SlideShare a Scribd company logo
1 of 31
Download to read offline
แนวปฏิบัติของศาสนาอืน
โดย ครูเพ็ญลักษณ์ สุวรรณาโชติ
รายวิชาพระพุทธศาสนา 4 ส22106 ชันมัธยมศึกษาปีที 2
ภาคเรียนที 2 ปีการศึกษา 2561
โรงเรียนจันทร์ประดิษฐารามวิทยาคม กรุงเทพมหานคร
ศาสนาคริสต์
• ศาสนาคริสต์มีรากฐานมาจากศาสนายิว ซึงมีโมเสสเป็นศาสดา และ• ศาสนาคริสต์มีรากฐานมาจากศาสนายิว ซึงมีโมเสสเป็นศาสดา และ
เป็นผู้ยืนยันว่า
พระเจ้า (พระยะโฮวา) ได้รับประทานบัญญัติมาให้ โดยศาสนิกชน
ต้องมีความศรัทธาในพระเยซูสูงสุดในชีวิต และจงรักเพือนบ้าน เพือนต้องมีความศรัทธาในพระเยซูสูงสุดในชีวิต และจงรักเพือนบ้าน เพือน
มนุษย์ เหมือนรักตัวเอง ตามหลักธรรมคําสอนดังต่อไปนี
๑.หลักบัญญัติ ๑๐ ประการ
๑.จงนมัสการพระเจ้าแต่ผู้เดียว๑.จงนมัสการพระเจ้าแต่ผู้เดียว
๒. อย่าออกพระนามพระเจ้าโดยไม่สมควร
๓.วันพระเจ้าให้ถือเป็นวันศักดิสิทธิ
๔.จงนับถือบิดามารดา ๕.อย่าฆ่าคน๔.จงนับถือบิดามารดา ๕.อย่าฆ่าคน
๖.อย่าล่วงประเวณี ๗.อย่าลักทรัพย์
๘.อย่าขโมย ๙.อย่าเป็นพยานเท็จต่อเพือนบ้านของเจ้า
๑๐.อย่าโลภอยากได้เรือนของเพือนบ้าน อย่าโลภมากอยากได้เมียของ
เพือนบ้าน หรือทาสของเขา โค ลา ของเขา หรือสิงหนึงสิงใดของเพือนบ้าน
นัน
• เป็นหลักคําสอนทีให้ศรัทธาในพระเจ้าพระองค์• ๒.หลักตรีเอกานุภาพ เป็นหลักคําสอนทีให้ศรัทธาในพระเจ้าพระองค์
เดียว แต่มี ๓ สภาวะประกอบด้วย
๑. พระบิดา คือ องค์พระเจ้าผู้สร้างโลกและมนุษย์
๒.พระบุตร คือ ผู้เกิดมาเพือช่วยไถ่บาปให้แก่มนุษย์
๓.พระจิตร คือ พระวิญญาณอันบริสุทธ์เพือมอบความรักและบันดาลให้
มนุษย์ประพฤติดีมนุษย์ประพฤติดี
๒.หลักตรีเอกานุภาพ
เป็นหลักคําสอนทีให้ศรัทธาในพระเจ้าพระองค์เดียว แต่มี ๓เป็นหลักคําสอนทีให้ศรัทธาในพระเจ้าพระองค์เดียว แต่มี ๓
สภาวะประกอบด้วย
๑. พระบิดา คือ องค์พระเจ้าผู้สร้างโลกและมนุษย์
๒. พระบุตร คือ ผู้เกิดมาเพือช่วยไถ่บาปให้แก่มนุษย์๒. พระบุตร คือ ผู้เกิดมาเพือช่วยไถ่บาปให้แก่มนุษย์
๓. พระจิต คือ พระวิญญาณอันบริสุทธ์เพือมอบความรักและบันดาล
ให้มนุษย์ประพฤติดี
๓.หลักความรัก
คําสอนเรืองความรักในศาสนาคริสต์ คือ การปรารถนาให้คําสอนเรืองความรักในศาสนาคริสต์ คือ การปรารถนาให้
ผู้อืนมีความสุข มีความเมตตากรุณา ให้อภัยซึงกันและกัน และยินดีเมือ
เห็นผู้อืนได้ดี
หลักคําสอนเรืองความรักในศาสนาคริสต์ มี ๒ ระดับ คือหลักคําสอนเรืองความรักในศาสนาคริสต์ มี ๒ ระดับ คือ
๑. ความรักระหว่างมนุษย์กับพระเจ้า เปรียบเหมือนความรักระหว่าง
บิดากับบุตร
๒. ความรักระหว่างมนุษย์กับมนุษย์ พระเยซูสอนให้รักเพือนบ้าน
(มนุษย์ทังโลก) สอนให้รักศัตรู รู้จักการให้อภัยและเสียสละ
๔.หลักอาณาจักรพระเจ้า
เป็นหลักคําสอนทีเน้นให้มนุษย์สร้างศรัทธาให้เกิดขึนในเป็นหลักคําสอนทีเน้นให้มนุษย์สร้างศรัทธาให้เกิดขึนใน
จิตใจ รู้จักการเตรียมตัวรับฟังคําสังสอน เพือจะได้นําไปปฏิบัติได้
ถูกต้อง ซึงอาณาจักรพระเจ้าแบ่งได้เป็น ๒ ส่วน คือ
- อาณาจักรบนโลกมนุษย์ ให้มนุษย์กระทําตนให้ดีทีสุด โดยการสวด- อาณาจักรบนโลกมนุษย์ ให้มนุษย์กระทําตนให้ดีทีสุด โดยการสวด
มนต์ เพือเป็นการแสดงความศรัทธาในพระเจ้า และ
- อาณาจักรสวรรค์ เมือมนุษย์ตายไป วิญญาณจะได้ไปเฝ้ าพระเจ้า
ในสวรรค์มีชีวิตนิรันดร
พิธีกรรมสําคัญในศาสนาคริสต์
• พิธีกรรมสําคัญในศาสนานีเรียกว่า “พิธีศักดิสิทธิ” มีดังนี• พิธีกรรมสําคัญในศาสนานีเรียกว่า “พิธีศักดิสิทธิ” มีดังนี
1. พิธีบัพติศมา หรือ ศีลล้างบาป เป็นพิธีแรกทีคริสตชนต้องรับ โดย
บาทหลวงจะใช้นําศักดิสิทธิเทลงบนศีรษะพร้อมเจิมนํามันคริสมาทีบาทหลวงจะใช้นําศักดิสิทธิเทลงบนศีรษะพร้อมเจิมนํามันคริสมาที
หน้าผาก
2. พิธีมหาสนิทศักดิสิทธิ
หรือ ศีลมหาสนิท เป็นพิธีกรรมรับศีลโดยรับขนมปังและเหล้าองุ่นมาหรือ ศีลมหาสนิท เป็นพิธีกรรมรับศีลโดยรับขนมปังและเหล้าองุ่นมา
รับประทาน โดยความเชือว่าพระกายและโลหิตของพระเยซู
3. ศีลอภัยบาป
เป็นการสารภาพบาปกับพระเจ้าโดยผ่านบาทหลวง บาทหลวงเป็นการสารภาพบาปกับพระเจ้าโดยผ่านบาทหลวง บาทหลวง
จะเป็นผู้ตักเตือนสังสอนไม่ให้ทําบาปนันอีก และทําการอภัยบาปให้ใน
นามพระเจ้า
4. ศีลกําลัง
เป็นพิธีรับศีลโดยการเจิมหน้าผาก เพือยืนยันความเชือว่าจะเป็นพิธีรับศีลโดยการเจิมหน้าผาก เพือยืนยันความเชือว่าจะ
นับถือศาสนาคริสต์ตลอดไปและได้รับพระพรของพระจิต ทําให้เข้มแข็ง
ในความเชือมากขึน
5. ศีลสมรส
เป็นพิธีประกอบการแต่งงาน โดยบาทหลวงเป็นพยาน เป็นการเป็นพิธีประกอบการแต่งงาน โดยบาทหลวงเป็นพยาน เป็นการ
แสดงความสัมพันธ์ว่าจะรักกันจนกว่าชีวิตจะหาไม่
6. ศีลอนุกรม
เป็นพิธีสําหรับการบวชเป็นนักบวช ได้แก่ มุขนายก บาทหลวงเป็นพิธีสําหรับการบวชเป็นนักบวช ได้แก่ มุขนายก บาทหลวง
และพันธบริกร
7. ศีลเจิมคนไข้
เป็นพิธีเจิมคนไข้โดยบาทหลวงจะเจิมนํามันลงบนหน้าผากและเป็นพิธีเจิมคนไข้โดยบาทหลวงจะเจิมนํามันลงบนหน้าผากและ
มือทังสองข้างของผู้ป่วยให้ระลึกว่าพระเจ้าจะอยู่กับตนและให้พลัง
บรรเทาอาการเจ็บป่วย
พิธีบัพติศมา
ความหมายของการรับบัพติศมาความหมายของการรับบัพติศมา
คัมภีร์ไบเบิลเปรียบการรับบัพติศมาเหมือนกับการถูกฝัง การรับบัพติศ
มาในนําเป็นสัญลักษณ์ว่าคนคนหนึงได้ตายจากชีวิตในอดีตและเริมต้น
ชีวิตใหม่เป็นคริสเตียนทีอุทิศตัวให้พระเจ้า การรับบัพติศมาและขันตอนชีวิตใหม่เป็นคริสเตียนทีอุทิศตัวให้พระเจ้า การรับบัพติศมาและขันตอน
ต่าง ๆ ก่อนหน้านันเป็นการจัดเตรียมของพระเจ้าเพือช่วยให้คนเรา
สะอาดและเป็นทียอมรับในสายตาของพระองค์ เพราะคนทีรับบัพติศมา
ได้แสดงความเชือในค่าไถ่ของพระเยซูคริสต์ ดังนัน พระเยซูสอนว่า
สาวกของท่านต้องรับบัพติศมา
สําหรับนิกายโรมันคาทอลิกและนิกายออร์ทอดอกซ์ จะมีพิธีกรรมสําหรับนิกายโรมันคาทอลิกและนิกายออร์ทอดอกซ์ จะมีพิธีกรรม
ทัง 7 พิธี แต่สําหรับนิกายโปรเตสแตนต์ จะมีเพียง 2 พิธี คือ พิธีบัพติศ
มา และ พิธีมหาสนิทศักดิสิทธิ
หลักธรรมทีสําคัญของศาสนาอิสลาม
• 1. หลักศรัทธา 6 ประการ คํา ว่าศรัทธาสําหรับชาวมุสลิม หมายถึง ความ• 1. หลักศรัทธา 6 ประการ คํา ว่าศรัทธาสําหรับชาวมุสลิม หมายถึง ความ
เชือมันด้วยจิตใจโดยปราศจากการระแวงสงสัยหรือการโต้แย้งใดๆ หลัก
ศรัทธาในศาสนาอิสลามมี 6 ประการ คือ
1) ศรัทธาในพระผู้เป็นเจ้า ชาวมุสลิมต้องศรัทธาต่อพระอัลลอฮ์
แต่เพียงพระองค์เดียวแต่เพียงพระองค์เดียว
2) ศรัทธาในบรรดามลาอีกะฮฺ ว่ามีจริง คําว่า “มลาอีกะฮฺ” หมายถึง
ทูตสวรรค์หรือเทวทูตของพระเจ้า เป็นคนกลางระหว่างพระเจ้ากับ
ศาสดา เป็นวิญญาณทีมองไม่เห็น สัมผัสไม่ได้
4) ศรัทธาในบรรดาศาสนทูต ในคัมภีร์อัลกุรอานกล่าวถึงศาสนทูตว่ามี4) ศรัทธาในบรรดาศาสนทูต ในคัมภีร์อัลกุรอานกล่าวถึงศาสนทูตว่ามี
ทังหมด 25 ท่าน ท่านแรก คือ นบีอาดัม และท่านสุดท้ายคือ นบีมุฮัมมัด
5) ศรัทธาในวันพิพากษา มุสลิมต้องเชือว่าโลกนีไม่จีรัง ต้องมีวันแตก
สลายหรือมีวันสินโลก
6) ศรัทธาในกฎสภาวะ (ลิขิต) ของพระเจ้า ชาวมุสลิมเชือว่าพระเจ้าได้ทรง
กําหนดกฎอันแน่นอนไว้ 2 ประเภท คือ กฎทีตายตัว เปลียนแปลงไม่ได้กําหนดกฎอันแน่นอนไว้ 2 ประเภท คือ กฎทีตายตัว เปลียนแปลงไม่ได้
ทุกสิงเป็นไปตามพระประสงค์ของพระเจ้า เช่น การถือกําเนิดชาติพันธุ์
รูปร่างหน้าตา ฯลฯ และกฎทีไม่ตายตัว เป็นกฎทีดําเนินไปตามเหตุผล
เช่นทําดีได้ดี ทําชัวได้ชัว ซึงพระเจ้าได้ประทานแนวทางชีวิตทีดีงาม
พร้อมกับสติปัญญาของมนุษย์ ดังนันมุสลิมทุกคนต้องพยายามทําให้ดี
ทีสุด
• 2. หลักปฏิบัติ 5 ประการ หลัก ปฏิบัติ คือ พิธีกรรมเพือให้เข้าสู่ความ• 2. หลักปฏิบัติ 5 ประการ หลัก ปฏิบัติ คือ พิธีกรรมเพือให้เข้าสู่ความ
เป็นมุสลิมโดยสมบูรณ์ ซึงชาวมุสลิมต้องปฏิบัติศาสนกิจพร้อมทัง 3
ทาง คือ กาย วาจา และใจ อันถือเป็นความภักดีตลอดชีวิต หลักปฏิบัติ
5 ประการ มีดังนี
1) การปฏิญาณตน ชาวมุสลิมทุกคนต้องปฏิญาณตนยอมรับ
ความเป็นพระเจ้าองค์เดียวของพระอัลลอฮ์และยอมรับในความเป็นศาความเป็นพระเจ้าองค์เดียวของพระอัลลอฮ์และยอมรับในความเป็นศา
สนทูตของท่านนบีมุฮัมมัด
•• 2) การละหมาด การทําละหมาด หมายถึงการนมัสการพระเจ้าทัง
ร่างกายและจิตใจ วันละ 5 ครัง ได้แก่ เวลาก่อนพระอาทิตย์ขึน เวลา
กลางวัน เวลาบ่าย เวลาพลบคํา และเวลากลางคืน การทําละหมาดเริม
เมืออายุได้ 10 ขวบ จนถึงขันสินชีวิต ยกเว้นหญิงขณะมีรอบเดือน
3) การถือศีลอด คือการละเว้น ยับยังและควบคุมตน โดยงดการ3) การถือศีลอด คือการละเว้น ยับยังและควบคุมตน โดยงดการ
บริโภคอาหาร นําดืม และร่วมประเวณี ตังแต่พระอาทิตย์ขึนจนถึงพระ
อาทิตย์ตกดินเป็นเวลา 1 เดือน ในเดือนรอมฎอน (เดือน 9 ทางจันทรคติของ
อิสลาม) การถือศีลอดเป็นหน้าทีของชาวมุสลิมทุกคนทีอายุครบ 15 ปี เป็น
ต้นไป แต่ผ่อนผันในกรณีหญิงขณะมีรอบเดือนและหลังคลอด บุคคลใน
ระหว่างเดินทาง หญิงมีครรภ์ แม่ลูกอ่อน บุคคลทีมีสุขภาพไม่ปกติ มีโรคภัย
คนชรา และบุคคลทีทํางานหนัก
4) การบริจาคซะกาต หมายถึง การบริจาคทรัพย์เพือขัดเกลาจิตใจของ
ผู้บริจาคให้สะอาดบริสุทธิลดความตระหนี ความเห็นแก่ตัว ให้มีใจผู้บริจาคให้สะอาดบริสุทธิลดความตระหนี ความเห็นแก่ตัว ให้มีใจ
เอือเฟือเผือแผ่
5) การประกอบพิธีฮัจญ์ หมายถึง การเดินทางไปประกอบศาสนกิจหรือ
จาริกแสวงบุญ ณ วิหารอัลกะฮ์ และสถานทีต่างๆ ในนครเมกกะ ประเทศ
ซาอุดีอาระเบีย ในช่วงเวลาทีกําหนด โดยให้ปฏิบัติเฉพาะบุคคลทีมี
ความสามารถเท่านัน
แบบฝึกหัดครังที
1. ในศาสนาอิสลามมีบทบัญญัติให้บริจาคซะกาตเพืออะไร1. ในศาสนาอิสลามมีบทบัญญัติให้บริจาคซะกาตเพืออะไร
ก. เพือช่วยเหลือขอทาน
ข. เพือเป็นค่าเลียงดูแก่ผู้รับ
ค. เพือสงเคราะห์ผู้มีปัญหาเศรษฐกิจค. เพือสงเคราะห์ผู้มีปัญหาเศรษฐกิจ
ง. เพือสงเคราะห์ใครก็ได้ทีต้องการ
หลักธรรมศาสนาพราหมณ์-ฮินดู
โอมสัญลักษณ์ประจําศาสนาพราหม์-ฮินดูโอมสัญลักษณ์ประจําศาสนาพราหม์-ฮินดู
พระตรีมูรติ เทพเจ้าฝ่ายชายทีสูงทีสุด
ในศาสนาพราหมณ์-ฮินดูในศาสนาพราหมณ์-ฮินดู
ตรีศักติ เทพเจ้าฝ่ายหญิงในศาสนาพราหมณ์ฮินดู
ศาสนาพราหมณ์-ฮินดู
• ศาสนาพราหมณ์แหล่งกําเนิดในประเทศอินเดีย เป็นศาสนาดังเดิม• ศาสนาพราหมณ์แหล่งกําเนิดในประเทศอินเดีย เป็นศาสนาดังเดิม
ของชนเผ่าอารยัน มีความเชือเรืองพระเจ้าหลายองค์ โดยเฉพาะตรีมูรติ
(พระพรหม พระวิษณุ พระศิวะ) ต่อมาวิวัฒนาการเป็นศาสนาฮินดู
• ศาสดา: เทพเจ้าของศาสนาพราหมณ์• ศาสดา: เทพเจ้าของศาสนาพราหมณ์
• - เทพเจ้าสูงสุด คือ พระปรมาตมัน
• - ความเชือเกียวกับตรีมูรติ คือ พระพรหม คือ ผู้สร้างพระวิษณุ(พระ
นารายณ์) คือ ผู้คุ้มครอง และ พระอิศวร(พระศิวะ) คือ ผู้ทําลาย
คัมภีร์
• คัมภีร์: คัมภีร์พระเวท มีอยู่ 3 คัมภีร์ ถือว่าเป็นคัมภีร์ทีเก่าแก่ทีสุดในโลก• คัมภีร์: คัมภีร์พระเวท มีอยู่ 3 คัมภีร์ ถือว่าเป็นคัมภีร์ทีเก่าแก่ทีสุดในโลก
ต่อมาเพิมอาถรรพเวทเข้าไป ได้แก่
- ฤคเวท (บทสวดสรรเสริญเทพเจ้า)
- ยชุรเวท(คู่มือพราหมณ์ในการทําพิธีบูชายัญ)- ยชุรเวท(คู่มือพราหมณ์ในการทําพิธีบูชายัญ)
- สามเวท (ใช้สวดขับกล่อมเทพเจ้า)
- อาถรรพเวท (เป็นมนต์คาถาทางไสยศาสตร์)
• หลักธรรม 10 ประการ• หลักธรรม 10 ประการ
1. ธฤติ ได้แก่ ความพอใจ ความกล้า ความมันคง ซึงหมายถึง การ
พากเพียรจนได้รับความสําเร็จ
2. กษมา ได้แก่ ความอดทน นันคือพากเพียรและอดทน โดยยึดความ
เมตตากรุณาเป็นทีตัง
3. ทมะ ได้แก่ การข่มจิตใจของตนด้วยเมตตา และมีสติอยู่เสมอ
4. อัสเตยะ ได้แก่ การไม่ลักขโมย ไม่กระทําโจรกรรม
5. เศาจะ ได้แก่ การกระทําตนให้บริสุทธิทังกายและใจ
6. อินทรียนิครหะ ได้แก่ การหมันตรวจสอบอินทรีย์ ๑๐ ประการ ให้6. อินทรียนิครหะ ได้แก่ การหมันตรวจสอบอินทรีย์ ๑๐ ประการ ให้
ได้รับการตอบสนองทีถูกต้อง
7. ธี ได้แก่ ปัญญา สติ มติ ความคิด ความมันคงยืนนาน นันคือ
มีปํ ญญาและรู้จักระเบียบวิธีต่าง ๆ
8. วิทยา ได้แก่ ความรู้ทางปรัชญา
9. สัตยา ได้แก่ ความจริง คือ ซือสัตย์ต่อกันและกัน
10. อโกธะ ได้แก่ ความไม่โกรธ
หลักอาศรม 4หลักอาศรม 4
เป็นขันตอนการดําเนินชีวิตของผู้ทีนับถือศาสนาพราหมณ์-ฮินดู
เพือยกระดับชีวิตให้สูงขึน มี 4 ประการคือ
1. พรหมจารี เป็นขันตอนทีเด็กชายทุกคนทีเกิดในวรรณะพราหมณ์
กษัตริย์ แพศย์ ต้องศึกษาเล่าเรียน ต้องเข้าพิธีมอบตนเป็นนักศึกษา และ
จะต้องปรนนิบัติรับใช้อาจารย์พร้อมกับศึกษาเล่าเรียน
2. คฤหัสถ์ เป็นวัยแห่งการครองเรือน เมือสําเร็จการศึกษาแล้วกลับไป
ใช้ชีวิตทางโลก แต่งงานและมีบุตรเพือสืบสกุล โดยยึดหลักธรรมเป็นแนวทาง
2. คฤหัสถ์ เป็นวัยแห่งการครองเรือน เมือสําเร็จการศึกษาแล้วกลับไป
ใช้ชีวิตทางโลก แต่งงานและมีบุตรเพือสืบสกุล โดยยึดหลักธรรมเป็นแนวทาง
ในการดําเนินชีวิต
3. วานปรัสถ์ เป็นขันทีแสวงหาธรรม โดยการออกบวชสู่ป่า เพือฝึก
จิตใจให้บริสุทธิและเตรียมปฏิบัติตนให้เป็นประโยชน์ต่อสังคม
4. สันยาสี เป็นขันสุดท้ายแห่งชีวิต โดยสละชีวิตทางโลกออกบวช
บําเพ็ญเพียรตามหลักศาสนา เพือความหลุดพ้น
พิธีกรรมทีสําคัญของศาสนาพราหมณ์ - ฮินดู
1. พิธีศราทธ์ คือ พิธีทําบุญให้แก่ญาติผู้ล่วงลับไปแล้ว1. พิธีศราทธ์ คือ พิธีทําบุญให้แก่ญาติผู้ล่วงลับไปแล้ว
2. พิธีประจําบ้าน ได้แก่
- พิธีอุปนยัน คือ พิธีเริมการศึกษา ถ้าเป็นหญิงยกเว้น
- พิธีวิวาหะ คือ พิธีแต่งงาน
3. ข้อปฏิบัติเกียวกับวรรณะ คือ พราหมณ์ กษัตริย์ แพทศย์ ศูทร แต่ละ
- พิธีวิวาหะ คือ พิธีแต่งงาน
3. ข้อปฏิบัติเกียวกับวรรณะ คือ พราหมณ์ กษัตริย์ แพทศย์ ศูทร แต่ละ
วรรณะมีการดําเนินชีวิตทีต่างกันจึงต้องปฏิบัติตามวรรณะของตน เช่น การ
แต่งงาน การแต่งกาย เป็นต้น
4. พิธีบูชาเทพเจ้า แต่ละวรรณะจะมีการปฏิบัติต่างกันในเทศกาลต่าง ๆ เช่น
งานศิวะราตรี (พิธีลอยบาป) งานบูชาเจ้าแม่ลักษมี (เทวีแห่งสมบัติและความ
งาม) เป็นต้น
วรรณะ
1. วรรณะพราหมณ์ คือ ผู้ทําพิธีกรรม มีหน้าทีติดต่อกับเทพเจ้า สังสอน
ศาสนาและประกอบพิธีกรรมแก่ประชาชนทุกวรรณะ รวมถึงมีหน้าทีศึกษา
จดจําและสืบต่อคัมภีร์พระเวท วรรณะนีเชือว่ากําเนิดมาจากปากของพระ
พรหมพรหม
2. วรรณะกษัตริย์ คือ กษัตริย์ หรือ นักรบ ทําหน้าทีป้ องกันชาติบ้านเมือง
และทําศึกสงคราม วรรณะนีเชือมากําเนิดมาจากหน้าอกของพระพรหม
3. วรรณแพทย์ คือ ผู้ประกอบพาณิชกรรม เกษตรกรรม ซึงเป็นวรรณะ3. วรรณแพทย์ คือ ผู้ประกอบพาณิชกรรม เกษตรกรรม ซึงเป็นวรรณะ
ของคนส่วนใหญ่ในสังคม วรรณะนีเชือว่ากําเนิดมาจากมือของพระ
พรหม
• 4. วรรณศูทร คือ กรรมกร วรรณะนีเชือว่ากําเนิดมาจากเท้าของพระ
พรหม
– ถ้ามีการแต่งงานข้ามวรรณะ บุตรทีเกิดมาก็จะกลายเป็น จัณฑาล (ในถ้ามีการแต่งงานข้ามวรรณะ บุตรทีเกิดมาก็จะกลายเป็น จัณฑาล (ใน
ภาษาไทยคือ กาลกิณี เป็นผู้อยู่นอกวรรณะซึงเป็นทีรังเกียจของทุกวรรณะ
– ส่วนในอินโดนีเซียจะไม่ค่อยเคร่งวรรณะเหมือนกับในอินเดีย
– หนังสือบางเล่มกล่าวว่า วรรณะพราหมณ์, กษัตริย์ และแพศย์ เป็นวรรณะ
ของคนอารยัน คือชนผิวขาวผู้ริเริมศาสนา ส่วนวรรณะศูทร เป็นของคนดราวิ
เดียน ชนผิวดําชนพืนเมืองเก่าของอินเดีย
แบบฝึกหัดครังที
–1. การทีศาสนาพราหมณ์ – ฮินดู ทําบุญอิทศส่วนบุญให้บรรพบุรุษผู้
ล่วงลับนํา ตรงกับคําตอบข้อใด
ก. พิธีฮัจญ์ ข. พิธีศราทธ์
ค. พิธีบูชายัน ง. พิธีสวดมนต์ค. พิธีบูชายัน ง. พิธีสวดมนต์
2. ความรัก ความเมตตาระหว่างเพือนมนุษย์ เป็นหลักธรรมสําคัญของ
ศาสนาใด
ก. ศาสนาอิสลาม ข. ศาสนาคริสต์
ค. ศาสนาฮินดู ง. พระพุทธศาสนา

More Related Content

What's hot

การวิเคราะห์และประเมินคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรม
การวิเคราะห์และประเมินคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรมการวิเคราะห์และประเมินคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรม
การวิเคราะห์และประเมินคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรมWatcharapol Wiboolyasarin
 
เศาะฮาบะฮฺ(กลาง).Pdf
เศาะฮาบะฮฺ(กลาง).Pdfเศาะฮาบะฮฺ(กลาง).Pdf
เศาะฮาบะฮฺ(กลาง).PdfMuhammadrusdee Almaarify
 
สมุดประจำตัวสำหรับผู้เขาค่ายคุณธรรม
สมุดประจำตัวสำหรับผู้เขาค่ายคุณธรรมสมุดประจำตัวสำหรับผู้เขาค่ายคุณธรรม
สมุดประจำตัวสำหรับผู้เขาค่ายคุณธรรมniralai
 
พระพุทธศาสนากับสถานการณ์ปัจจุบัน
พระพุทธศาสนากับสถานการณ์ปัจจุบันพระพุทธศาสนากับสถานการณ์ปัจจุบัน
พระพุทธศาสนากับสถานการณ์ปัจจุบันleemeanshun minzstar
 
ฮีตสิบสอง คองสิบสี่
ฮีตสิบสอง คองสิบสี่ฮีตสิบสอง คองสิบสี่
ฮีตสิบสอง คองสิบสี่PitchyJelly Matee
 
ใบความรู้ศาสนาคริสต์
ใบความรู้ศาสนาคริสต์ใบความรู้ศาสนาคริสต์
ใบความรู้ศาสนาคริสต์Proud N. Boonrak
 
พระพุทธศาสนา
พระพุทธศาสนาพระพุทธศาสนา
พระพุทธศาสนาPadvee Academy
 
ศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลามศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลามPadvee Academy
 
บทที่ ๑ ศาสนาโบราณ
บทที่ ๑ ศาสนาโบราณบทที่ ๑ ศาสนาโบราณ
บทที่ ๑ ศาสนาโบราณPadvee Academy
 
เศรษฐกิจพอเพียงกับการผลิตสินค้าและบริการในท้องถิ่น
เศรษฐกิจพอเพียงกับการผลิตสินค้าและบริการในท้องถิ่นเศรษฐกิจพอเพียงกับการผลิตสินค้าและบริการในท้องถิ่น
เศรษฐกิจพอเพียงกับการผลิตสินค้าและบริการในท้องถิ่นพจีกานต์ หว่านพืช
 
Motivation (แรงจูงใจ) ch.7 สำหรับนิสิตวิชาพฤติกรรมผู้บริโภค
Motivation (แรงจูงใจ) ch.7 สำหรับนิสิตวิชาพฤติกรรมผู้บริโภคMotivation (แรงจูงใจ) ch.7 สำหรับนิสิตวิชาพฤติกรรมผู้บริโภค
Motivation (แรงจูงใจ) ch.7 สำหรับนิสิตวิชาพฤติกรรมผู้บริโภคMahasarakham Business School, Mahasarakham University
 
038พระพุทธศาสนากับการเมืองไทย
038พระพุทธศาสนากับการเมืองไทย038พระพุทธศาสนากับการเมืองไทย
038พระพุทธศาสนากับการเมืองไทยniralai
 
ศาสนาซิกข์
ศาสนาซิกข์ศาสนาซิกข์
ศาสนาซิกข์Padvee Academy
 
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาmagicgirl123
 

What's hot (20)

การวิเคราะห์และประเมินคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรม
การวิเคราะห์และประเมินคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรมการวิเคราะห์และประเมินคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรม
การวิเคราะห์และประเมินคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรม
 
เศาะฮาบะฮฺ(กลาง).Pdf
เศาะฮาบะฮฺ(กลาง).Pdfเศาะฮาบะฮฺ(กลาง).Pdf
เศาะฮาบะฮฺ(กลาง).Pdf
 
ศาสนาพราหมณ์
ศาสนาพราหมณ์ศาสนาพราหมณ์
ศาสนาพราหมณ์
 
สมุดประจำตัวสำหรับผู้เขาค่ายคุณธรรม
สมุดประจำตัวสำหรับผู้เขาค่ายคุณธรรมสมุดประจำตัวสำหรับผู้เขาค่ายคุณธรรม
สมุดประจำตัวสำหรับผู้เขาค่ายคุณธรรม
 
Pptgst uprojecttannin62
Pptgst uprojecttannin62Pptgst uprojecttannin62
Pptgst uprojecttannin62
 
พระพุทธศาสนากับสถานการณ์ปัจจุบัน
พระพุทธศาสนากับสถานการณ์ปัจจุบันพระพุทธศาสนากับสถานการณ์ปัจจุบัน
พระพุทธศาสนากับสถานการณ์ปัจจุบัน
 
ฮีตสิบสอง คองสิบสี่
ฮีตสิบสอง คองสิบสี่ฮีตสิบสอง คองสิบสี่
ฮีตสิบสอง คองสิบสี่
 
พัฒนาการด้านเศรษฐกิจ
พัฒนาการด้านเศรษฐกิจพัฒนาการด้านเศรษฐกิจ
พัฒนาการด้านเศรษฐกิจ
 
ใบความรู้ศาสนาคริสต์
ใบความรู้ศาสนาคริสต์ใบความรู้ศาสนาคริสต์
ใบความรู้ศาสนาคริสต์
 
เครื่องหมายการค้า
เครื่องหมายการค้าเครื่องหมายการค้า
เครื่องหมายการค้า
 
G.14วัสดุย่อส่วน
G.14วัสดุย่อส่วนG.14วัสดุย่อส่วน
G.14วัสดุย่อส่วน
 
พระพุทธศาสนา
พระพุทธศาสนาพระพุทธศาสนา
พระพุทธศาสนา
 
ปฏิรูปศาสนา
ปฏิรูปศาสนาปฏิรูปศาสนา
ปฏิรูปศาสนา
 
ศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลามศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลาม
 
บทที่ ๑ ศาสนาโบราณ
บทที่ ๑ ศาสนาโบราณบทที่ ๑ ศาสนาโบราณ
บทที่ ๑ ศาสนาโบราณ
 
เศรษฐกิจพอเพียงกับการผลิตสินค้าและบริการในท้องถิ่น
เศรษฐกิจพอเพียงกับการผลิตสินค้าและบริการในท้องถิ่นเศรษฐกิจพอเพียงกับการผลิตสินค้าและบริการในท้องถิ่น
เศรษฐกิจพอเพียงกับการผลิตสินค้าและบริการในท้องถิ่น
 
Motivation (แรงจูงใจ) ch.7 สำหรับนิสิตวิชาพฤติกรรมผู้บริโภค
Motivation (แรงจูงใจ) ch.7 สำหรับนิสิตวิชาพฤติกรรมผู้บริโภคMotivation (แรงจูงใจ) ch.7 สำหรับนิสิตวิชาพฤติกรรมผู้บริโภค
Motivation (แรงจูงใจ) ch.7 สำหรับนิสิตวิชาพฤติกรรมผู้บริโภค
 
038พระพุทธศาสนากับการเมืองไทย
038พระพุทธศาสนากับการเมืองไทย038พระพุทธศาสนากับการเมืองไทย
038พระพุทธศาสนากับการเมืองไทย
 
ศาสนาซิกข์
ศาสนาซิกข์ศาสนาซิกข์
ศาสนาซิกข์
 
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
 

Similar to แนวปฏิบัติของศาสนาอื่นๆ ส22106 ม.2 เทอม2

หน้าที่ชาวพุทธ.docx
หน้าที่ชาวพุทธ.docxหน้าที่ชาวพุทธ.docx
หน้าที่ชาวพุทธ.docxpinglada1
 
หน้าที่ชาวพุทธ
หน้าที่ชาวพุทธหน้าที่ชาวพุทธ
หน้าที่ชาวพุทธleemeanshun minzstar
 
หน้าที่ของชาวพุทธ
หน้าที่ของชาวพุทธหน้าที่ของชาวพุทธ
หน้าที่ของชาวพุทธprimpatcha
 
ค่านิยมอิสลาม (สังคมศาสตร์)
ค่านิยมอิสลาม (สังคมศาสตร์)ค่านิยมอิสลาม (สังคมศาสตร์)
ค่านิยมอิสลาม (สังคมศาสตร์)Mujahid Kiattitharai
 
ติวศาสนา55
ติวศาสนา55ติวศาสนา55
ติวศาสนา55Kwandjit Boonmak
 
ติวศาสนา55
ติวศาสนา55ติวศาสนา55
ติวศาสนา55Kwandjit Boonmak
 
แนวคิดเรื่องการบูชา
แนวคิดเรื่องการบูชาแนวคิดเรื่องการบูชา
แนวคิดเรื่องการบูชาTongsamut vorasan
 
351หน้าที่ชาวพุทธ3
351หน้าที่ชาวพุทธ3351หน้าที่ชาวพุทธ3
351หน้าที่ชาวพุทธ3niralai
 
สไลด์ ศาสนพิธี ป.5+483+dltvsocp5+55t2soc p05 f14-4page
สไลด์ ศาสนพิธี ป.5+483+dltvsocp5+55t2soc p05 f14-4pageสไลด์ ศาสนพิธี ป.5+483+dltvsocp5+55t2soc p05 f14-4page
สไลด์ ศาสนพิธี ป.5+483+dltvsocp5+55t2soc p05 f14-4pagePrachoom Rangkasikorn
 
สไลด์ ศาสนพิธี ป.5+483+dltvsocp5+55t2soc p05 f14-1page
สไลด์ ศาสนพิธี ป.5+483+dltvsocp5+55t2soc p05 f14-1pageสไลด์ ศาสนพิธี ป.5+483+dltvsocp5+55t2soc p05 f14-1page
สไลด์ ศาสนพิธี ป.5+483+dltvsocp5+55t2soc p05 f14-1pagePrachoom Rangkasikorn
 
Script พม.ดร.สมชาย ฐฺานวฑฺโฒ blc dhamma
Script พม.ดร.สมชาย ฐฺานวฑฺโฒ blc dhammaScript พม.ดร.สมชาย ฐฺานวฑฺโฒ blc dhamma
Script พม.ดร.สมชาย ฐฺานวฑฺโฒ blc dhammablcdhamma
 
จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒
จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒
จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒dentyomaraj
 
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10thTongsamut vorasan
 
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10thTongsamut vorasan
 
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 
ครูพัชราภรณ์ เหมือนรุ่ง
ครูพัชราภรณ์    เหมือนรุ่งครูพัชราภรณ์    เหมือนรุ่ง
ครูพัชราภรณ์ เหมือนรุ่งพัน พัน
 

Similar to แนวปฏิบัติของศาสนาอื่นๆ ส22106 ม.2 เทอม2 (20)

หน้าที่ชาวพุทธ.docx
หน้าที่ชาวพุทธ.docxหน้าที่ชาวพุทธ.docx
หน้าที่ชาวพุทธ.docx
 
หน้าที่ชาวพุทธ
หน้าที่ชาวพุทธหน้าที่ชาวพุทธ
หน้าที่ชาวพุทธ
 
งาน
งานงาน
งาน
 
หน้าที่ของชาวพุทธ
หน้าที่ของชาวพุทธหน้าที่ของชาวพุทธ
หน้าที่ของชาวพุทธ
 
ค่านิยมอิสลาม (สังคมศาสตร์)
ค่านิยมอิสลาม (สังคมศาสตร์)ค่านิยมอิสลาม (สังคมศาสตร์)
ค่านิยมอิสลาม (สังคมศาสตร์)
 
ติวศาสนา55
ติวศาสนา55ติวศาสนา55
ติวศาสนา55
 
ติวศาสนา55
ติวศาสนา55ติวศาสนา55
ติวศาสนา55
 
แนวคิดเรื่องการบูชา
แนวคิดเรื่องการบูชาแนวคิดเรื่องการบูชา
แนวคิดเรื่องการบูชา
 
351หน้าที่ชาวพุทธ3
351หน้าที่ชาวพุทธ3351หน้าที่ชาวพุทธ3
351หน้าที่ชาวพุทธ3
 
สไลด์ ศาสนพิธี ป.5+483+dltvsocp5+55t2soc p05 f14-4page
สไลด์ ศาสนพิธี ป.5+483+dltvsocp5+55t2soc p05 f14-4pageสไลด์ ศาสนพิธี ป.5+483+dltvsocp5+55t2soc p05 f14-4page
สไลด์ ศาสนพิธี ป.5+483+dltvsocp5+55t2soc p05 f14-4page
 
สไลด์ ศาสนพิธี ป.5+483+dltvsocp5+55t2soc p05 f14-1page
สไลด์ ศาสนพิธี ป.5+483+dltvsocp5+55t2soc p05 f14-1pageสไลด์ ศาสนพิธี ป.5+483+dltvsocp5+55t2soc p05 f14-1page
สไลด์ ศาสนพิธี ป.5+483+dltvsocp5+55t2soc p05 f14-1page
 
Script พม.ดร.สมชาย ฐฺานวฑฺโฒ blc dhamma
Script พม.ดร.สมชาย ฐฺานวฑฺโฒ blc dhammaScript พม.ดร.สมชาย ฐฺานวฑฺโฒ blc dhamma
Script พม.ดร.สมชาย ฐฺานวฑฺโฒ blc dhamma
 
จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒
จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒
จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒
 
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10th
 
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10th
 
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
 
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
 
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
 
ครูพัชราภรณ์ เหมือนรุ่ง
ครูพัชราภรณ์    เหมือนรุ่งครูพัชราภรณ์    เหมือนรุ่ง
ครูพัชราภรณ์ เหมือนรุ่ง
 
ปริวาสกรรม ของ สมัชชาสงฆ์ไทยฯ ๒๕๕๔
ปริวาสกรรม ของ สมัชชาสงฆ์ไทยฯ ๒๕๕๔ปริวาสกรรม ของ สมัชชาสงฆ์ไทยฯ ๒๕๕๔
ปริวาสกรรม ของ สมัชชาสงฆ์ไทยฯ ๒๕๕๔
 

More from เพ็ญลักษณ์ สุวรรณาโชติ

More from เพ็ญลักษณ์ สุวรรณาโชติ (6)

ทวีปแอฟริกา ระดับชั้น ม.2 ภาคเรียนที่ 2
ทวีปแอฟริกา ระดับชั้น ม.2 ภาคเรียนที่ 2ทวีปแอฟริกา ระดับชั้น ม.2 ภาคเรียนที่ 2
ทวีปแอฟริกา ระดับชั้น ม.2 ภาคเรียนที่ 2
 
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ม.2 ภาคเรียนที่ 1
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ม.2 ภาคเรียนที่ 1 หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ม.2 ภาคเรียนที่ 1
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ม.2 ภาคเรียนที่ 1
 
ศาสนาพุทธในยุครัตนโกสินทร์ ม.2 ภาคเรียนที่ 1
ศาสนาพุทธในยุครัตนโกสินทร์ ม.2 ภาคเรียนที่ 1ศาสนาพุทธในยุครัตนโกสินทร์ ม.2 ภาคเรียนที่ 1
ศาสนาพุทธในยุครัตนโกสินทร์ ม.2 ภาคเรียนที่ 1
 
ทวีปยุโรป สังคมศึกษา ม.2
ทวีปยุโรป สังคมศึกษา ม.2 ทวีปยุโรป สังคมศึกษา ม.2
ทวีปยุโรป สังคมศึกษา ม.2
 
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศเพื่อนบ้าน
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศเพื่อนบ้าน การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศเพื่อนบ้าน
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศเพื่อนบ้าน
 
Social M.2 term1
Social M.2 term1Social M.2 term1
Social M.2 term1
 

แนวปฏิบัติของศาสนาอื่นๆ ส22106 ม.2 เทอม2