกาสของกลุ่มทุนตุรกีที่อาเภอยะหริ่ง จ.
ปัตตานี เป็นต้น
ด้านการช่วยเหลือเด็กกาพร้า
- เช่น รัฐบาลตุรกีมอบทุนการศึกษาให้ไปศึกษาต่อที่ประเทศตุรกีและปัจจัยยังชีพแก่เด็ก
กาพร้าในพื้นที่สามจังหวัด
ด้านกิจกรรมเดือนเราะมะฎอน
- จัดงานเลี้ยงละศีลอด มอบอาหารและเนื้อกุรบาน เป็นต้น
4. ข้อสังเกตของการช่วยเหลือของตุรกีคือได้รับเสียงตอบรับที่ดีจากคนในพื้นที่ เนื่องจาก
- ประการแรก ตุรกีและสามจังหวัดชายแดนใต้เป็นนิกายอิสลามสายเดียวกัน คือ ชาฟีอี
- ประการที่สอง คนสามจังหวัดยังรับรู้ถึงกลิ่นอายของความเป็นออตโตมาน ในบริบทที่
เคยเป็นจ้าวแห่งโลกมุสลิมซึ่งเป็นสิ่งที่สืบทอดมาสู่ตุรกีในยุคปัจจุบัน ในทางประวัติศาสตร์
หากย้อนไปเพียงราวร้อยปีสมัยรัชกาลที่ 6 ก่อนที่สยามจะรวมศูนย์สร้างรัฐชาติสมัยใหม่
ได้เต็มที่ ทั้งราชอาณาจักรสยามและราชอาณาจักรปาตานีต่างก็ดาเนินความสัมพันธ์ของ
ตนกับอาณาจักรออตโตมานในขณะนั้น อีกนัยหนึ่งคือ สามจังหวัดชายแดนใต้เมื่อร้อยปี
ก่อนก็ดาเนินความสัมพันธ์กับออตโตมาน (ตุรกีในปัจจุบัน) เองอยู่แล้วโดยไม่ผ่าน
กรุงเทพ
- ประการที่สาม เมื่อตุรกีให้ความช่วยเหลือใคร เขาจะเข้ามาเองและเข้าถึงท้องถิ่น
โดยตรง กล่าวคือ ส่งความช่วยเหลือถึงมือผู้รับที่เขาต้องการให้ โดยไม่ทาผ่านตัวกลาง
หรือตัวแทนแบบรัฐต่อรัฐ ในกรณีสามจังหวัดชายแดนใต้ก็คือตุรกีได้ส่งผู้แทนรัฐบาลเข้า
มาให้ความช่วยเหลือชาวบ้านในชุมชนและโรงเรียนปอเนาะในพื้นที่ หรืออีกกรณีคือทา
โดยองค์กรพัฒนาเอกชน ซึ่งที่โดดเด่นคือ มูลนิธิเพื่อสิทธิมนุษยชน เสรีภาพและการ
ช่วยเหลือทางด้านมนุษยธรรม หรือ อีฮาฮา (IHH) ซึ่งเป็นองค์กรพัฒนาเอกชนฝ่ายรัฐบาล
ซึ่งลักษณะการเข้ามาเองและเข้าถึงชุมชนรากหญ้านี้ต่างจากการให้ความช่วยเหลือของ
ทุนอาหรับดังที่กล่าวไป ตุรกีมิได้ดาเนินการทูตลักษณะนี้แต่เฉพาะในสามจังหวัดแต่ใน
ครั้งช่วยเหลือชาวโรฮิงญาในรัฐอาระกัน ประเทศเมียนมาร์ ตุรกีก็ได้ย้าแนวทางการทูต
แบบ “เตอร์กิชสไตล์” โดยนายดาวุดโอว์ลู นายกรัฐมนตรีตุรกีคนปัจจุบัน ขณะที่ยังเป็น
รัฐมนตรีต่างประเทศได้เดินทางไปเยี่ยมชนกลุ่มน้อยมุสลิมชาวโรฮิงญาถึงในรัฐอาระกัน
เมื่อปี 2012 ซึ่งเป็นสิ่งที่สร้างความตื่นเต้นในหมู่ชาวมุสลิมเป็นอย่างมากที่ตุรกีส่ง
เจ้าหน้าที่ระดับสูงลงมาเองถึงท้องถิ่น ขณะที่ในเวลาเดียวกันนั้นประเทศมุสลิมอื่น เช่น
ซาอุดิอาระเบีย ก็ให้ความช่วยเหลือเมียนมาร์แต่ส่งเป็นเงินหรือสิ่งของบริจาคผ่านลงมา
ทางรัฐบาลเมียนมาร์
ภาพที่ 7 นายดาวุดโอว์ลู รัฐมนตรีต่างประเทศตุรกีขณะนั้น
เดินทางเยี่ยมชาวโรฮิงญาในรัฐอาระกัน เมื่อปี 2012
ที่มา http://www.hurriyetdailynews.com/foreign-minister-davutoglu
-visits-myanmars-muslim-minority-inarakan.aspx?pageID=238&nid=58019
โดยสรุป จากตัวอย่างกิจกรรมอันเป็นรูปธรรมของตุรกีที่เลือกเจาะลงไปยังกลุ่มรากหญ้าใน
พื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้ที่กล่าวไป ร่วมกับการมีผลงานอันเป็นที่ประจักษ์ในการทางานในพื้นที่
ขัดแย้งในภูมิภาคอื่นๆ ของโลกโดยเฉพาะในภูมิภาคตะวันออกกลาง ทาให้ตุรกีเป็นหนึ่งในประเทศ
มุสลิมที่มีบทบาทสูงในการเมืองโลกปัจจุบัน (อันสอดคล้องกับแนวคิดบูรพาภิวัตน์) และโดยเฉพาะอย่าง
ยิ่งอยู่ในสถานะชาติมหาอานาจในโลกมุสลิม ทาให้ความคาดหวังต่อบทบาทของตุรกีในการแก้ไขปัญหา
ความขัดแย้งและสนับสนุนการพัฒนาในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้มีมากขึ้นและได้รับความนิยม
ชมชอบโดยเฉพาะในหมู่คนรุ่นใหม่ มากกว่ามหาอานาจมุสลิมอีกชาติอย่างซาอุดิอาระเบีย
บทบาทตุรกีในประเทศไทย : มุมมองและข้อสังเกต

More Related Content

Viewers also liked

กลุ่มISIS (The Islamic State in Iraq and al-Sham)
กลุ่มISIS (The Islamic State in Iraq and al-Sham) กลุ่มISIS (The Islamic State in Iraq and al-Sham)
กลุ่มISIS (The Islamic State in Iraq and al-Sham)
Klangpanya
 
The Turkish Genocide of the Armenians 1915
The Turkish Genocide of the Armenians 1915The Turkish Genocide of the Armenians 1915
The Turkish Genocide of the Armenians 1915
Peter Hammond
 
Armenian genocide
Armenian genocide Armenian genocide
Armenian genocide
Mercedes Foligna
 
The armenian-genocide
The armenian-genocideThe armenian-genocide
The armenian-genocide
Arusyak Ivanyan
 
EU Enlargement and Turkey’s Application for Membership v3
EU Enlargement and Turkey’s Application for Membership v3EU Enlargement and Turkey’s Application for Membership v3
EU Enlargement and Turkey’s Application for Membership v3David Bucur
 
The Armenian Genocide
The Armenian GenocideThe Armenian Genocide
The Armenian Genocide
guest0db4d65
 
Gender issues in educational administration
Gender issues in educational administration Gender issues in educational administration
Gender issues in educational administration Muhammad Rehman
 
Muslim Pioneers in Management
Muslim Pioneers in ManagementMuslim Pioneers in Management
Muslim Pioneers in Management
Yaser AlHindi
 
The Armenian Genocide
The  Armenian GenocideThe  Armenian Genocide
The Armenian Genocide
SmartyGuy
 
The armenian genocide
The armenian genocideThe armenian genocide
The armenian genocideIsrael Fans
 
Turkey & European Union
Turkey & European UnionTurkey & European Union
Turkey & European Union
ymb
 
From Turkey - The European Union
From Turkey -  The European UnionFrom Turkey -  The European Union
From Turkey - The European UnionFilipe
 
Visa policy
Visa policyVisa policy
Visa policy
Tanju Ayse Oflaz
 
System of Government under the Holy Prophet Muhammad (PBUH) by Syed Abul A'al...
System of Government under the Holy Prophet Muhammad (PBUH) by Syed Abul A'al...System of Government under the Holy Prophet Muhammad (PBUH) by Syed Abul A'al...
System of Government under the Holy Prophet Muhammad (PBUH) by Syed Abul A'al...
Muhammad Nabeel Musharraf
 
Islamic perspectives in administration and human relation (
Islamic perspectives in administration and human relation (Islamic perspectives in administration and human relation (
Islamic perspectives in administration and human relation (Zuza Zakaria
 
THE ROLE OF CYPRUS CONFLICT IN TURKEY’S EUROPEAN UNION MEMBERSHİP NEGOTIATION...
THE ROLE OF CYPRUS CONFLICT IN TURKEY’S EUROPEAN UNION MEMBERSHİP NEGOTIATION...THE ROLE OF CYPRUS CONFLICT IN TURKEY’S EUROPEAN UNION MEMBERSHİP NEGOTIATION...
THE ROLE OF CYPRUS CONFLICT IN TURKEY’S EUROPEAN UNION MEMBERSHİP NEGOTIATION...İzmir University of Economics
 
State Policy Of Prophet Muhammad (Sm.)
State Policy Of Prophet Muhammad (Sm.)State Policy Of Prophet Muhammad (Sm.)
State Policy Of Prophet Muhammad (Sm.)
sanjida2222
 
Research in_public_administration_-an_islamic_perspective
 Research in_public_administration_-an_islamic_perspective Research in_public_administration_-an_islamic_perspective
Research in_public_administration_-an_islamic_perspectiveNurshap Syafiqa
 

Viewers also liked (18)

กลุ่มISIS (The Islamic State in Iraq and al-Sham)
กลุ่มISIS (The Islamic State in Iraq and al-Sham) กลุ่มISIS (The Islamic State in Iraq and al-Sham)
กลุ่มISIS (The Islamic State in Iraq and al-Sham)
 
The Turkish Genocide of the Armenians 1915
The Turkish Genocide of the Armenians 1915The Turkish Genocide of the Armenians 1915
The Turkish Genocide of the Armenians 1915
 
Armenian genocide
Armenian genocide Armenian genocide
Armenian genocide
 
The armenian-genocide
The armenian-genocideThe armenian-genocide
The armenian-genocide
 
EU Enlargement and Turkey’s Application for Membership v3
EU Enlargement and Turkey’s Application for Membership v3EU Enlargement and Turkey’s Application for Membership v3
EU Enlargement and Turkey’s Application for Membership v3
 
The Armenian Genocide
The Armenian GenocideThe Armenian Genocide
The Armenian Genocide
 
Gender issues in educational administration
Gender issues in educational administration Gender issues in educational administration
Gender issues in educational administration
 
Muslim Pioneers in Management
Muslim Pioneers in ManagementMuslim Pioneers in Management
Muslim Pioneers in Management
 
The Armenian Genocide
The  Armenian GenocideThe  Armenian Genocide
The Armenian Genocide
 
The armenian genocide
The armenian genocideThe armenian genocide
The armenian genocide
 
Turkey & European Union
Turkey & European UnionTurkey & European Union
Turkey & European Union
 
From Turkey - The European Union
From Turkey -  The European UnionFrom Turkey -  The European Union
From Turkey - The European Union
 
Visa policy
Visa policyVisa policy
Visa policy
 
System of Government under the Holy Prophet Muhammad (PBUH) by Syed Abul A'al...
System of Government under the Holy Prophet Muhammad (PBUH) by Syed Abul A'al...System of Government under the Holy Prophet Muhammad (PBUH) by Syed Abul A'al...
System of Government under the Holy Prophet Muhammad (PBUH) by Syed Abul A'al...
 
Islamic perspectives in administration and human relation (
Islamic perspectives in administration and human relation (Islamic perspectives in administration and human relation (
Islamic perspectives in administration and human relation (
 
THE ROLE OF CYPRUS CONFLICT IN TURKEY’S EUROPEAN UNION MEMBERSHİP NEGOTIATION...
THE ROLE OF CYPRUS CONFLICT IN TURKEY’S EUROPEAN UNION MEMBERSHİP NEGOTIATION...THE ROLE OF CYPRUS CONFLICT IN TURKEY’S EUROPEAN UNION MEMBERSHİP NEGOTIATION...
THE ROLE OF CYPRUS CONFLICT IN TURKEY’S EUROPEAN UNION MEMBERSHİP NEGOTIATION...
 
State Policy Of Prophet Muhammad (Sm.)
State Policy Of Prophet Muhammad (Sm.)State Policy Of Prophet Muhammad (Sm.)
State Policy Of Prophet Muhammad (Sm.)
 
Research in_public_administration_-an_islamic_perspective
 Research in_public_administration_-an_islamic_perspective Research in_public_administration_-an_islamic_perspective
Research in_public_administration_-an_islamic_perspective
 

More from Klangpanya

ิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทย
ิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทยิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทย
ิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทย
Klangpanya
 
การปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภค
การปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภคการปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภค
การปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภค
Klangpanya
 
ประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทย
ประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทยประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทย
ประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทย
Klangpanya
 
กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท
กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท
กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท
Klangpanya
 
ยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีน
ยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีนยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีน
ยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีน
Klangpanya
 
‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China ...
‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China...‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China...
‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China ...
Klangpanya
 
World-changing and the Thai-Chinese Relations
World-changing and the Thai-Chinese RelationsWorld-changing and the Thai-Chinese Relations
World-changing and the Thai-Chinese Relations
Klangpanya
 
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...
Klangpanya
 
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
Klangpanya
 
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...
Klangpanya
 
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีน
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีนความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีน
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีน
Klangpanya
 
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...
Klangpanya
 
Trends in Social and Environmental Responsibility Presentation
Trends in Social and Environmental Responsibility PresentationTrends in Social and Environmental Responsibility Presentation
Trends in Social and Environmental Responsibility Presentation
Klangpanya
 
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...
Klangpanya
 
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...
Klangpanya
 
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีน
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีนPelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีน
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีน
Klangpanya
 
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...
Klangpanya
 
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...
Klangpanya
 
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdf
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdfppt อ.ชัยวัฒน์.pdf
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdf
Klangpanya
 
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf
Klangpanya
 

More from Klangpanya (20)

ิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทย
ิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทยิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทย
ิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทย
 
การปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภค
การปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภคการปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภค
การปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภค
 
ประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทย
ประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทยประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทย
ประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทย
 
กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท
กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท
กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท
 
ยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีน
ยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีนยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีน
ยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีน
 
‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China ...
‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China...‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China...
‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China ...
 
World-changing and the Thai-Chinese Relations
World-changing and the Thai-Chinese RelationsWorld-changing and the Thai-Chinese Relations
World-changing and the Thai-Chinese Relations
 
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...
 
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
 
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...
 
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีน
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีนความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีน
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีน
 
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...
 
Trends in Social and Environmental Responsibility Presentation
Trends in Social and Environmental Responsibility PresentationTrends in Social and Environmental Responsibility Presentation
Trends in Social and Environmental Responsibility Presentation
 
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...
 
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...
 
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีน
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีนPelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีน
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีน
 
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...
 
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...
 
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdf
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdfppt อ.ชัยวัฒน์.pdf
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdf
 
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf
 

Recently uploaded

3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdfงานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
atwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtxatwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtx
Bangkok, Thailand
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
Prachyanun Nilsook
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 

Recently uploaded (10)

3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdfงานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
 
atwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtxatwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtx
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
 

บทบาทตุรกีในประเทศไทย : มุมมองและข้อสังเกต

  • 1.
  • 2. บทบาทตุรกีในประเทศไทย : มุมมองและข้อสังเกต ภายหลังเหตุการณ์ที่รัฐบาลไทยส่งตัวชาวอุยกูร์จานวน 109 คน กลับไปยังจีนเมื่อวันที่ 9 กรกฎาคม 2558 และปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นตามมาคือการที่ชาวตุรกีประท้วงหน้าสถานทูตไทยคงจะทาให้เรา หันมาสนใจประเทศตุรกีมากขึ้น โดยเฉพาะในด้านอิทธิพลของตุรกีที่แผ่เข้ามาในภูมิภาครอบบ้านเรา และที่คาดไม่ถึงคือในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ รวมทั้งผลกระทบของอิทธิพลที่ว่านี้กับการจัดวาง ยุทธศาสตร์ความสัมพันธ์ของเรากับจีน บทบาทที่เด่นชัดประการหนึ่งของประเทศตุรกีภายใต้รัฐบาลพรรคยุติธรรมและการพัฒนา (AKP) คือ การปกป้องสิทธิมนุษยชน ให้ความช่วยเหลือด้านมนุษยธรรม และเข้าไปเป็นผู้ไกล่เกลี่ย (Third Party) ในพื้นที่ความขัดแย้งต่างๆ ซึ่งมีพื้นฐานมาจากแนวคิดของพรรคที่เน้นการขยายอิทธิพล ออกนอกประเทศซึ่งโยงกับมโนทัศน์ที่ต้องการรื้อฟื้นสถานะและบทบาทความเป็นจ้าวผู้ปกครองของโลก มุสลิม (คอลิฟะห์) ในอดีตตั้งแต่ยุคอาณาจักรออตโตมานกลับคืนมา ที่เรียกว่าแนวคิดแบบ Neo- Ottoman ดังนั้นจึงไม่แปลกที่การให้ความช่วยเหลือของตุรกีนั้นจะเน้นไปยังพื้นที่ความขัดแย้งที่ไม่ใช่มี เฉพาะชาวเติร์กแต่รวมถึงพื้นที่อื่นๆในโลกที่มีชาวมุสลิมอาศัยอยู่ด้วยเพื่อเผยแผ่อิทธิพลตุรกีให้ กว้างไกล เช่น ปาเลสไตน์ ซีเรีย มินดาเนา อาระกัน (ชาวโรฮิงญา) รวมทั้งในพื้นที่สามจังหวัดชายแดน ภาคใต้ของไทย นอกเหนือจากความโดดเด่นของตุรกีในเวทีโลกและโลกอิสลามแล้ว แนวทางการให้ความ ช่วยเหลือในโลกมุสลิมของกลุ่มทุนและรัฐบาลตุรกีมีความโดดเด่นตรงที่เน้นการเข้าหาท้องถิ่นและคน ระดับรากหญ้าโดยตรง มากกว่าการให้ความช่วยเหลือแบบรัฐต่อรัฐซึ่งในกรณีของสามจังหวัดชายแดน ใต้ไทยคือ ไม่ผ่านรัฐบาลที่กรุงเทพ อันเป็นลักษณะตรงข้ามกับทุนอาหรับนาโดยซาอุดิอาระเบีย ซึ่งเป็น ประเทศมุสลิมที่แข็งแกร่งอีกแห่ง ที่เน้นเข้าหารัฐบาลกลางและสนับสนุนกลุ่มชนชั้นนาในประเทศอื่นๆ แนวทางดังกล่าวของตุรกีแสดงชัดผ่านคากล่าวของนายอะฮ์เหม็ด ดาวุดโอว์ลู (Ahmet Davutoğlu) นายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศของตุรกี ที่แสดงความเห็นว่า เขตแดนและ การแบ่งแยกทางการเมืองแบบรัฐชาติสมัยใหม่นั้นเป็นเพียงสิ่งสมมติที่จะนาไปสู่ความขัดแย้ง จะ สามารถจัดการปัญหาเหล่านี้ได้เมื่อมองในองค์รวมทุกระดับ (ตั้งแต่ชุมชนท้องถิ่น จนถึงรัฐต่อรัฐ) โดยที่ สาคัญคือต้องได้รับความร่วมมือจากตัวแสดงท้องถิ่นรากหญ้าเท่านั้น1 1 อัชฮาร์ สารีมะเจ๊ะ , บทบาทของประเทศตุรกีในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ . สไลด์ประกอบการนาเสนอโครงการวิจัย ณ ห้อง ประชุมชั้น 4 อาคารพร้อมพันธุ์ 1. จัดโดย โครงการคลังปัญญาเพื่ออภิวัฒน์ประเทศไทยในยุคบูรพาภิวัตน์. วันที่ 13 กรกฎาคม 2558.
  • 3. 1. แนวคิด Neo-Ottoman แนวคิดนี้เริ่มจากว่าในสมัยที่ตุรกียังเป็นอาณาจักรออตโตมานเมื่อราวศตวรรษที่แล้ว มี ผู้ปกครองคือกาหลิบ หรือ คอลิฟะห์ ซึ่งเป็นตาแหน่งของผู้ปกครองโลกมุสลิมทั้งมวล มีเพียงหนึ่งเดียว และอยู่ที่ออตโตมาน กาหลิบแห่งออตโตมานจึงเป็นผู้ดูแลมุสลิมทั้งมวลไม่ว่าจะอยู่ที่ใด เมื่อพรรค AKP เข้ามาบริหารประเทศเมื่อราวทศวรรษที่แล้ว และได้รื้อฟื้นอุดมการณ์แห่งกาหลิบแห่งออตโตมานกลับมา อีกครั้ง กล่าวคือมองภาพตุรกีว่าควรยกสถานะตนเองกลับมาเป็นศูนย์กลางแห่งโลกมุสลิมอีกครั้ง จึงถือ เป็นจุดเปลี่ยนสาคัญของนโยบายต่างประเทศตุรกี กล่าวคือนโยบายการต่างประเทศตุรกีหันออกสู่ ภายนอกมากขึ้น โดยเน้นบทบาทผู้ช่วยเหลือไม่เฉพาะคนเชื้อสายเติร์กในที่ต่างๆนอกตุรกี แต่รวมถึง เข้าไปมีส่วนร่วมกับปัญหาและการแก้ไขปัญหาในพื้นที่ที่มีชาวมุสลิมอยู่ด้วย การต่างประเทศเชิงรุกในลักษณะการให้ความช่วยเหลือของประเทศตุรกี (ในยุคพรรค AKP) อาจแบ่งได้เป็นสองส่วนคือ บทบาทของตุรกีในโลกอิสลามกับบทบาทของตุรกีในสามจังหวัดชายแดน ภาคใต้ของไทย 2. บทบาทตุรกีในโลกอิสลาม จากการกลับมารื้อฟื้นวาทกรรมการเป็นคอลิฟะห์แห่งโลกมุสลิมของรัฐบาลตุรกียุคพรรค AKP นี้ ทาให้ตุรกีในทศวรรษที่ผ่านมาแสดงบทบาทอย่างมากในเวทีระหว่างประเทศ เช่นกรณีตัวอย่างดังนี้ 2.1 กรณีอียิปต์ เมื่อพรรคยุติธรรมและเสรีภาพที่ตั้งขึ้นโดยกลุ่มภราดรภาพมุสลิม (Muslim Brotherhood) ซึ่ง เป็นกลุ่มการเมืองแนวอิสลามนิยมที่มีอิทธิพลมายาวนานในอียิปต์ชนะการเลือกตั้งทั่วไปอย่างถล่มทลาย หลังการสิ้นสุดระบอบมูบารักไปเมื่อปี 2011 นายเออร์โดกันก็ได้ประกาศสนับสนุนอย่างเต็มที่ และเมื่อ นายโมฮัมเหม็ด มอร์ซี ประธานาธิบดีของพรรคดังกล่าวถูกประชาชนลุกฮือขับไล่จนทาให้กองทัพอียิปต์ อ้างเอาเป็นเหตุเข้ายึดอานาจ นายเออร์โดกันก็ได้ประกาศให้ที่พักพิงแก่นายมอร์ซี 2.2 กรณีปาเลสไตน์ ตุรกีภายใต้พรรคแนวอิสลามนิยมของนายเออร์โดกันนั้นชัดเจนในภารกิจด้านมนุษยธรรมและ การระหว่างประเทศภายในโลกมุสลิม เช่น ในปี 2012 ที่มีการปะทะกันระหว่างอิสราเอลกับปาเลสไตน์ เออร์โดกันแห่งตุรกีและมอร์ซีแห่งอียิปต์มีบทบาทอย่างสูงในการเจรจาไกล่เกลี่ยยุติการต่อสู้ นอกจากนี้ ในปี 2010 ตุรกีส่งเรือเดินทะเลขนาดใหญ่ขนความช่วยเหลือไปให้แก่ปาเลสไตน์ (แต่ก็ถูกสกัดโดยกอง กาลังอิสราเอล) ขณะที่ในปี 2014 ในการปะทะกันอีกครั้งหนึ่งระหว่างอิสราเอลกับปาเลสไตน์ ตุรกีก็ส่ง เครื่องบินไปรับผู้บาดเจ็บชาวปาเลสไตน์เพื่อมารักษาในโรงพยาบาลในตุรกี
  • 4. ภาพที่ 1 เรือเดินทะเลที่ตุรกีส่งความช่วยเหลือแก่ปาเลสไตน์ เมื่อปี 2010 ที่มา http://www.globalresearch.ca/freedom-flotilla-iii-sets-sail-toward-gaza- carrying-medical-supplies-and-solar-panels/5450727 ภาพที่ 2 ตุรกีส่งเครื่องบินไปรับผู้บาดเจ็บชาวปาเลสไตน์มารักษาที่ตุรกี เมื่อปี 2014 ที่มา http://www.jewishjournal.com/opinion/article
  • 5. 2.2 กรณีซีเรีย นอกจากรัฐบาลเออร์โดกันแห่งตุรกีจะสนับสนุนกลุ่มกบฏต่อต้านระบอบอัสซาดในซีเรียแล้ว ยัง เป็นศูนย์กลางสาคัญสาหรับเป็นพื้นที่กลางให้นักกิจกรรมทั่วโลกที่ต้องการส่งความช่วยเหลือไปยังซีเรีย และปาเลสไตน์ ขณะเดียวกันบริเวณชายแดนตุรกีเองก็เป็นที่ตั้งของศูนย์พักพิงใหญ่แก่ผู้อพยพจากซีเรีย จานวนราว 1.9 ล้านคน (ตัวเลขในขณะนั้นจาก UNHCR2 ) ภาพที่ 3 ค่ายผู้อพยพขนาดใหญ่จากซีเรียในชายแดนฝั่งประเทศตุรกี ที่มา https://chaurahha.wordpress.com/2013/03/22/917/ (ซ้าย) http://www.enduringamerica.com/home/2011/6/19/syria-libya-and-beyond- liveblog-in-the-camps.html (ขวา) 2.3 กรณีมินดาเนา ตุรกีเป็นหนึ่งในคณะกรรมการผู้ไกล่เกลี่ยความขัดแย้งกรณีมินดาเนาที่มีมาเลเซียเป็นตัวหลัก ระหว่างแนวร่วมปลดปล่อยอิสลามโมโร (MILF) กับรัฐบาลมะนิลา มีบทบาทอานวยความสะดวกการจัด เวทีเจรจาและประกาศสนับสนุนข้อตกลงสันติภาพระหว่างคู่ขัดแย้งทั้งสองที่ได้ลงนามกันในปี 2014 ที่ กรุงมะนิลา3 2 UNHCR. 2015 UNHCR country operations profile – Turkey. ออนไลน์ : http://www.unhcr.org/pages /49e48e0fa7f.html 3 The Guardian. Philippines signs long-awaited peace deal with Muslim rebels. ออนไลน์ : http://www.theguardian.com/world/2014/mar/27/philippines-muslim-rebel-peace-deal-aquino-milf
  • 6. ภาพที่ 4 นายอะห์เหม็ด ดาวุดโอว์ลู (นั่ง) นายกรัฐมนตรีตุรกีเดินทางมาพบปะกับประธานาธิบดีเบนิกโน อาควีโนที่กรุงมะนิลา เมื่อเดือนพฤศจิกายน ปี 2014 เพื่อประกาศสนับสนุน ข้อตกลงสันติภาพ มะนิลา ที่ลงนามได้สาเร็จในเดือนมีนาคมปีเดียวกันระหว่างขบวนการ MILF กับรัฐบาลฟิลิปปินส์ ที่มา http://www.philstar.com/headlines/2014/11/18/1393006/turkey-support -mindanao- peace-process ในปี 2012 ตุรกีเป็นประเทศผู้บริจาคเพื่อช่วยเหลือทางมนุษยธรรมรายใหญ่ที่สุดแก่ผู้ได้รับ ผลกระทบชาวซีเรีย และรัฐบาลตุรกีเป็นรัฐบาลผู้บริจาคให้ความช่วยเหลือทางมนุษยธรรมอย่างเป็น ทางการรายใหญ่ที่สุดอันดับสามของโลกในปี 2013 และมากที่สุดเป็นอันดับหกของโลกในทศวรรษที่ ผ่านมา โดยบริจาคเงินจานวน 1.6 พันล้านดอลลาร์สหรัฐสาหรับโครงการช่วยเหลือทางมนุษยธรรม ต่างๆ4 ส่วนรูปแบบหรือช่องทางการส่งความช่วยเหลือของตุรกีนั้น มีสองรูปแบบคือในรูปของการให้ ความช่วยเหลือโดยตรงจากรัฐบาลตุรกี ผ่านหน่วยงานที่เรียกว่า TIKA สังกัดกระทรวงการต่างประเทศ ตุรกี และผ่านองค์กรพัฒนาเอกชน (NGOs) หลักในประเทศตุรกี ที่สาคัญคือ องค์กร IHH (หรือชื่อใน ภาษาอังกฤษคือ Humanitarian Relief foundation) 4 Key Facts. ออนไลน์ : http://www.globalhumanitarianassistance.org/countryprofile/turkey
  • 7. ภาพที่ 5 องค์กร TIKA ภาพที่ 6 องค์กร IHH ที่มา http://www.tika.gov.tr/en ที่มา http://www.ihh.org.tr/en โดยสรุปแล้ว สิ่งเหล่านี้คือการที่ตุรกีพยายามส่งสัญญาณว่าตนมีศักยภาพในการสร้างสันติภาพ สูง จึงเข้าไปเล่นบทบาทผู้ไกล่เกลี่ยและหันมาให้ความสนใจประเด็นปัญหาในพื้นที่ความขัดแย้งต่างๆ เช่นที่กล่าวมา 3. บทบาทตุรกีในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ ในบริบทของสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ ตุรกีเพิ่งเข้ามามีบทบาทไม่นานราวทศวรรษที่ผ่านมา การเข้ามานี้มีทั้งการให้ความช่วยเหลือโดยตรงจากรัฐบาลและผ่านองค์กรพัฒนาเอกชนที่สาคัญของ ประเทศตุรกี เช่น IHH ความช่วยเหลือจากประเทศตุรกีในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้สามารถแบ่ง ออกเป็นสามกิจกรรมหลัก คือ ด้านการศึกษา - เช่น มีการเข้ามาสร้างโรงเรียนเพื่อเด็กด้อยโอกาสของกลุ่มทุนตุรกีที่อาเภอยะหริ่ง จ. ปัตตานี เป็นต้น ด้านการช่วยเหลือเด็กกาพร้า - เช่น รัฐบาลตุรกีมอบทุนการศึกษาให้ไปศึกษาต่อที่ประเทศตุรกีและปัจจัยยังชีพแก่เด็ก กาพร้าในพื้นที่สามจังหวัด ด้านกิจกรรมเดือนเราะมะฎอน - จัดงานเลี้ยงละศีลอด มอบอาหารและเนื้อกุรบาน เป็นต้น
  • 8. 4. ข้อสังเกตของการช่วยเหลือของตุรกีคือได้รับเสียงตอบรับที่ดีจากคนในพื้นที่ เนื่องจาก - ประการแรก ตุรกีและสามจังหวัดชายแดนใต้เป็นนิกายอิสลามสายเดียวกัน คือ ชาฟีอี - ประการที่สอง คนสามจังหวัดยังรับรู้ถึงกลิ่นอายของความเป็นออตโตมาน ในบริบทที่ เคยเป็นจ้าวแห่งโลกมุสลิมซึ่งเป็นสิ่งที่สืบทอดมาสู่ตุรกีในยุคปัจจุบัน ในทางประวัติศาสตร์ หากย้อนไปเพียงราวร้อยปีสมัยรัชกาลที่ 6 ก่อนที่สยามจะรวมศูนย์สร้างรัฐชาติสมัยใหม่ ได้เต็มที่ ทั้งราชอาณาจักรสยามและราชอาณาจักรปาตานีต่างก็ดาเนินความสัมพันธ์ของ ตนกับอาณาจักรออตโตมานในขณะนั้น อีกนัยหนึ่งคือ สามจังหวัดชายแดนใต้เมื่อร้อยปี ก่อนก็ดาเนินความสัมพันธ์กับออตโตมาน (ตุรกีในปัจจุบัน) เองอยู่แล้วโดยไม่ผ่าน กรุงเทพ - ประการที่สาม เมื่อตุรกีให้ความช่วยเหลือใคร เขาจะเข้ามาเองและเข้าถึงท้องถิ่น โดยตรง กล่าวคือ ส่งความช่วยเหลือถึงมือผู้รับที่เขาต้องการให้ โดยไม่ทาผ่านตัวกลาง หรือตัวแทนแบบรัฐต่อรัฐ ในกรณีสามจังหวัดชายแดนใต้ก็คือตุรกีได้ส่งผู้แทนรัฐบาลเข้า มาให้ความช่วยเหลือชาวบ้านในชุมชนและโรงเรียนปอเนาะในพื้นที่ หรืออีกกรณีคือทา โดยองค์กรพัฒนาเอกชน ซึ่งที่โดดเด่นคือ มูลนิธิเพื่อสิทธิมนุษยชน เสรีภาพและการ ช่วยเหลือทางด้านมนุษยธรรม หรือ อีฮาฮา (IHH) ซึ่งเป็นองค์กรพัฒนาเอกชนฝ่ายรัฐบาล ซึ่งลักษณะการเข้ามาเองและเข้าถึงชุมชนรากหญ้านี้ต่างจากการให้ความช่วยเหลือของ ทุนอาหรับดังที่กล่าวไป ตุรกีมิได้ดาเนินการทูตลักษณะนี้แต่เฉพาะในสามจังหวัดแต่ใน ครั้งช่วยเหลือชาวโรฮิงญาในรัฐอาระกัน ประเทศเมียนมาร์ ตุรกีก็ได้ย้าแนวทางการทูต แบบ “เตอร์กิชสไตล์” โดยนายดาวุดโอว์ลู นายกรัฐมนตรีตุรกีคนปัจจุบัน ขณะที่ยังเป็น รัฐมนตรีต่างประเทศได้เดินทางไปเยี่ยมชนกลุ่มน้อยมุสลิมชาวโรฮิงญาถึงในรัฐอาระกัน เมื่อปี 2012 ซึ่งเป็นสิ่งที่สร้างความตื่นเต้นในหมู่ชาวมุสลิมเป็นอย่างมากที่ตุรกีส่ง เจ้าหน้าที่ระดับสูงลงมาเองถึงท้องถิ่น ขณะที่ในเวลาเดียวกันนั้นประเทศมุสลิมอื่น เช่น ซาอุดิอาระเบีย ก็ให้ความช่วยเหลือเมียนมาร์แต่ส่งเป็นเงินหรือสิ่งของบริจาคผ่านลงมา ทางรัฐบาลเมียนมาร์
  • 9. ภาพที่ 7 นายดาวุดโอว์ลู รัฐมนตรีต่างประเทศตุรกีขณะนั้น เดินทางเยี่ยมชาวโรฮิงญาในรัฐอาระกัน เมื่อปี 2012 ที่มา http://www.hurriyetdailynews.com/foreign-minister-davutoglu -visits-myanmars-muslim-minority-inarakan.aspx?pageID=238&nid=58019 โดยสรุป จากตัวอย่างกิจกรรมอันเป็นรูปธรรมของตุรกีที่เลือกเจาะลงไปยังกลุ่มรากหญ้าใน พื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้ที่กล่าวไป ร่วมกับการมีผลงานอันเป็นที่ประจักษ์ในการทางานในพื้นที่ ขัดแย้งในภูมิภาคอื่นๆ ของโลกโดยเฉพาะในภูมิภาคตะวันออกกลาง ทาให้ตุรกีเป็นหนึ่งในประเทศ มุสลิมที่มีบทบาทสูงในการเมืองโลกปัจจุบัน (อันสอดคล้องกับแนวคิดบูรพาภิวัตน์) และโดยเฉพาะอย่าง ยิ่งอยู่ในสถานะชาติมหาอานาจในโลกมุสลิม ทาให้ความคาดหวังต่อบทบาทของตุรกีในการแก้ไขปัญหา ความขัดแย้งและสนับสนุนการพัฒนาในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้มีมากขึ้นและได้รับความนิยม ชมชอบโดยเฉพาะในหมู่คนรุ่นใหม่ มากกว่ามหาอานาจมุสลิมอีกชาติอย่างซาอุดิอาระเบีย