SlideShare a Scribd company logo
1 of 25
Download to read offline
1



                                       คำชี้แจง
                         ในกำรใช้ บทเรียนสำเร็จรู ปสำหรับครู


         1. ครู ตองศึกษาเนื้ อหาของบทเรี ยนสาเร็ จรู ปให้เข้าใจเป็ นอย่างดี เป็ นการเตรี ยมการสอน
                 ้
         2. ก่อนสอนครู ตองเตรี ยมบทเรี ยนสาเร็ จรู ปให้พร้อมเพียงพอกับจานวนนักเรี ยน
                           ้
         3. ก่อนสอนครู ตองชี้แจงให้นกเรี ยนเข้าใจเกี่ยวกับการใช้บทเรี ยนสาเร็ จรู ป เพื่อให้
                             ้         ั
นักเรี ยนรู้บทบาทและหน้าที่ของนักเรี ยน
         4. ก่อนสอนครู ตองชี้แจงปลูกฝังคุณธรรมด้านความซื่ อสัตย์ ด้านการรักษาสิ่ งของ
                               ้
ของส่ วนรวม โดยไม่ขีดเขียนหรื อทาให้บทเรี ยนฉี กขาดอย่างเคร่ งครัด
         5. ครู ตองให้นกเรี ยนทาแบบทดสอบก่อนเรี ยน เพื่อสารวจความรู ้พ้ืนฐานและดูการพัฒนา
                   ้     ั
ในการเรี ยน
         6. ขณะนักเรี ยนศึกษาบทเรี ยน ครู ตองเดินดูการทางานของนักเรี ยน เพื่อสังเกตพฤติกรรม
                                            ้
การเรี ยนของนักเรี ยน
         7. หากนักเรี ยนมีปัญหาในการใช้บทเรี ยน ครู ตองให้คาปรึ กษาแนะนาแก่นกเรี ยนได้
                                                        ้                             ั
         8. ครู ตองคานึงถึงความแตกต่างระหว่างบุคคล ในการเรี ยนการสอนเป็ นสาคัญ
                     ้
         9. การสรุ ปบทเรี ยนควรเป็ นกิจกรรมร่ วมกันของนักเรี ยน
         10. หลังการเรี ยนจบแล้ว ต้องให้นกเรี ยนทาแบบทดสอบหลังเรี ยน
                                          ั
2



                                    คำชี้แจง
                    ในกำรใช้ บทเรียนสำเร็จรู ปสำหรับนักเรียน



         บทเรี ยนสาเร็ จรู ปเล่มนี้จดทาขึ้นเพื่อให้นกเรี ยนได้ศึกษาด้วยตนเอง โดยนักเรี ยนจะได้
                                    ั               ั
ประโยชน์จากบทเรี ยนตามจุดประสงค์ที่ต้ งไว้ ด้วยการปฏิบติตามคาแนะนา ต่อไปนี้ อย่างเคร่ งครัด
                                            ั                  ั
         1. นักเรี ยนอ่านจุดประสงค์การเรี ยนรู ้ก่อนลงมือศึกษาบทเรี ยนสาเร็ จรู ป
         2. ก่อนศึกษาบทเรี ยนให้นกเรี ยนทาแบบทดสอบก่อนเรี ยนด้วยการเขียนคาตอบลงใน
                                        ั
กระดาษคาตอบ
         3. บทเรี ยนนี้ จะเสนอเนื้ อหาเป็ นหน่วย เรี ยกว่า “กรอบ”
         4. นักเรี ยนเริ่ มศึกษาบทเรี ยนไปเรื่ อย ๆ จากกรอบที่ 1 ถึงกรอบสุ ดท้ายโดยไม่เว้นหน้า
ห้ามเปิ ดข้ามกรอบ เพราะบทเรี ยนจะไม่ต่อเนื่อง
         5. ถ้ามีคาสังหรื อคาถามอย่างไร ขอให้นกเรี ยนปฏิบติตาม
                     ่                                ั          ั
         6. ให้นกเรี ยนตอบคาถามจากกรอบที่ 1 จนถึงกรอบสุ ดท้าย โดยเขียนคาตอบลงใน
                  ั
กระดาษหรื อในสมุดกิจกรรม อย่าขีดเขียนใด ๆ ลงในบทเรี ยนสาเร็ จรู ปนี้
         7. เมื่อศึกษาจบแล้วให้นกเรี ยนทาแบบทดสอบหลังเรี ยน
                                      ั
         8. ตรวจสอบคาตอบ และเปรี ยบเทียบคะแนนก่อนเรี ยนและหลังเรี ยนว่ามีการพัฒนา
อย่างไร
3




                              จุดประสงค์ กำรเรียนรู้




    เมื่อนักเรี ยนศึกษาบทเรี ยนสาเร็ จรู ป ประกอบการเรี ยนรายวิชาวิถีธรรมวิถีไทย
รหัสวิชา 2000 - 1301 ชุดที่ 1 ความรู ้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนา แล้ว นักเรี ยนสามารถ
                 1. อธิ บายความหมายและจุดกาเนิดของศาสนาได้
                 2. อธิบายความสาคัญของศาสนาได้
                 3. อธิบายลักษณะของศาสนาได้ถูกต้อง
                 4. อธิบายหลักศาสนาได้ถูกต้อง
                 5. เข้าใจและระบุหลักธรรมของศาสนาต่างๆ ได้
4


                                 แบบทดสอบก่ อนเรียน
                         เรื่อง ควำมรู้ เบืองต้ นเกียวกับศำสนำ
                                           ้        ่

คำสั่ ง ให้ นักเรียนเลือกคำตอบทีถูกต้ องทีสุด
                                ่         ่

1. วัตถุประสงค์หลักของทุก ๆ ศาสนา               4. ศาสนามีอิทธิ พลในการก่อกาเนิดสิ่ งใด
   ที่เหมือนกันคือสิ่ งใด                          ก. พิธีกรรม
   ก. เพื่อประเทศชาติมีความมันคง เข้มแข็ง
                                ่                  ข. ศิลปกรรม
   ข. เพื่อสร้างฐานอานาจ พลัง และ                  ค. ประเพณี
       ความเป็ นผูนา
                  ้                                ง. ถูกทุกข้อ
   ค. ส่ งเสริ มความเข้าใจอันดี มีสันติ
                                                5. เหตุใดศาสนาทุกศาสนาเน้นเรื่ อง
       ขจัดความแตกร้าวระหว่างมนุษยชาติ
                                                   ความยุติธรรม
   ง. ส่ งเสริ มหลักประชาธิ ปไตย สิ ทธิ
                                                    ก. เพราะเป็ นลักษณะของการพัฒนาตนเอง
       เสรี ภาพ
                                                    ข. เพราะเป็ นลักษณะของความอุตสาหะ
2. ข้อใดกล่าวถึงกาเนิดของศาสนาไม่ ถูกต้อง           ค. เพราะเป็ นแกนกลางของสันติสุข
   ก. ความเชื่อเรื่ องผี วิญญาณ                     ง. เพราะเป็ นลักษณะของการเสี ยสละ
   ข. ความเชื่อเรื่ องไสยศาสตร์ การบูชายัญ
                                                6. ข้อใดมิใช่ ความสอดคล้องของหลักธรรม
   ค. ความแปรผันของธรรมชาติ
                                                   ในแต่ละศาสนา
   ง. ความต้องการเป็ นผูนาในสังคม
                            ้
                                                    ก. ความยุติธรรม
3. “สังคมไทยเป็ นสังคมแห่งเมืองพุทธ” จาก            ข. ความรัก ความเมตตา
    คากล่าวนี้แสดงถึงความสาคัญของศาสนา              ค. การทาความดี
    ประการใด                                        ง. การมุ่งสร้างชื่อเสี ยง อานาจ บารมี
    ก. เป็ นสิ่ งยึดเหนี่ยวจิตใจ
                                                7. ศาสนาใดมีจุดเด่นในเรื่ องหลักธรรมคาสอน
    ข. เป็ นเครื่ องมือสร้างความสามัคคี
                                                   เกี่ยวกับเรื่ อง “ความรัก”
    ค. เป็ นมรดกของสังคม
                                                    ก. ศาสนาพุทธ
    ง. เป็ นเครื่ องหมายของสังคม
                                                    ข. ศาสนาพราหมณ์-ฮินดู
                                                    ค. ศาสนาคริ สต์
                                                    ง. ศาสนาอิสลาม
5

8. ข้อใดมิใช่ ชื่อของคัมภีร์ในศาสนา            12. การประกอบพิธีฮจญ์ เป็ นกิจกรรมที่
                                                                    ั
   ก. คัมภีร์พระเวท                                เกี่ยวข้องกับศาสนาใด
   ข. คัมภีร์ไบเบิล                                 ก. ศาสนาคริ สต์
   ค. คัมภีร์อลกุรอาน
                 ั                                  ข. ศาสนาพุทธ
   ง. คัมภีร์แห่งสัจจะ                              ค. ศาสนาพราหมณ์
                                                    ง. ศาสนาอิสลาม
9. ใครนาหลักธรรมไปใช้ในชีวตประจาวัน
                              ิ
    น้ อยที่สุด                                13. ข้อใดไม่ ใช่ คุณค่าของศาสนา
    ก. กิจจานาอาหารไปเลี้ยงสุ นขจรจัด
                                ั                  ก. เป็ นที่ยดเหนี่ยวจิตใจ
                                                                ึ
        แถวบ้านเป็ นประจา                          ข. เป็ นบ่อเกิดแห่งความสามัคคี
    ข. เกศมณี แขวนพระนางพญาติดตัว                  ค. มนุษย์เหนื อกว่าสัตว์
        ตลอดเวลา                                   ง. ทาให้ขาดอิสรภาพ
    ค. ไกรสรเลิกดื่มสุ ราและบุหรี่ แล้วหันมา
                                               14. แหล่งรวบรวมคาสอนของศาสนาพุทธ
        ออกกาลังกายแทน
                                                   จะปรากฎในข้อใด
    ง. กานต์ละหมาดทุกวันมิได้ขาด
                                                   ก. คัมภีร์พระไตรปิ ฎก
               ่
10. ข้อใดจัดอยูในศาสนาประเภทอเทวนิยม               ข. คัมภีร์ไบเบิ้ล
    ก. ศาสนาพุทธ                                   ค. คัมภีร์อลกุรอาน
                                                              ั
    ข. ศาสนาอิสลาม                                 ง. ชุนชิว
    ค. ศาสนาคริ สต์
                                               15. ข้อใดไม่ ใช่ สิ่งสาคัญที่ทาให้เกิดศาสนา
    ง. ศาสนายิว
                                                   ก. ศรัทธา
11. ข้อใดไม่ เกี่ยวข้องกับศาสนา                    ข. ความกลัว
    ก. วัด                                         ค. ความภักดี
    ข. คัมภีร์ไบเบิล ้                             ง. ความรู้แจ้ง
    ค. โมเสส
     ง. พิธีกร
6



                                                             กระดำษคำตอบ

ชื่อ..........................................สกุล.....................................เลขที.่ .........................ชั้ น..........................

คำชี้แจง ให้ นักเรียนกำกบำท (X) ในข้ อ ก ข ค หรือ ง เพียงข้ อเดียว



                                                       ข้อ        ก         ข         ค       ง
                                                        1         ก         ข         ค       ง
                                                        2         ก         ข         ค       ง
                                                        3         ก         ข         ค       ง
                                                        4         ก         ข         ค       ง
                                                        5         ก         ข         ค       ง
                                                        6         ก         ข         ค       ง
                                                        7         ก         ข         ค       ง
                                                        8         ก         ข         ค       ง
                                                        9         ก         ข         ค       ง
                                                       10         ก         ข         ค       ง
                                                       11         ก         ข         ค       ง
                                                       12         ก         ข         ค       ง
                                                       13         ก         ข         ค       ง
                                                       14         ก         ข         ค       ง
                                                       15         ก         ข         ค       ง
7




                             เฉลยแบบทดสอบก่ อนเรียน
                                 บทเรียนสำเร็จรู ป




           1. ค         2. ง           3. ค           4. ง           5. ค
           6. ง         7. ค           8. ง           9. ข           10. ก
           11. ง        12. ง          13. ง          14. ก          15. ง




    ได้ คะแนนเท่ ำไร เอำไป
เปรียบเทียบกับคะแนนทดสอบ
        หลังเรียนนะครับ



                   เกณฑ์ คะแนนกำรประเมินผลกำรเรียนก่อน-หลังเรียน
                       คะแนน       14-15       เรี ยนเก่งมาก
                       คะแนน       11-13       เรี ยนเก่ง
                       คะแนน        7-10       เรี ยนพอใช้
                       คะแนน        0-6        เรี ยนไม่ดีตองปรับปรุ ง
                                                           ้
8




                                      กรอบที่ 1
                                 ควำมหมำยของศำสนำ




                 พจนานุกรมฉบับราชบัญฑิตยสถาน พ.ศ. 2542 ได้นิยามคาว่าศาสนา ดังนี้
        ศาสนา น. ลัทธิ ความเชื่อถือของมนุษย์อนมีหลัก คือ แสดงกาเนิด และสิ้ นสุ ดของ
                                              ั
        โลก เป็ นต้น อันเป็ นไปในฝ่ ายปรมัตถ์ประการหนึ่ง แสดงธรรมเกี่ยวกับบุญ บาป
        อันเป็ นไปในฝ่ ายศีลธรรมประการหนึ่งพร้อมทั้งลัทธิ พิธีที่กระทาตามความเห็น
        หรื อตามคาสังสอนในความเชื่อถือนั้น (ส. (สันสกฤต) ศาสนา ว่า คาสอน,
                      ่
        ข้อบังคับ, ป. (บาลี) สาสน)




คำถำมกรอบที่ 1
                                                                  ่
      พจนานุกรมฉบับราชบัญฑิตยสถาน พ.ศ. 2542 ได้นิยามคาว่าศาสนาไว้วาอย่างไร
9


                                              กรอบที่ 2
                                           จุดกำเนิดศำสนำ



                            ศำสนำเริ่มมีเริ่มขึนเมื่อไร และอย่ำงไรไม่ มีใครทรำบแน่ ชัด แต่
                                               ้
              จำกหลักฐำนทำงประวัติศำสตร์ เช่ น โครงกระดูก เครื่องใช้ ต่ำงๆ ทำให้
              นักมำนุษยวิทยำใช้ ทำเป็ นหลักฐำนมำวิเครำะห์ สั นนิษฐำนว่ำควำมเชื่อ
              เรื่องผีเรื่องวิญญำณ ตลอดจนสิ่ งเร้ นลับเหนือธรรมชำติ เป็ นจุดเริ่มต้ น
              ของศำสนำ เป็ นพืนเพแห่ งควำมเชื่ อเดิมของมนุษย์ ศำสนำต่ ำงๆ มัก
                                      ้
              กล่ ำวถึงเรื่องเมืองนรก เมืองสวรรค์ ผู้มีอำนำจสู งสุ ด มีเรื่องเคำรพรู ป
              บูชำ มีเรื่องเซ่ นสั งเวย ตลอดจนกำรขอควำมคุ้มครองปองกันอันตรำย
                                                                           ้
              จำกสิ่ งทีมองไม่ เห็น เรียกว่ำเป็ นคติควำมเชื่อเรื่องผีสำงเทวดำก่อนต่ อมำ
                          ่
              จึงได้ เกิดพิธีต่ำงๆ ตำมมำ




                                            เฉลยคำตอบกรอบที่ 1

         ศำสนำ น. ลัทธิควำมเชื่ อถือของมนุษย์ อนมีหลัก คือ แสดงกำเนิด และสิ้นสุ ดของโลก เป็ นต้ น
                                               ั
อันเป็ นไปในฝ่ ำยปรมัตถ์ ประกำรหนึ่ง แสดงธรรมเกียวกับบุญ บำป อันเป็ นไปในฝ่ ำยศีลธรรมประกำร
                                                  ่
หนึ่งพร้ อมทั้งลัทธิพธีทกระทำตำมควำมเห็นหรือตำมคำสั่ งสอนในควำมเชื่อถือนั้น (ส. (สั นสกฤต)
                     ิ ี่
ศำสนำ ว่ำ คำสอน, ข้ อบังคับ, ป. (บำลี) สำสน)



        คำถำมกรอบที่ 2
                จำกหลักฐำนทำงประวัติศำสตร์ ทำให้ นักมำนุษยวิทยำใช้ ทำเป็ นหลักฐำนมำ
        วิเครำะห์ สั นนิษฐำนว่ำควำมเชื่อเรื่องอะไรเป็ นจุดกำหนดของศำสนำ
10


                                          กรอบที่ 3
                                        กำเนิดเทพเจ้ ำ



                    ระยะก่อน “สร้ ำงบ้ ำนแปลงเมือง” มนุษย์ อยู่ร่วมกันเป็ นครอบครัว และ
         รวมกันเป็ นโคตรเป็ นตระกูล โดยมี “หัวหน้ ำ” หรือ “ประมุข” เป็ นผู้ดูแลทุกข์ สุข
         และควบคุมคนในหมู่ ตลอดจนเป็ นผู้ประกอบพิธีตำมลัทธิควำมเชื่ อ เมื่อหัวหน้ ำ
         ตำยลงก็มีพธีเคำรพบูชำศพ และเซ่ นไหว้ เพือขอควำมคุ้มครอง จึงเกิดเป็ นคติ
                        ิ                                ่
         ศำสนำทีเ่ รียกว่ำ ลัทธิบูชำผีบรรพบุรุษ ( Ancestor Worship ) ขึน       ้
                    กำรทีมนุษย์ หลำยๆ โคตร หรือหลำยๆ ตระกูลมำอยู่รวมกันทำให้ เกิดกำร
                          ่
         ผสมผสำนทำงวัฒนธรรมเกิดขึน แม้ จะยังนับถือโคตรตระกูลเดิมของตน ก็ถูกเทพ
                                           ้
         เจ้ ำทีมีอำนำจมำกกว่ ำดูดกลืนไป กลำยเป็ นนับถือเทพเจ้ ำประจำชำติ ซึ่งเป็ นเทพ
                ่
         ประจำโคตรตระกูลผู้ทได้ มำเป็ นใหญ่ ในแผ่นดิน กลำยเป็ นเทวรำชแห่ งประเทศขึน
                                   ี่                                                       ้
                    ควำมคิดเกียวกับเทวรำช เป็ นสิ่ งทีช่วยให้ ผ้ ูกระทำชั่ วบรรเทำลง เพรำะได้
                                 ่                     ่
         อำศัยทีคิดว่ ำพระรำชำธิบดีผ้ ทรงปกครองแผ่ นดินทรงลงโทษผู้กระทำชั่ วเมื่อจับตัว
                  ่                      ู
         ได้ ฉันใด เทวรำชก็ย่อมลงโทษผู้ประพฤติชั่วแต่ จับตัวไม่ ได้ ฉันนั้น เข้ ำทำนองทีว่ำ
                                                                                          ่
         “ผู้ ใดทำชั่ วในที่แจ้ งจะถูกมนุษย์ ลงโทษ ผู้ใดทำชั่ วในทีลบจะถูกเทวดำลงโทษ”
                                                                    ่ั




                                                                  เฉลยคำตอบกรอบที่ 2
                                            เรื่ องผีเรื่ องวิญญาณ ตลอดจนสิ่ งเร้นลับเหนื อธรรมชาติ


คำถำมกรอบที่ 3
ควำมคิดพิธีเคำรพบูชำศพ และเซ่ นไหว้ เพือขอควำมคุ้มครอง จึงเกิดเป็ นคติศำสนำ เรียกว่ำอะไร
                                       ่
11


                                            กรอบที่ 4
                                       ควำมสำคัญของศำสนำ

                      ศำสนำทุกศำสนำต่ ำงมีจุดหมำยร่ วมกัน คือ
                      ต้ องกำรให้ มนุษย์ ทุกคนเป็ นคนดีอยู่ร่วมกันอย่ ำงสั นติ




                    ศำสนำมีควำมสำคัญทั้งต่ อบุคคลและสั งคมมำก เช่ น
                   เป็ นสิ่ งยึดเหนี่ยวจิตใจทีทำให้ มนุษย์ มีทพงพำและสร้ ำงควำมมั่นใจในกำร
                                               ่               ่ี ึ่
                    ดำเนินชีวต   ิ
                   เป็ นเครื่องมือในกำรสำนสร้ ำงควำมสมำนสำมัคคีกนของสมำชิกในสั งคม
                                                                      ั
                   เป็ นบรรทัดฐำนในกำรประพฤติปฏิบัติของสมำชิกในสั งคม
                   เป็ นเครื่องมือในกำรอบรมขัดเกลำสมำชิกของสั งคม
                   เป็ นพืนฐำนของขนบธรรมเนียมประเพณี
                             ้
                   เป็ นเครื่องหมำยของสั งคม ศำสนำจะเป็ นสั ญลักษณ์ที่แสดงให้ เห็นถึง
                    ควำมเป็ นอันหนึ่งอันเดียวกันของประชำชน
                   เป็ นมรดกของสั งคม ศำสนำถือเป็ นมรดกทำงวัฒนธรรมทีสำคัญยิ่งของ
                    สั งคมโลก
                




คำถำมกรอบที่ 4                                                  เฉลยคำตอบกรอบที่ 5
ศำสนำทุกศำสนำต่ ำงมีจุดหมำยร่ วมกัน คืออะไร                            ลัทธิบูชำผีบรรพบุรุษ
12


                                   กรอบที่ 5
                               ลักษณะของศำสนำ


       ศำสนำมีจุดมุ่งหมำยเดียวกัน คือ มุ่งสั่ งสอนให้ สังคมมนุษย์ อยู่ร่วมกันอย่ ำงสงบสุ ข
 ตลอดจนเป็ นที่รวมของพิธีกรรม ศิลปกรรม วัฒนธรรม ประเพณี ควำมเชื่ อ และสิ่ งทีเ่ คำรพบูชำ
 สำมำรถนำมำเป็ นเครื่องยึดเหนี่ยวเป็ นทีพงทำงจิตใจได้ ประกอบด้ วยลักษณะ
                                        ่ ึ
 4 ประกำร คือ
       1. กล่ำวถึงควำมเชื่อถือในอำนำจ ซึ่งเป็ นนำมธรรม
       2. กล่ำวถึงหลักศีลธรรมจรรยำและกฎเกณฑ์ ควำมประพฤติของศำสนิกชนในระดับต่ ำงๆ
       3. กล่ ำวถึงจุดมุ่งหมำยสู งสุ ด เช่ นกำรเข้ ำถึงนิพพำนของพระพุทธศำสนำ เป็ นต้ น
       4. กล่ำวถึงหลักเกณฑ์ ในกำรประกอบพิธีกรรมต่ ำงๆทำงศำสนำ




                                                   เฉลยคำตอบกรอบที่ 4

                                          ศำสนำทุกศำสนำต่ ำงมีจุดหมำยร่ วมกัน คือ
                                  ต้ องกำรให้ มนุษย์ ทุกคนเป็ นคนดีอยู่ร่วมกันอย่ ำงสั นติ




คำถำมกรอบที่ 5                     ลักษณะของศำสนำ มีกประกำร ได้ แก่อะไรบ้ ำง
                                                     ี่
13


                                     กรอบที่ 6
                               ศำสนำกับกำรดำเนินชีวต
                                                   ิ




          ทุกศำสนำมีหลักธรรมคำสอน และเครื่องหมำยทีบ่งบอกควำมเป็ นศำสนำนั้นๆ
                                                          ่
  ศำสนำเป็ นทีพงทำงจิตใจมนุษย์ นำพำชี วตให้ เจริญรุ่ งเรือง มุ่งอบรมสั่ งสอนให้ สมำชิ ก
               ่ ึ่                        ิ
  ในสั งคมเป็ นคนดี มีคุณธรรม พระบำทสมเด็จพระเจ้ ำอยู่หัวภูมพลอดุลยเดช
                                                                 ิ
  พระมหำกษัตริย์ผ้ ูทรงเป็ นทีเ่ คำรพของปวงชนชำวไทยทั้งประเทศ ก็ทรงประพฤติตำม
  หลักพระพุทธศำสนำ เป็ นแบบอย่ ำงแก้ ข้ำแผ่ นดิน
          1. ให้ ควำมอดทน มุ่งมั่น ยึดธรรม และควำมถูกต้ อง
          2. ให้ มีควำมอ่อนน้ อมถ่ อมตน เรียบง่ ำย ประหยัด
          3. ให้ ร้ ู จักทำควำมคิดเห็น เคำรพควำมคิดเห็นที่แตกต่ ำง
          กำรดำเนินชี วตของประชำชนควรจะต้ องยึดหลักธรรมะ ไม่ ว่ำจะอยู่ในฐำนะ
                           ิ
  หรือบทบำทใด เพรำะธรรมะจะทำให้ งำนที่ทำอยู่สำเร็จตำมควำมมุ่งหวัง ทั้งยังช่ วย
  แก้ไขปัญหำและอุปสรรคต่ ำงๆได้




เฉลยคำตอบกรอบที่ 5 4 ประกำร คือ
       1. กล่ำวถึงควำมเชื่อถือในอำนำจ ซึ่งเป็ นนำมธรรม
       2. กล่ำวถึงหลักศีลธรรมจรรยำและกฎเกณฑ์ ควำมประพฤติของศำสนิกชนในระดับต่ ำงๆ
       3. กล่ำวถึงจุดมุ่งหมำยสู งสุ ด เช่ นกำรเข้ ำถึงนิพพำนของพระพุทธศำสนำ เป็ นต้ น
       4. กล่ำวถึงหลักเกณฑ์ ในกำรประกอบพิธีกรรมต่ ำงๆทำงศำสนำ




   คำถำมกรอบที่ 6          กำรดำเนินชีวตของประชำชนควรจะต้ องยึดหลักอะไร
                                       ิ
14



                                         กรอบที่ 7
                                        ศำสนำต่ ำงๆ



         ปัจจุบันมีศำสนำอยู่ 10 ศำสนำ ดังนี้
                 1. ศำสนำพรำหทณ์ -ฮินดู
                 2. ศำสนำเชน
                 3. พุทธศำสนำ
                 4. ศำสนำขงจือ ้
                 5. ศำสนำเต๋ ำ
                 6. ศำสนำไซโรอัสเตอร์ หรือศำสนำชำวปำรซี เกิดขึนในประเทศเเปอร์ เซีย
                                                              ้
                 7. ศำสนำยูดำยของชำวยิวหรือฮิบรู
                 8. ศำสนำคริสต์
                 9. ศำสนำอิสลำม
                 10. ศำสนำซิกข์
                 ศำสนำทั้ง 10 นีล้วนทั้งเกิดขึนในทวีปเอเชีย
                                 ้            ้




                                                  เฉลยคำตอบกรอบที่ 6 หลักธรรมมะ



          คำถำมกรอบที่ 7

ศำสนำทั้ง 10 ศำสนำเกิดขึนในทวีปใด
                        ้
15


                                       กรอบที่ 8
                            หลักธรรมสำคัญของพระพุทธศำสนำ


         คำสอนหัวใจพระพุทธศำสนำ คือ กำรไม่ ทำชั่ วทั้งปวง ทำแต่ ควำมดี และทำ
จิตใจให้ บริสุทธิ์ กำรจะเป็ นคนดีได้ น้ ันก็ต้องปฏิบัติตำมหลักคำสอน และหลักธรรมสำคัญ
ของพุทธศำสนำซึ่งปรำกฏยู่ในพระไตรปิ ฎก เช่ น ควำมเชื่อเรื่องกรรม อริยสั จ ไตรลักษณ์




          คำถำมกรอบที่ 8
คำสอนหัวใจพระพุทธศำสนำ คือ อะไร




                                                 เฉลยคำตอบกรอบที่ 7
                                                      ทวีปเอเชีย



        ........00.000000000000000000000000000000000000000000..0
16

                                      กรอบที่ 9
                           หลักคำสอนของศำสนำพรำหมณ์ -ฮินดู




                หลักธรรมคำสอนของศำสนำพรำหมณ์ -ฮินดู มีรำกฐำนจำกคติศรัทธำควำมเชื่อที่
       หลำกหลำย ดังนี้
                1. ยอมรับนับถือคัมภีร์พระเวท และคัมภีร์อนตำมควำมเชื่อของตน
                                                                   ื่
                2. ภักดีต่อเทพเจ้ ำสู งสุ ด ได้ แก่ พระพรหม พระวิษณุ พระศิวะ และสรรเสริ ญ
       บูชำเทพเจ้ ำนั้นๆ รวมไปถึงสิ่ งทีเ่ หนือเทพเจ้ ำองค์ น้ ัน ทั้งเชิ งสั ญลักษณ์ และทิพยภำวะ
                3. เชื่อถือเรื่องกรรม และกำรเวียนว่ำยตำยเกิด บนพืนฐำนของควำมมีตัวตน ที่
                                                                           ้
       เรียกว่ำ อำตมัน
                4. ปฏิบัติหลักธรรมประเพณีพธีกรรม ทั้งทีจำเพำะแก่วรรณะของตน และที่
                                                   ิ             ่
       สำธำรณะแก่ ฮินดูท้งปวง เช่ น พิธีศรำท (สั งเวยด้ วยก้ อนข้ ำว) เป็ นต้ น
                             ั
       หลักธรรมสำคัญของศำสนำพรำหมณ์ -ฮินดู ซึ่งได้ แก่
       1 หลักอำศรม 4
                อำศรม 4 โดยทัวไปหมำยถึง ทีอยู่ของนักพรต ในทีนี้หมำยถึง ขั้นตอนของกำร
                                    ่                ่                       ่
       ปฏิบัติตนตำมวัย เพือให้ ชีวตดีขึน
                                  ่   ิ ้
       2. หลักปุรุษำรถะ (เปำหมำยกำรดำเนินชี วตของมนุษย์ )
                                ้                      ิ
       3. หลักปรมำตมัน และโมกษะ
                ปรมำตมัน แปลว่ำ “ อำตมันสู งสุ ด” ศำสนำพรำหมณ์ -ฮินดูถือว่ ำเป็ นพลัง
       ธรรมชำติ หรือปฐมวิญญำณ ทีเ่ ป็ นเหตุกำรณ์ เกิดของทุกสิ่ ง เป็ นอมตะและไม่ สิ้นสุ ด
       โมกษะ หรื อ นิรวาน
       ปราศจากกรรมผูกพัน
       เฉลยคำตอบกรอบที่ 8 กำรไม่ ทำชั่ วทั้งปวง ทำแต่ ควำมดี และทำจิตใจให้ บริสุทธิ์



    คำถำมกรอบที่ 9            เทพเจ้ ำสู งสุ ดของศำสนำพรำหมณ์ -ฮินดู คือใคร
.
17


                                                  กรอบที่ 10
                                          หลักคำสอนของศำสนำอิสลำม


                    หลักคำสอนของศำสนำอิสลำมจะปรำกฏอยู่ในพระมหำคัมภีร์อลกุรอำน ซึ่งถือเป็ น
                                                                       ั
            วจนะของพระเจ้ ำ คือ อัลเลำะฮฺ (ซ.บ.) และแบบคำสอนตลอดจนจริยวัตรของท่ำนศำสดำ
            มุฮัมมัด (ซ.บ.) เรียกว่ ำ ซุ นนะห์

                                                     หลักศรัทธา 6 ประการ ผูที่เป็ นมุสลิมต่อเชื่ อหรื อ
                                                                            ้
                                            ศรัทธาในหลัก 6 ประการ ดังนี้
                                                     1. ศรัทธาในอัลเลาะฮฺ (ซ.บ.) คือ เชื่ อว่าในสากล
                                            โลกนี้มีอลเลาะฮฺ (ซ.บ.) พระองค์เดียวเท่านั้น
                                                      ั
                                                     2. ศรัทธาในบรรดามะลาอีกะห์ (ทูตสวรรค์)
                                                     3. ศรัทธาในคัมภีร์แห่งพระอัลเลาะฮฺ (ซ.บ.)
                                                     4. ศรัทธาในบรรดาศาสนทูต
                                                     5. ศรัทธาในวันพิพากษาโลก
                                                     6. ศรัทธาในกฎสภาวะของพระเจ้า

    หลักปฏิบัติ 5 ประกำร
                 1. กำรปฏิญำณตน หัวใจของอิสลำม คือ กำร
    ยอมรับว่ำมีพระเจ้ ำองค์ เดียว
                 2. กำรละหมำด คือ กำรแสดงควำมเคำรพต่ อพระ
    เจ้ ำทั้งร่ ำงกำยและจิตใจ
                 3. กำรถือศีลอด หมำยถึง กำรละเว้น
                 4. กำรบริจำคซำกำต
                 5. กำรประกอบพิธีฮัจญ์


คำถำมกรอบที่ 10
      หลักปฏิบัติ 5 ประกำรประกอบด้ วยอะไรบ้ ำง
                                                         เฉลยคำตอบกรอบที่ 9
                                                                พระพรหม พระวิษณุ พระศิวะ
18

                                            กรอบที่ 11
                                     หลักคำสอนของศำสนำคริสต์




                                       หลักธรรมคำสอนของศำสนำคริสต์ จะปรำกฏอยู่ใน
                              คัมภีร์ไบเบิล (Bible) ดังนี้


       1. บำปกำหนด
       2. ควำมรัก คือ ควำมรัก ควำมเมตตำ ซึ่งเป็ นแก่นแห่ งจริยธรรม
          ของศำสนำคริสต์
       3. หลักตรีเอกำนุภำพ ศำสนำคริสต์ สอนว่ ำมีพระเจ้ ำองค์ เดียวแต่
          มีสำมส่ วนหมำยถึง พระบิดำ พระบุตร และพระจิต
       4. อำณำจักรพระเจ้ ำ คือ ศำสนจักร ทีกลุ่มชำวคริสต์ ทวโลกมี
                                             ่            ั่
          ควำมศรัทธำเป็ นอันหนึ่งอันเดียวกัน
       5. บัญญัติ 10 ประกำร




  เฉลยคำตอบกรอบที่ 10
         1. กำรปฏิญำณตน หัวใจของอิสลำม คือ กำรยอมรับว่ำมีพระเจ้ ำองค์ เดียว
         2. กำรละหมำด คือ กำรแสดงควำมเคำรพต่ อพระเจ้ ำทั้งร่ ำงกำยและจิตใจ
         3. กำรถือศีลอด หมำยถึง กำรละเว้น
         4. กำรบริจำคซำกำต
         5. กำรประกอบพิธีฮัจญ์


คำถำมกรอบที่ 11          หลักคำสอนของศำสนำคริสต์ จำรึกไว้ทไหน
                                                          ี่
19


                                       กรอบที่ 12
                          หลักธรรมกับกำรนำไปใช้ ในชีวตประจำวัน
                                                     ิ




              ทุกศำสนำมีควำมสอดคล้ องกันเปำหมำยสู งสุ ดทีจะทำให้ เรำเข้ ำถึงควำมสุ ขที่
                                                 ้              ่
     แท้ จริงและวิถีดำเนินชี วตเพื่อทีจะเข้ ำถึงสภำวะอันเป็ นที่สุดนั้น โดยกำรยึดมั่นและทำ
                              ิ       ่
     ควำมดีตำมหลักกำรของศำสนำ ถึงแม้ จะนับถือศำสนำต่ ำงกัน เมื่อพิจำรณำหลักธรรม
     ของศำสนำดังกล่ ำวข้ ำงต้ นแล้ ว จะเห็นว่ ำมีควำมสอดคล้ องกันในกำรปลูกฝังควำมเป็ น
     คนดี และศำสนิกชนสำมำรถนำไปใช้ ในชีวตประจำวันได้ คือ
                                                   ิ
              1. เว้ นจำกกำรทำชั่ วและมุ่งทำควำมดี
              2. ควำมรัก ควำมเมตตำ
              3. กำรเสี ยสละหรือกำรสั งคมสงเครำะห์
              4. ควำมอุตสำหะและกำรพัฒนำตนเอง
              5. ควำมยุตธรรม
                          ิ




                                    เฉลยคำตอบกรอบที่ 11

                                     คัมภีร์ไบเบิล (Bible)



คำถำมกรอบที่ 12
      กำรปลูกฝังควำมเป็ นคนดี และศำสนิกชนสำมำรถนำไปใช้ ในชี วตประจำวันได้ แก่ อะไรบ้ ำง
                                                             ิ
20



      เฉลยคำตอบกรอบที่ 12




1.   เว้ นจำกกำรทำชั่ วและมุ่งทำควำมดี
2.   ควำมรัก ควำมเมตตำ
3.   กำรเสี ยสละหรือกำรสั งคมสงเครำะห์
4.   ควำมอุตสำหะและกำรพัฒนำตนเอง
5.   ควำมยุติธรรม




              ตอบถูกหมดใช่ ไหมคะ......ลองไปทำ
               แบบทดสอบหลังเรียนด้ วยนะคะ
21



                                 แบบทดสอบหลังเรียน
                         เรื่อง ควำมรู้ เบืองต้ นเกียวกับศำสนำ
                                           ้        ่

คำสั่ ง ให้ นักเรียนเลือกคำตอบทีถูกต้ องทีสุด
                                ่         ่

1. ใครนาหลักธรรมไปใช้ในชีวตประจาวัน
                              ิ                 4. ข้อใดมิใช่ ความสอดคล้องของหลักธรรม
    น้ อยที่สุด                                    ในแต่ละศาสนา
    ก. กิจจานาอาหารไปเลี้ยงสุ นขจรจัด
                                ั                   ก. ความยุติธรรม
        แถวบ้านเป็ นประจา                           ข. ความรัก ความเมตตา
    ข. เกศมณี แขวนพระนางพญาติดตัว                   ค. การทาความดี
        ตลอดเวลา                                    ง. การมุ่งสร้างชื่อเสี ยง อานาจ บารมี
    ค. ไกรสรเลิกดื่มสุ ราและบุหรี่ แล้วหันมา
                                                5. เหตุใดศาสนาทุกศาสนาเน้นเรื่ อง
        ออกกาลังกายแทน
                                                   ความยุติธรรม
    ง. กานต์ละหมาดทุกวันมิได้ขาด
                                                    ก. เพราะเป็ นลักษณะของการพัฒนาตนเอง
2. ข้อใดมิใช่ชื่อของคัมภีร์ในศาสนา                  ข. เพราะเป็ นลักษณะของความอุตสาหะ
   ก. คัมภีร์พระเวท                                 ค. เพราะเป็ นแกนกลางของสันติสุข
   ข. คัมภีร์ไบเบิล                                 ง. เพราะเป็ นลักษณะของการเสี ยสละ
   ค. คัมภีร์อลกุรอาน
                ั
                                                6. ศาสนามีอิทธิ พลในการก่อกาเนิดสิ่ งใด
   ง. คัมภีร์แห่งสัจจะ
                                                   ก. พิธีกรรม
3. ศาสนาใดมีจุดเด่นในเรื่ องหลักธรรมคาสอน          ข. ศิลปกรรม
   เกี่ยวกับเรื่ อง “ความรัก”                      ค. ประเพณี
    ก. ศาสนาพุทธ                                   ง. ถูกทุกข้อ
    ข. ศาสนาพราหมณ์-ฮินดู
    ค. ศาสนาคริ สต์
    ง. ศาสนาอิสลาม
22

7. “สังคมไทยเป็ นสังคมแห่งเมืองพุทธ” จาก      11. แหล่งรวบรวมคาสอนของศาสนาพุทธ
    คากล่าวนี้แสดงถึงความสาคัญของศาสนา            จะปรากฎในข้อใด
    ประการใด                                      ก. คัมภีร์พระไตรปิ ฎก
    ก. เป็ นสิ่ งยึดเหนี่ยวจิตใจ                  ข. คัมภีร์ไบเบิ้ล
    ข. เป็ นเครื่ องมือสร้างความสามัคคี           ค. คัมภีร์อลกุรอาน
                                                             ั
    ค. เป็ นมรดกของสังคม                          ง. ชุนชิว
    ง. เป็ นเครื่ องหมายของสังคม
                                              12. ข้อใดไม่ ใช่ คุณค่าของศาสนา
8. ข้อใดกล่าวถึงกาเนิดของศาสนาไม่ ถูกต้อง         ก. เป็ นที่ยดเหนี่ยวจิตใจ
                                                               ึ
   ก. ความเชื่อเรื่ องผี วิญญาณ                   ข. เป็ นบ่อเกิดแห่งความสามัคคี
   ข. ความเชื่อเรื่ องไสยศาสตร์ การบูชายัญ        ค. มนุษย์เหนื อกว่าสัตว์
   ค. ความแปรผันของธรรมชาติ                       ง. ทาให้ขาดอิสรภาพ
   ง. ความต้องการเป็ นผูนาในสังคม
                            ้
                                              13. การประกอบพิธีฮจญ์ เป็ นกิจกรรมที่
                                                                   ั
9. วัตถุประสงค์หลักของทุก ๆ ศาสนา                 เกี่ยวข้องกับศาสนาใด
   ที่เหมือนกันคือสิ่ งใด                          ก. ศาสนาคริ สต์
   ก. เพื่อประเทศชาติมีความมันคง เข้มแข็ง
                                ่                  ข. ศาสนาพุทธ
   ข. เพื่อสร้างฐานอานาจ พลัง และ                  ค. ศาสนาพราหมณ์
       ความเป็ นผูนา
                  ้                                ง. ศาสนาอิสลาม
   ค. ส่ งเสริ มความเข้าใจอันดี มีสันติ
       ขจัดความแตกร้าวระหว่างมนุษยชาติ        14. ข้อใดไม่ เกี่ยวข้องกับศาสนา
   ง. ส่ งเสริ มหลักประชาธิ ปไตย สิ ทธิ           ก. วัด
       เสรี ภาพ                                   ข. คัมภีร์ไบเบิล ้
                                                  ค. โมเสส
10. ข้อใดไม่ ใช่ สิ่งสาคัญที่ทาให้เกิดศาสนา        ง. พิธีกร
    ก. ศรัทธา
                                                             ่
                                              15. ข้อใดจัดอยูในศาสนาประเภทอเทวนิยม
    ข. ความกลัว
                                                  ก. ศาสนาพุทธ
    ค. ความภักดี
                                                  ข. ศาสนาอิสลาม
    ง. ความรู้แจ้ง
                                                  ค. ศาสนาคริ สต์
                                                  ง. ศาสนายิว
23




                                                              กระดำษคำตอบ

ชื่ อ..........................................สกุล.....................................เลขที.่ .........................ชั้ น..........................

คำชี้แจง ให้ นักเรียนกำกบำท (X) ในข้ อ ก ข ค หรือ ง เพียงข้ อเดียว



                                                        ข้อ        ก         ข         ค       ง
                                                         1         ก         ข         ค       ง
                                                         2         ก         ข         ค       ง
                                                         3         ก         ข         ค       ง
                                                         4         ก         ข         ค       ง
                                                         5         ก         ข         ค       ง
                                                         6         ก         ข         ค       ง
                                                         7         ก         ข         ค       ง
                                                         8         ก         ข         ค       ง
                                                         9         ก         ข         ค       ง
                                                        10         ก         ข         ค       ง
                                                        11         ก         ข         ค       ง
                                                        12         ก         ข         ค       ง
                                                        13         ก         ข         ค       ง
                                                        14         ก         ข         ค       ง
                                                        15         ก         ข         ค       ง
24




                      เฉลยแบบทดสอบหลังเรียน
                          บทเรียนสำเร็จรูป



 1. ข         2. ง           3. ค           4. ง           5. ค
 6. ง         7. ค           8. ง           9. ค           10. ง
 11. ก        12. ง          13. ง          14. ง          15. ก




    ได้ คะแนนเท่ ำไร เอำไป
เปรียบเทียบกับคะแนนทดสอบ
         ก่อนเรียนนะคะ



                      เกณฑ์ คะแนนกำรประเมินผลกำรเรียนก่อน-หลังเรียน
                        คะแนน      14-15         เรี ยนดีมาก
                        คะแนน      11-13         เรี ยนดี
                        คะแนน       7-10         เรี ยนพอใช้
                        คะแนน       0-6          เรี ยนไม่ดีควรปรับปรุ ง
25


                                         บรรณำนุกรม


จรัส พยัคฆราชศักดิ์และคณะ. แบบฝึ กหัดพัฒนำกำรเรียนรู้ พระพุทธศำสนำ ชั้นมัธยมศึกษำปี ที่ 4.
         กรุ งเทพมหานคร: วัฒนาพานิช, 2547.
          . หนังสื อเรียนสำระกำรเรียนรู้ พนฐำนพระพุทธศำสนำ ชั้นมัธยมศึกษำปี ที่ 4. กรุ งเทพมหานคร:
                                          ื้
          วัฒนาพานิช, 2550.
ปรี ชา ช้างขวัญยืน. หนังสื อเรียนสำระกำรเรียนรู้ พนฐำนพระพุทธศำสนำ ชั้ นมัธยมศึกษำปี ที่ 4.
                                                     ื้
         กรุ งเทพมหานคร: ไทยวัฒนาพานิช, 2547.
พระมหาวุฒิชย วชิรเมธี. หนังสื อเรียนสำระกำรเรียนรู้ พนฐำนพระพุทธศำสนำ ชั้นมัธยมศึกษำปี ที่ 4.
               ั                                           ื้
         กรุ งเทพมหานคร: แม็คจากัด, 2547.
พระระพิน พุทฺธิสาโร. หนังสื อเรียนสำระกำรเรียนรู้ พนฐำนศำสนำ ศีลธรรมจริยธรรม
                                                        ื้
         ชั้นมัธยมศึกษำปี ที่ 4. กรุ งเทพมหานคร: สถาบันพัฒนาคุณภาพวิชาการ, 2546.
นิภา มานะการ และคณะ. วิถีธรรมวิถีไทย (สั งคมศึกษำ). กรุ งเทพมหานคร : เอมพันธ์ จากัด, 2545.
สุ ขม นวลสกุล และปรี ชา สุ วรรณทัต. หนังสื อเรียนสั งคมศึกษำ ชั้นมัธยมศึกษำปี ที่ 4.
    ุ
         กรุ งเทพมหานคร : วัฒนาพานิช จากัด, 2533.
สุ ชาดา วราหพันธ์. วิถีธรรมวิถีไทย (พระพุทธศำสนำ). กรุ งเทพมหานคร : เอมพันธ์ จากัด, 2551.
โสภา พุทธาและคณะ. วิถีธรรมวิถีไทย. กรุ งเทพมหานคร : ศูนย์ส่งเสริ มอาชีวะ, 2551.

More Related Content

What's hot

เรื่องศาสนาเชน
เรื่องศาสนาเชนเรื่องศาสนาเชน
เรื่องศาสนาเชนTongsamut vorasan
 
โพธิยาลัย เดือน กุมภาพันธ์ 2555
โพธิยาลัย เดือน กุมภาพันธ์ 2555โพธิยาลัย เดือน กุมภาพันธ์ 2555
โพธิยาลัย เดือน กุมภาพันธ์ 2555Panda Jing
 
ศาสนาสากล โดย ครูอัมพร
ศาสนาสากล                โดย ครูอัมพรศาสนาสากล                โดย ครูอัมพร
ศาสนาสากล โดย ครูอัมพรampy48
 
เปรียบเทียบความเชื่อเรื่องความดีความชั่วในศาสนาต่างๆ
เปรียบเทียบความเชื่อเรื่องความดีความชั่วในศาสนาต่างๆเปรียบเทียบความเชื่อเรื่องความดีความชั่วในศาสนาต่างๆ
เปรียบเทียบความเชื่อเรื่องความดีความชั่วในศาสนาต่างๆAnchalee BuddhaBucha
 
เป้าหมายของชีวิตตามหลักพระพุทธศาสนา
เป้าหมายของชีวิตตามหลักพระพุทธศาสนาเป้าหมายของชีวิตตามหลักพระพุทธศาสนา
เป้าหมายของชีวิตตามหลักพระพุทธศาสนาppompuy pantham
 
พุทธวิธีในการสอน พระพรหมคุณาภรณ์(ป.อ.ปยุตฺโต)
พุทธวิธีในการสอน พระพรหมคุณาภรณ์(ป.อ.ปยุตฺโต) พุทธวิธีในการสอน พระพรหมคุณาภรณ์(ป.อ.ปยุตฺโต)
พุทธวิธีในการสอน พระพรหมคุณาภรณ์(ป.อ.ปยุตฺโต) niralai
 
คุณธรรมสำหรับครู
คุณธรรมสำหรับครูคุณธรรมสำหรับครู
คุณธรรมสำหรับครูsuwantan
 
พระธาตุชเวดากอง
พระธาตุชเวดากองพระธาตุชเวดากอง
พระธาตุชเวดากองThammasat University
 
พุทธวิธีในการสอน(ศึกษาวิจัยจากพระไตรปิฎก)
พุทธวิธีในการสอน(ศึกษาวิจัยจากพระไตรปิฎก)พุทธวิธีในการสอน(ศึกษาวิจัยจากพระไตรปิฎก)
พุทธวิธีในการสอน(ศึกษาวิจัยจากพระไตรปิฎก)niralai
 
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญาปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญาpentanino
 
สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์
สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์
สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์pentanino
 
เหตุผลแห่งข้อเท็จจริงตามหลักกาลามสูตร
เหตุผลแห่งข้อเท็จจริงตามหลักกาลามสูตรเหตุผลแห่งข้อเท็จจริงตามหลักกาลามสูตร
เหตุผลแห่งข้อเท็จจริงตามหลักกาลามสูตรsolarcell2
 
สุขอนามัยตามหลักพุทธปรัชญา
สุขอนามัยตามหลักพุทธปรัชญาสุขอนามัยตามหลักพุทธปรัชญา
สุขอนามัยตามหลักพุทธปรัชญาpentanino
 

What's hot (15)

เรื่องศาสนาเชน
เรื่องศาสนาเชนเรื่องศาสนาเชน
เรื่องศาสนาเชน
 
โพธิยาลัย เดือน กุมภาพันธ์ 2555
โพธิยาลัย เดือน กุมภาพันธ์ 2555โพธิยาลัย เดือน กุมภาพันธ์ 2555
โพธิยาลัย เดือน กุมภาพันธ์ 2555
 
ศาสนาสากล โดย ครูอัมพร
ศาสนาสากล                โดย ครูอัมพรศาสนาสากล                โดย ครูอัมพร
ศาสนาสากล โดย ครูอัมพร
 
เปรียบเทียบความเชื่อเรื่องความดีความชั่วในศาสนาต่างๆ
เปรียบเทียบความเชื่อเรื่องความดีความชั่วในศาสนาต่างๆเปรียบเทียบความเชื่อเรื่องความดีความชั่วในศาสนาต่างๆ
เปรียบเทียบความเชื่อเรื่องความดีความชั่วในศาสนาต่างๆ
 
ข้อสอบโควตา ม
ข้อสอบโควตา มข้อสอบโควตา ม
ข้อสอบโควตา ม
 
เป้าหมายของชีวิตตามหลักพระพุทธศาสนา
เป้าหมายของชีวิตตามหลักพระพุทธศาสนาเป้าหมายของชีวิตตามหลักพระพุทธศาสนา
เป้าหมายของชีวิตตามหลักพระพุทธศาสนา
 
พุทธวิธีในการสอน พระพรหมคุณาภรณ์(ป.อ.ปยุตฺโต)
พุทธวิธีในการสอน พระพรหมคุณาภรณ์(ป.อ.ปยุตฺโต) พุทธวิธีในการสอน พระพรหมคุณาภรณ์(ป.อ.ปยุตฺโต)
พุทธวิธีในการสอน พระพรหมคุณาภรณ์(ป.อ.ปยุตฺโต)
 
คุณธรรมสำหรับครู
คุณธรรมสำหรับครูคุณธรรมสำหรับครู
คุณธรรมสำหรับครู
 
พระธาตุชเวดากอง
พระธาตุชเวดากองพระธาตุชเวดากอง
พระธาตุชเวดากอง
 
พุทธวิธีในการสอน(ศึกษาวิจัยจากพระไตรปิฎก)
พุทธวิธีในการสอน(ศึกษาวิจัยจากพระไตรปิฎก)พุทธวิธีในการสอน(ศึกษาวิจัยจากพระไตรปิฎก)
พุทธวิธีในการสอน(ศึกษาวิจัยจากพระไตรปิฎก)
 
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญาปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
 
สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์
สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์
สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์
 
เหตุผลแห่งข้อเท็จจริงตามหลักกาลามสูตร
เหตุผลแห่งข้อเท็จจริงตามหลักกาลามสูตรเหตุผลแห่งข้อเท็จจริงตามหลักกาลามสูตร
เหตุผลแห่งข้อเท็จจริงตามหลักกาลามสูตร
 
สุขอนามัยตามหลักพุทธปรัชญา
สุขอนามัยตามหลักพุทธปรัชญาสุขอนามัยตามหลักพุทธปรัชญา
สุขอนามัยตามหลักพุทธปรัชญา
 
สังคม
สังคมสังคม
สังคม
 

Similar to บทที่ 1

การอสอนประวัติศาสตร์
การอสอนประวัติศาสตร์การอสอนประวัติศาสตร์
การอสอนประวัติศาสตร์teacherhistory
 
แผนการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา
แผนการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนาแผนการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา
แผนการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนาtassanee chaicharoen
 
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศศึกษา
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศศึกษาหน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศศึกษา
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศศึกษาtassanee chaicharoen
 
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา2012
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา2012หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา2012
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา2012tassanee chaicharoen
 
02 สังคมศึกษา
02 สังคมศึกษา02 สังคมศึกษา
02 สังคมศึกษาJustmin PocoYo
 
ข้อสอบโควตาสังคมศึกษา 2550
ข้อสอบโควตาสังคมศึกษา 2550ข้อสอบโควตาสังคมศึกษา 2550
ข้อสอบโควตาสังคมศึกษา 2550Ging Kanok-on
 
02 สังคมศึกษา
02 สังคมศึกษา02 สังคมศึกษา
02 สังคมศึกษาFaralee Benahmad
 
สังคมศึกษา โควต้า มช.
สังคมศึกษา โควต้า มช.สังคมศึกษา โควต้า มช.
สังคมศึกษา โควต้า มช.Maya NNcuhmmy
 
02 สังคมศึกษา
02 สังคมศึกษา02 สังคมศึกษา
02 สังคมศึกษาFaralee Benahmad
 
ข้อสอบโควตาสังคมศึกษา 2551
ข้อสอบโควตาสังคมศึกษา 2551ข้อสอบโควตาสังคมศึกษา 2551
ข้อสอบโควตาสังคมศึกษา 2551Faralee Benahmad
 
02 สังคมศึกษา
02 สังคมศึกษา02 สังคมศึกษา
02 สังคมศึกษาFaralee Benahmad
 
02 สังคมศึกษา
02 สังคมศึกษา02 สังคมศึกษา
02 สังคมศึกษาJustmin PocoYo
 
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนาหน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนาtassanee chaicharoen
 
บทที่ 2วิจัยการอ่าน
บทที่ 2วิจัยการอ่านบทที่ 2วิจัยการอ่าน
บทที่ 2วิจัยการอ่านKanjana Pothinam
 
โรงเรียนคุณธรรมชั้นนำ (Good practice)
โรงเรียนคุณธรรมชั้นนำ (Good practice)โรงเรียนคุณธรรมชั้นนำ (Good practice)
โรงเรียนคุณธรรมชั้นนำ (Good practice)yana54
 

Similar to บทที่ 1 (20)

Pat 5
Pat 5Pat 5
Pat 5
 
การอสอนประวัติศาสตร์
การอสอนประวัติศาสตร์การอสอนประวัติศาสตร์
การอสอนประวัติศาสตร์
 
การอสอนประวัติศาสตร์
การอสอนประวัติศาสตร์การอสอนประวัติศาสตร์
การอสอนประวัติศาสตร์
 
02 สังคมศึกษา
02 สังคมศึกษา02 สังคมศึกษา
02 สังคมศึกษา
 
แผนการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา
แผนการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนาแผนการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา
แผนการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา
 
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศศึกษา
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศศึกษาหน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศศึกษา
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศศึกษา
 
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา2012
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา2012หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา2012
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา2012
 
02 สังคมศึกษา
02 สังคมศึกษา02 สังคมศึกษา
02 สังคมศึกษา
 
ข้อสอบโควตาสังคมศึกษา 2550
ข้อสอบโควตาสังคมศึกษา 2550ข้อสอบโควตาสังคมศึกษา 2550
ข้อสอบโควตาสังคมศึกษา 2550
 
02 สังคมศึกษา
02 สังคมศึกษา02 สังคมศึกษา
02 สังคมศึกษา
 
สังคมศึกษา โควต้า มช.
สังคมศึกษา โควต้า มช.สังคมศึกษา โควต้า มช.
สังคมศึกษา โควต้า มช.
 
02 สังคมศึกษา
02 สังคมศึกษา02 สังคมศึกษา
02 สังคมศึกษา
 
ข้อสอบโควตาสังคมศึกษา 2551
ข้อสอบโควตาสังคมศึกษา 2551ข้อสอบโควตาสังคมศึกษา 2551
ข้อสอบโควตาสังคมศึกษา 2551
 
02 สังคมศึกษา
02 สังคมศึกษา02 สังคมศึกษา
02 สังคมศึกษา
 
02 สังคมศึกษา
02 สังคมศึกษา02 สังคมศึกษา
02 สังคมศึกษา
 
ภาค ก ความประพฤติและการปฏิบัติของวิชาชีพครูผู้ช่วย2562อัพเดทแล้ว
ภาค ก ความประพฤติและการปฏิบัติของวิชาชีพครูผู้ช่วย2562อัพเดทแล้วภาค ก ความประพฤติและการปฏิบัติของวิชาชีพครูผู้ช่วย2562อัพเดทแล้ว
ภาค ก ความประพฤติและการปฏิบัติของวิชาชีพครูผู้ช่วย2562อัพเดทแล้ว
 
หน่วยที่๙
หน่วยที่๙หน่วยที่๙
หน่วยที่๙
 
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนาหน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา
 
บทที่ 2วิจัยการอ่าน
บทที่ 2วิจัยการอ่านบทที่ 2วิจัยการอ่าน
บทที่ 2วิจัยการอ่าน
 
โรงเรียนคุณธรรมชั้นนำ (Good practice)
โรงเรียนคุณธรรมชั้นนำ (Good practice)โรงเรียนคุณธรรมชั้นนำ (Good practice)
โรงเรียนคุณธรรมชั้นนำ (Good practice)
 

บทที่ 1

  • 1. 1 คำชี้แจง ในกำรใช้ บทเรียนสำเร็จรู ปสำหรับครู 1. ครู ตองศึกษาเนื้ อหาของบทเรี ยนสาเร็ จรู ปให้เข้าใจเป็ นอย่างดี เป็ นการเตรี ยมการสอน ้ 2. ก่อนสอนครู ตองเตรี ยมบทเรี ยนสาเร็ จรู ปให้พร้อมเพียงพอกับจานวนนักเรี ยน ้ 3. ก่อนสอนครู ตองชี้แจงให้นกเรี ยนเข้าใจเกี่ยวกับการใช้บทเรี ยนสาเร็ จรู ป เพื่อให้ ้ ั นักเรี ยนรู้บทบาทและหน้าที่ของนักเรี ยน 4. ก่อนสอนครู ตองชี้แจงปลูกฝังคุณธรรมด้านความซื่ อสัตย์ ด้านการรักษาสิ่ งของ ้ ของส่ วนรวม โดยไม่ขีดเขียนหรื อทาให้บทเรี ยนฉี กขาดอย่างเคร่ งครัด 5. ครู ตองให้นกเรี ยนทาแบบทดสอบก่อนเรี ยน เพื่อสารวจความรู ้พ้ืนฐานและดูการพัฒนา ้ ั ในการเรี ยน 6. ขณะนักเรี ยนศึกษาบทเรี ยน ครู ตองเดินดูการทางานของนักเรี ยน เพื่อสังเกตพฤติกรรม ้ การเรี ยนของนักเรี ยน 7. หากนักเรี ยนมีปัญหาในการใช้บทเรี ยน ครู ตองให้คาปรึ กษาแนะนาแก่นกเรี ยนได้ ้ ั 8. ครู ตองคานึงถึงความแตกต่างระหว่างบุคคล ในการเรี ยนการสอนเป็ นสาคัญ ้ 9. การสรุ ปบทเรี ยนควรเป็ นกิจกรรมร่ วมกันของนักเรี ยน 10. หลังการเรี ยนจบแล้ว ต้องให้นกเรี ยนทาแบบทดสอบหลังเรี ยน ั
  • 2. 2 คำชี้แจง ในกำรใช้ บทเรียนสำเร็จรู ปสำหรับนักเรียน บทเรี ยนสาเร็ จรู ปเล่มนี้จดทาขึ้นเพื่อให้นกเรี ยนได้ศึกษาด้วยตนเอง โดยนักเรี ยนจะได้ ั ั ประโยชน์จากบทเรี ยนตามจุดประสงค์ที่ต้ งไว้ ด้วยการปฏิบติตามคาแนะนา ต่อไปนี้ อย่างเคร่ งครัด ั ั 1. นักเรี ยนอ่านจุดประสงค์การเรี ยนรู ้ก่อนลงมือศึกษาบทเรี ยนสาเร็ จรู ป 2. ก่อนศึกษาบทเรี ยนให้นกเรี ยนทาแบบทดสอบก่อนเรี ยนด้วยการเขียนคาตอบลงใน ั กระดาษคาตอบ 3. บทเรี ยนนี้ จะเสนอเนื้ อหาเป็ นหน่วย เรี ยกว่า “กรอบ” 4. นักเรี ยนเริ่ มศึกษาบทเรี ยนไปเรื่ อย ๆ จากกรอบที่ 1 ถึงกรอบสุ ดท้ายโดยไม่เว้นหน้า ห้ามเปิ ดข้ามกรอบ เพราะบทเรี ยนจะไม่ต่อเนื่อง 5. ถ้ามีคาสังหรื อคาถามอย่างไร ขอให้นกเรี ยนปฏิบติตาม ่ ั ั 6. ให้นกเรี ยนตอบคาถามจากกรอบที่ 1 จนถึงกรอบสุ ดท้าย โดยเขียนคาตอบลงใน ั กระดาษหรื อในสมุดกิจกรรม อย่าขีดเขียนใด ๆ ลงในบทเรี ยนสาเร็ จรู ปนี้ 7. เมื่อศึกษาจบแล้วให้นกเรี ยนทาแบบทดสอบหลังเรี ยน ั 8. ตรวจสอบคาตอบ และเปรี ยบเทียบคะแนนก่อนเรี ยนและหลังเรี ยนว่ามีการพัฒนา อย่างไร
  • 3. 3 จุดประสงค์ กำรเรียนรู้ เมื่อนักเรี ยนศึกษาบทเรี ยนสาเร็ จรู ป ประกอบการเรี ยนรายวิชาวิถีธรรมวิถีไทย รหัสวิชา 2000 - 1301 ชุดที่ 1 ความรู ้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนา แล้ว นักเรี ยนสามารถ 1. อธิ บายความหมายและจุดกาเนิดของศาสนาได้ 2. อธิบายความสาคัญของศาสนาได้ 3. อธิบายลักษณะของศาสนาได้ถูกต้อง 4. อธิบายหลักศาสนาได้ถูกต้อง 5. เข้าใจและระบุหลักธรรมของศาสนาต่างๆ ได้
  • 4. 4 แบบทดสอบก่ อนเรียน เรื่อง ควำมรู้ เบืองต้ นเกียวกับศำสนำ ้ ่ คำสั่ ง ให้ นักเรียนเลือกคำตอบทีถูกต้ องทีสุด ่ ่ 1. วัตถุประสงค์หลักของทุก ๆ ศาสนา 4. ศาสนามีอิทธิ พลในการก่อกาเนิดสิ่ งใด ที่เหมือนกันคือสิ่ งใด ก. พิธีกรรม ก. เพื่อประเทศชาติมีความมันคง เข้มแข็ง ่ ข. ศิลปกรรม ข. เพื่อสร้างฐานอานาจ พลัง และ ค. ประเพณี ความเป็ นผูนา ้ ง. ถูกทุกข้อ ค. ส่ งเสริ มความเข้าใจอันดี มีสันติ 5. เหตุใดศาสนาทุกศาสนาเน้นเรื่ อง ขจัดความแตกร้าวระหว่างมนุษยชาติ ความยุติธรรม ง. ส่ งเสริ มหลักประชาธิ ปไตย สิ ทธิ ก. เพราะเป็ นลักษณะของการพัฒนาตนเอง เสรี ภาพ ข. เพราะเป็ นลักษณะของความอุตสาหะ 2. ข้อใดกล่าวถึงกาเนิดของศาสนาไม่ ถูกต้อง ค. เพราะเป็ นแกนกลางของสันติสุข ก. ความเชื่อเรื่ องผี วิญญาณ ง. เพราะเป็ นลักษณะของการเสี ยสละ ข. ความเชื่อเรื่ องไสยศาสตร์ การบูชายัญ 6. ข้อใดมิใช่ ความสอดคล้องของหลักธรรม ค. ความแปรผันของธรรมชาติ ในแต่ละศาสนา ง. ความต้องการเป็ นผูนาในสังคม ้ ก. ความยุติธรรม 3. “สังคมไทยเป็ นสังคมแห่งเมืองพุทธ” จาก ข. ความรัก ความเมตตา คากล่าวนี้แสดงถึงความสาคัญของศาสนา ค. การทาความดี ประการใด ง. การมุ่งสร้างชื่อเสี ยง อานาจ บารมี ก. เป็ นสิ่ งยึดเหนี่ยวจิตใจ 7. ศาสนาใดมีจุดเด่นในเรื่ องหลักธรรมคาสอน ข. เป็ นเครื่ องมือสร้างความสามัคคี เกี่ยวกับเรื่ อง “ความรัก” ค. เป็ นมรดกของสังคม ก. ศาสนาพุทธ ง. เป็ นเครื่ องหมายของสังคม ข. ศาสนาพราหมณ์-ฮินดู ค. ศาสนาคริ สต์ ง. ศาสนาอิสลาม
  • 5. 5 8. ข้อใดมิใช่ ชื่อของคัมภีร์ในศาสนา 12. การประกอบพิธีฮจญ์ เป็ นกิจกรรมที่ ั ก. คัมภีร์พระเวท เกี่ยวข้องกับศาสนาใด ข. คัมภีร์ไบเบิล ก. ศาสนาคริ สต์ ค. คัมภีร์อลกุรอาน ั ข. ศาสนาพุทธ ง. คัมภีร์แห่งสัจจะ ค. ศาสนาพราหมณ์ ง. ศาสนาอิสลาม 9. ใครนาหลักธรรมไปใช้ในชีวตประจาวัน ิ น้ อยที่สุด 13. ข้อใดไม่ ใช่ คุณค่าของศาสนา ก. กิจจานาอาหารไปเลี้ยงสุ นขจรจัด ั ก. เป็ นที่ยดเหนี่ยวจิตใจ ึ แถวบ้านเป็ นประจา ข. เป็ นบ่อเกิดแห่งความสามัคคี ข. เกศมณี แขวนพระนางพญาติดตัว ค. มนุษย์เหนื อกว่าสัตว์ ตลอดเวลา ง. ทาให้ขาดอิสรภาพ ค. ไกรสรเลิกดื่มสุ ราและบุหรี่ แล้วหันมา 14. แหล่งรวบรวมคาสอนของศาสนาพุทธ ออกกาลังกายแทน จะปรากฎในข้อใด ง. กานต์ละหมาดทุกวันมิได้ขาด ก. คัมภีร์พระไตรปิ ฎก ่ 10. ข้อใดจัดอยูในศาสนาประเภทอเทวนิยม ข. คัมภีร์ไบเบิ้ล ก. ศาสนาพุทธ ค. คัมภีร์อลกุรอาน ั ข. ศาสนาอิสลาม ง. ชุนชิว ค. ศาสนาคริ สต์ 15. ข้อใดไม่ ใช่ สิ่งสาคัญที่ทาให้เกิดศาสนา ง. ศาสนายิว ก. ศรัทธา 11. ข้อใดไม่ เกี่ยวข้องกับศาสนา ข. ความกลัว ก. วัด ค. ความภักดี ข. คัมภีร์ไบเบิล ้ ง. ความรู้แจ้ง ค. โมเสส ง. พิธีกร
  • 6. 6 กระดำษคำตอบ ชื่อ..........................................สกุล.....................................เลขที.่ .........................ชั้ น.......................... คำชี้แจง ให้ นักเรียนกำกบำท (X) ในข้ อ ก ข ค หรือ ง เพียงข้ อเดียว ข้อ ก ข ค ง 1 ก ข ค ง 2 ก ข ค ง 3 ก ข ค ง 4 ก ข ค ง 5 ก ข ค ง 6 ก ข ค ง 7 ก ข ค ง 8 ก ข ค ง 9 ก ข ค ง 10 ก ข ค ง 11 ก ข ค ง 12 ก ข ค ง 13 ก ข ค ง 14 ก ข ค ง 15 ก ข ค ง
  • 7. 7 เฉลยแบบทดสอบก่ อนเรียน บทเรียนสำเร็จรู ป 1. ค 2. ง 3. ค 4. ง 5. ค 6. ง 7. ค 8. ง 9. ข 10. ก 11. ง 12. ง 13. ง 14. ก 15. ง ได้ คะแนนเท่ ำไร เอำไป เปรียบเทียบกับคะแนนทดสอบ หลังเรียนนะครับ เกณฑ์ คะแนนกำรประเมินผลกำรเรียนก่อน-หลังเรียน คะแนน 14-15 เรี ยนเก่งมาก คะแนน 11-13 เรี ยนเก่ง คะแนน 7-10 เรี ยนพอใช้ คะแนน 0-6 เรี ยนไม่ดีตองปรับปรุ ง ้
  • 8. 8 กรอบที่ 1 ควำมหมำยของศำสนำ พจนานุกรมฉบับราชบัญฑิตยสถาน พ.ศ. 2542 ได้นิยามคาว่าศาสนา ดังนี้ ศาสนา น. ลัทธิ ความเชื่อถือของมนุษย์อนมีหลัก คือ แสดงกาเนิด และสิ้ นสุ ดของ ั โลก เป็ นต้น อันเป็ นไปในฝ่ ายปรมัตถ์ประการหนึ่ง แสดงธรรมเกี่ยวกับบุญ บาป อันเป็ นไปในฝ่ ายศีลธรรมประการหนึ่งพร้อมทั้งลัทธิ พิธีที่กระทาตามความเห็น หรื อตามคาสังสอนในความเชื่อถือนั้น (ส. (สันสกฤต) ศาสนา ว่า คาสอน, ่ ข้อบังคับ, ป. (บาลี) สาสน) คำถำมกรอบที่ 1 ่ พจนานุกรมฉบับราชบัญฑิตยสถาน พ.ศ. 2542 ได้นิยามคาว่าศาสนาไว้วาอย่างไร
  • 9. 9 กรอบที่ 2 จุดกำเนิดศำสนำ ศำสนำเริ่มมีเริ่มขึนเมื่อไร และอย่ำงไรไม่ มีใครทรำบแน่ ชัด แต่ ้ จำกหลักฐำนทำงประวัติศำสตร์ เช่ น โครงกระดูก เครื่องใช้ ต่ำงๆ ทำให้ นักมำนุษยวิทยำใช้ ทำเป็ นหลักฐำนมำวิเครำะห์ สั นนิษฐำนว่ำควำมเชื่อ เรื่องผีเรื่องวิญญำณ ตลอดจนสิ่ งเร้ นลับเหนือธรรมชำติ เป็ นจุดเริ่มต้ น ของศำสนำ เป็ นพืนเพแห่ งควำมเชื่ อเดิมของมนุษย์ ศำสนำต่ ำงๆ มัก ้ กล่ ำวถึงเรื่องเมืองนรก เมืองสวรรค์ ผู้มีอำนำจสู งสุ ด มีเรื่องเคำรพรู ป บูชำ มีเรื่องเซ่ นสั งเวย ตลอดจนกำรขอควำมคุ้มครองปองกันอันตรำย ้ จำกสิ่ งทีมองไม่ เห็น เรียกว่ำเป็ นคติควำมเชื่อเรื่องผีสำงเทวดำก่อนต่ อมำ ่ จึงได้ เกิดพิธีต่ำงๆ ตำมมำ เฉลยคำตอบกรอบที่ 1 ศำสนำ น. ลัทธิควำมเชื่ อถือของมนุษย์ อนมีหลัก คือ แสดงกำเนิด และสิ้นสุ ดของโลก เป็ นต้ น ั อันเป็ นไปในฝ่ ำยปรมัตถ์ ประกำรหนึ่ง แสดงธรรมเกียวกับบุญ บำป อันเป็ นไปในฝ่ ำยศีลธรรมประกำร ่ หนึ่งพร้ อมทั้งลัทธิพธีทกระทำตำมควำมเห็นหรือตำมคำสั่ งสอนในควำมเชื่อถือนั้น (ส. (สั นสกฤต) ิ ี่ ศำสนำ ว่ำ คำสอน, ข้ อบังคับ, ป. (บำลี) สำสน) คำถำมกรอบที่ 2 จำกหลักฐำนทำงประวัติศำสตร์ ทำให้ นักมำนุษยวิทยำใช้ ทำเป็ นหลักฐำนมำ วิเครำะห์ สั นนิษฐำนว่ำควำมเชื่อเรื่องอะไรเป็ นจุดกำหนดของศำสนำ
  • 10. 10 กรอบที่ 3 กำเนิดเทพเจ้ ำ ระยะก่อน “สร้ ำงบ้ ำนแปลงเมือง” มนุษย์ อยู่ร่วมกันเป็ นครอบครัว และ รวมกันเป็ นโคตรเป็ นตระกูล โดยมี “หัวหน้ ำ” หรือ “ประมุข” เป็ นผู้ดูแลทุกข์ สุข และควบคุมคนในหมู่ ตลอดจนเป็ นผู้ประกอบพิธีตำมลัทธิควำมเชื่ อ เมื่อหัวหน้ ำ ตำยลงก็มีพธีเคำรพบูชำศพ และเซ่ นไหว้ เพือขอควำมคุ้มครอง จึงเกิดเป็ นคติ ิ ่ ศำสนำทีเ่ รียกว่ำ ลัทธิบูชำผีบรรพบุรุษ ( Ancestor Worship ) ขึน ้ กำรทีมนุษย์ หลำยๆ โคตร หรือหลำยๆ ตระกูลมำอยู่รวมกันทำให้ เกิดกำร ่ ผสมผสำนทำงวัฒนธรรมเกิดขึน แม้ จะยังนับถือโคตรตระกูลเดิมของตน ก็ถูกเทพ ้ เจ้ ำทีมีอำนำจมำกกว่ ำดูดกลืนไป กลำยเป็ นนับถือเทพเจ้ ำประจำชำติ ซึ่งเป็ นเทพ ่ ประจำโคตรตระกูลผู้ทได้ มำเป็ นใหญ่ ในแผ่นดิน กลำยเป็ นเทวรำชแห่ งประเทศขึน ี่ ้ ควำมคิดเกียวกับเทวรำช เป็ นสิ่ งทีช่วยให้ ผ้ ูกระทำชั่ วบรรเทำลง เพรำะได้ ่ ่ อำศัยทีคิดว่ ำพระรำชำธิบดีผ้ ทรงปกครองแผ่ นดินทรงลงโทษผู้กระทำชั่ วเมื่อจับตัว ่ ู ได้ ฉันใด เทวรำชก็ย่อมลงโทษผู้ประพฤติชั่วแต่ จับตัวไม่ ได้ ฉันนั้น เข้ ำทำนองทีว่ำ ่ “ผู้ ใดทำชั่ วในที่แจ้ งจะถูกมนุษย์ ลงโทษ ผู้ใดทำชั่ วในทีลบจะถูกเทวดำลงโทษ” ่ั เฉลยคำตอบกรอบที่ 2 เรื่ องผีเรื่ องวิญญาณ ตลอดจนสิ่ งเร้นลับเหนื อธรรมชาติ คำถำมกรอบที่ 3 ควำมคิดพิธีเคำรพบูชำศพ และเซ่ นไหว้ เพือขอควำมคุ้มครอง จึงเกิดเป็ นคติศำสนำ เรียกว่ำอะไร ่
  • 11. 11 กรอบที่ 4 ควำมสำคัญของศำสนำ ศำสนำทุกศำสนำต่ ำงมีจุดหมำยร่ วมกัน คือ ต้ องกำรให้ มนุษย์ ทุกคนเป็ นคนดีอยู่ร่วมกันอย่ ำงสั นติ ศำสนำมีควำมสำคัญทั้งต่ อบุคคลและสั งคมมำก เช่ น  เป็ นสิ่ งยึดเหนี่ยวจิตใจทีทำให้ มนุษย์ มีทพงพำและสร้ ำงควำมมั่นใจในกำร ่ ่ี ึ่ ดำเนินชีวต ิ  เป็ นเครื่องมือในกำรสำนสร้ ำงควำมสมำนสำมัคคีกนของสมำชิกในสั งคม ั  เป็ นบรรทัดฐำนในกำรประพฤติปฏิบัติของสมำชิกในสั งคม  เป็ นเครื่องมือในกำรอบรมขัดเกลำสมำชิกของสั งคม  เป็ นพืนฐำนของขนบธรรมเนียมประเพณี ้  เป็ นเครื่องหมำยของสั งคม ศำสนำจะเป็ นสั ญลักษณ์ที่แสดงให้ เห็นถึง ควำมเป็ นอันหนึ่งอันเดียวกันของประชำชน  เป็ นมรดกของสั งคม ศำสนำถือเป็ นมรดกทำงวัฒนธรรมทีสำคัญยิ่งของ สั งคมโลก  คำถำมกรอบที่ 4 เฉลยคำตอบกรอบที่ 5 ศำสนำทุกศำสนำต่ ำงมีจุดหมำยร่ วมกัน คืออะไร ลัทธิบูชำผีบรรพบุรุษ
  • 12. 12 กรอบที่ 5 ลักษณะของศำสนำ ศำสนำมีจุดมุ่งหมำยเดียวกัน คือ มุ่งสั่ งสอนให้ สังคมมนุษย์ อยู่ร่วมกันอย่ ำงสงบสุ ข ตลอดจนเป็ นที่รวมของพิธีกรรม ศิลปกรรม วัฒนธรรม ประเพณี ควำมเชื่ อ และสิ่ งทีเ่ คำรพบูชำ สำมำรถนำมำเป็ นเครื่องยึดเหนี่ยวเป็ นทีพงทำงจิตใจได้ ประกอบด้ วยลักษณะ ่ ึ 4 ประกำร คือ 1. กล่ำวถึงควำมเชื่อถือในอำนำจ ซึ่งเป็ นนำมธรรม 2. กล่ำวถึงหลักศีลธรรมจรรยำและกฎเกณฑ์ ควำมประพฤติของศำสนิกชนในระดับต่ ำงๆ 3. กล่ ำวถึงจุดมุ่งหมำยสู งสุ ด เช่ นกำรเข้ ำถึงนิพพำนของพระพุทธศำสนำ เป็ นต้ น 4. กล่ำวถึงหลักเกณฑ์ ในกำรประกอบพิธีกรรมต่ ำงๆทำงศำสนำ เฉลยคำตอบกรอบที่ 4 ศำสนำทุกศำสนำต่ ำงมีจุดหมำยร่ วมกัน คือ ต้ องกำรให้ มนุษย์ ทุกคนเป็ นคนดีอยู่ร่วมกันอย่ ำงสั นติ คำถำมกรอบที่ 5 ลักษณะของศำสนำ มีกประกำร ได้ แก่อะไรบ้ ำง ี่
  • 13. 13 กรอบที่ 6 ศำสนำกับกำรดำเนินชีวต ิ ทุกศำสนำมีหลักธรรมคำสอน และเครื่องหมำยทีบ่งบอกควำมเป็ นศำสนำนั้นๆ ่ ศำสนำเป็ นทีพงทำงจิตใจมนุษย์ นำพำชี วตให้ เจริญรุ่ งเรือง มุ่งอบรมสั่ งสอนให้ สมำชิ ก ่ ึ่ ิ ในสั งคมเป็ นคนดี มีคุณธรรม พระบำทสมเด็จพระเจ้ ำอยู่หัวภูมพลอดุลยเดช ิ พระมหำกษัตริย์ผ้ ูทรงเป็ นทีเ่ คำรพของปวงชนชำวไทยทั้งประเทศ ก็ทรงประพฤติตำม หลักพระพุทธศำสนำ เป็ นแบบอย่ ำงแก้ ข้ำแผ่ นดิน 1. ให้ ควำมอดทน มุ่งมั่น ยึดธรรม และควำมถูกต้ อง 2. ให้ มีควำมอ่อนน้ อมถ่ อมตน เรียบง่ ำย ประหยัด 3. ให้ ร้ ู จักทำควำมคิดเห็น เคำรพควำมคิดเห็นที่แตกต่ ำง กำรดำเนินชี วตของประชำชนควรจะต้ องยึดหลักธรรมะ ไม่ ว่ำจะอยู่ในฐำนะ ิ หรือบทบำทใด เพรำะธรรมะจะทำให้ งำนที่ทำอยู่สำเร็จตำมควำมมุ่งหวัง ทั้งยังช่ วย แก้ไขปัญหำและอุปสรรคต่ ำงๆได้ เฉลยคำตอบกรอบที่ 5 4 ประกำร คือ 1. กล่ำวถึงควำมเชื่อถือในอำนำจ ซึ่งเป็ นนำมธรรม 2. กล่ำวถึงหลักศีลธรรมจรรยำและกฎเกณฑ์ ควำมประพฤติของศำสนิกชนในระดับต่ ำงๆ 3. กล่ำวถึงจุดมุ่งหมำยสู งสุ ด เช่ นกำรเข้ ำถึงนิพพำนของพระพุทธศำสนำ เป็ นต้ น 4. กล่ำวถึงหลักเกณฑ์ ในกำรประกอบพิธีกรรมต่ ำงๆทำงศำสนำ คำถำมกรอบที่ 6 กำรดำเนินชีวตของประชำชนควรจะต้ องยึดหลักอะไร ิ
  • 14. 14 กรอบที่ 7 ศำสนำต่ ำงๆ ปัจจุบันมีศำสนำอยู่ 10 ศำสนำ ดังนี้ 1. ศำสนำพรำหทณ์ -ฮินดู 2. ศำสนำเชน 3. พุทธศำสนำ 4. ศำสนำขงจือ ้ 5. ศำสนำเต๋ ำ 6. ศำสนำไซโรอัสเตอร์ หรือศำสนำชำวปำรซี เกิดขึนในประเทศเเปอร์ เซีย ้ 7. ศำสนำยูดำยของชำวยิวหรือฮิบรู 8. ศำสนำคริสต์ 9. ศำสนำอิสลำม 10. ศำสนำซิกข์ ศำสนำทั้ง 10 นีล้วนทั้งเกิดขึนในทวีปเอเชีย ้ ้ เฉลยคำตอบกรอบที่ 6 หลักธรรมมะ คำถำมกรอบที่ 7 ศำสนำทั้ง 10 ศำสนำเกิดขึนในทวีปใด ้
  • 15. 15 กรอบที่ 8 หลักธรรมสำคัญของพระพุทธศำสนำ คำสอนหัวใจพระพุทธศำสนำ คือ กำรไม่ ทำชั่ วทั้งปวง ทำแต่ ควำมดี และทำ จิตใจให้ บริสุทธิ์ กำรจะเป็ นคนดีได้ น้ ันก็ต้องปฏิบัติตำมหลักคำสอน และหลักธรรมสำคัญ ของพุทธศำสนำซึ่งปรำกฏยู่ในพระไตรปิ ฎก เช่ น ควำมเชื่อเรื่องกรรม อริยสั จ ไตรลักษณ์ คำถำมกรอบที่ 8 คำสอนหัวใจพระพุทธศำสนำ คือ อะไร เฉลยคำตอบกรอบที่ 7 ทวีปเอเชีย ........00.000000000000000000000000000000000000000000..0
  • 16. 16 กรอบที่ 9 หลักคำสอนของศำสนำพรำหมณ์ -ฮินดู หลักธรรมคำสอนของศำสนำพรำหมณ์ -ฮินดู มีรำกฐำนจำกคติศรัทธำควำมเชื่อที่ หลำกหลำย ดังนี้ 1. ยอมรับนับถือคัมภีร์พระเวท และคัมภีร์อนตำมควำมเชื่อของตน ื่ 2. ภักดีต่อเทพเจ้ ำสู งสุ ด ได้ แก่ พระพรหม พระวิษณุ พระศิวะ และสรรเสริ ญ บูชำเทพเจ้ ำนั้นๆ รวมไปถึงสิ่ งทีเ่ หนือเทพเจ้ ำองค์ น้ ัน ทั้งเชิ งสั ญลักษณ์ และทิพยภำวะ 3. เชื่อถือเรื่องกรรม และกำรเวียนว่ำยตำยเกิด บนพืนฐำนของควำมมีตัวตน ที่ ้ เรียกว่ำ อำตมัน 4. ปฏิบัติหลักธรรมประเพณีพธีกรรม ทั้งทีจำเพำะแก่วรรณะของตน และที่ ิ ่ สำธำรณะแก่ ฮินดูท้งปวง เช่ น พิธีศรำท (สั งเวยด้ วยก้ อนข้ ำว) เป็ นต้ น ั หลักธรรมสำคัญของศำสนำพรำหมณ์ -ฮินดู ซึ่งได้ แก่ 1 หลักอำศรม 4 อำศรม 4 โดยทัวไปหมำยถึง ทีอยู่ของนักพรต ในทีนี้หมำยถึง ขั้นตอนของกำร ่ ่ ่ ปฏิบัติตนตำมวัย เพือให้ ชีวตดีขึน ่ ิ ้ 2. หลักปุรุษำรถะ (เปำหมำยกำรดำเนินชี วตของมนุษย์ ) ้ ิ 3. หลักปรมำตมัน และโมกษะ ปรมำตมัน แปลว่ำ “ อำตมันสู งสุ ด” ศำสนำพรำหมณ์ -ฮินดูถือว่ ำเป็ นพลัง ธรรมชำติ หรือปฐมวิญญำณ ทีเ่ ป็ นเหตุกำรณ์ เกิดของทุกสิ่ ง เป็ นอมตะและไม่ สิ้นสุ ด โมกษะ หรื อ นิรวาน ปราศจากกรรมผูกพัน เฉลยคำตอบกรอบที่ 8 กำรไม่ ทำชั่ วทั้งปวง ทำแต่ ควำมดี และทำจิตใจให้ บริสุทธิ์ คำถำมกรอบที่ 9 เทพเจ้ ำสู งสุ ดของศำสนำพรำหมณ์ -ฮินดู คือใคร .
  • 17. 17 กรอบที่ 10 หลักคำสอนของศำสนำอิสลำม หลักคำสอนของศำสนำอิสลำมจะปรำกฏอยู่ในพระมหำคัมภีร์อลกุรอำน ซึ่งถือเป็ น ั วจนะของพระเจ้ ำ คือ อัลเลำะฮฺ (ซ.บ.) และแบบคำสอนตลอดจนจริยวัตรของท่ำนศำสดำ มุฮัมมัด (ซ.บ.) เรียกว่ ำ ซุ นนะห์ หลักศรัทธา 6 ประการ ผูที่เป็ นมุสลิมต่อเชื่ อหรื อ ้ ศรัทธาในหลัก 6 ประการ ดังนี้ 1. ศรัทธาในอัลเลาะฮฺ (ซ.บ.) คือ เชื่ อว่าในสากล โลกนี้มีอลเลาะฮฺ (ซ.บ.) พระองค์เดียวเท่านั้น ั 2. ศรัทธาในบรรดามะลาอีกะห์ (ทูตสวรรค์) 3. ศรัทธาในคัมภีร์แห่งพระอัลเลาะฮฺ (ซ.บ.) 4. ศรัทธาในบรรดาศาสนทูต 5. ศรัทธาในวันพิพากษาโลก 6. ศรัทธาในกฎสภาวะของพระเจ้า หลักปฏิบัติ 5 ประกำร 1. กำรปฏิญำณตน หัวใจของอิสลำม คือ กำร ยอมรับว่ำมีพระเจ้ ำองค์ เดียว 2. กำรละหมำด คือ กำรแสดงควำมเคำรพต่ อพระ เจ้ ำทั้งร่ ำงกำยและจิตใจ 3. กำรถือศีลอด หมำยถึง กำรละเว้น 4. กำรบริจำคซำกำต 5. กำรประกอบพิธีฮัจญ์ คำถำมกรอบที่ 10 หลักปฏิบัติ 5 ประกำรประกอบด้ วยอะไรบ้ ำง เฉลยคำตอบกรอบที่ 9 พระพรหม พระวิษณุ พระศิวะ
  • 18. 18 กรอบที่ 11 หลักคำสอนของศำสนำคริสต์ หลักธรรมคำสอนของศำสนำคริสต์ จะปรำกฏอยู่ใน คัมภีร์ไบเบิล (Bible) ดังนี้ 1. บำปกำหนด 2. ควำมรัก คือ ควำมรัก ควำมเมตตำ ซึ่งเป็ นแก่นแห่ งจริยธรรม ของศำสนำคริสต์ 3. หลักตรีเอกำนุภำพ ศำสนำคริสต์ สอนว่ ำมีพระเจ้ ำองค์ เดียวแต่ มีสำมส่ วนหมำยถึง พระบิดำ พระบุตร และพระจิต 4. อำณำจักรพระเจ้ ำ คือ ศำสนจักร ทีกลุ่มชำวคริสต์ ทวโลกมี ่ ั่ ควำมศรัทธำเป็ นอันหนึ่งอันเดียวกัน 5. บัญญัติ 10 ประกำร เฉลยคำตอบกรอบที่ 10 1. กำรปฏิญำณตน หัวใจของอิสลำม คือ กำรยอมรับว่ำมีพระเจ้ ำองค์ เดียว 2. กำรละหมำด คือ กำรแสดงควำมเคำรพต่ อพระเจ้ ำทั้งร่ ำงกำยและจิตใจ 3. กำรถือศีลอด หมำยถึง กำรละเว้น 4. กำรบริจำคซำกำต 5. กำรประกอบพิธีฮัจญ์ คำถำมกรอบที่ 11 หลักคำสอนของศำสนำคริสต์ จำรึกไว้ทไหน ี่
  • 19. 19 กรอบที่ 12 หลักธรรมกับกำรนำไปใช้ ในชีวตประจำวัน ิ ทุกศำสนำมีควำมสอดคล้ องกันเปำหมำยสู งสุ ดทีจะทำให้ เรำเข้ ำถึงควำมสุ ขที่ ้ ่ แท้ จริงและวิถีดำเนินชี วตเพื่อทีจะเข้ ำถึงสภำวะอันเป็ นที่สุดนั้น โดยกำรยึดมั่นและทำ ิ ่ ควำมดีตำมหลักกำรของศำสนำ ถึงแม้ จะนับถือศำสนำต่ ำงกัน เมื่อพิจำรณำหลักธรรม ของศำสนำดังกล่ ำวข้ ำงต้ นแล้ ว จะเห็นว่ ำมีควำมสอดคล้ องกันในกำรปลูกฝังควำมเป็ น คนดี และศำสนิกชนสำมำรถนำไปใช้ ในชีวตประจำวันได้ คือ ิ 1. เว้ นจำกกำรทำชั่ วและมุ่งทำควำมดี 2. ควำมรัก ควำมเมตตำ 3. กำรเสี ยสละหรือกำรสั งคมสงเครำะห์ 4. ควำมอุตสำหะและกำรพัฒนำตนเอง 5. ควำมยุตธรรม ิ เฉลยคำตอบกรอบที่ 11 คัมภีร์ไบเบิล (Bible) คำถำมกรอบที่ 12 กำรปลูกฝังควำมเป็ นคนดี และศำสนิกชนสำมำรถนำไปใช้ ในชี วตประจำวันได้ แก่ อะไรบ้ ำง ิ
  • 20. 20 เฉลยคำตอบกรอบที่ 12 1. เว้ นจำกกำรทำชั่ วและมุ่งทำควำมดี 2. ควำมรัก ควำมเมตตำ 3. กำรเสี ยสละหรือกำรสั งคมสงเครำะห์ 4. ควำมอุตสำหะและกำรพัฒนำตนเอง 5. ควำมยุติธรรม ตอบถูกหมดใช่ ไหมคะ......ลองไปทำ แบบทดสอบหลังเรียนด้ วยนะคะ
  • 21. 21 แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง ควำมรู้ เบืองต้ นเกียวกับศำสนำ ้ ่ คำสั่ ง ให้ นักเรียนเลือกคำตอบทีถูกต้ องทีสุด ่ ่ 1. ใครนาหลักธรรมไปใช้ในชีวตประจาวัน ิ 4. ข้อใดมิใช่ ความสอดคล้องของหลักธรรม น้ อยที่สุด ในแต่ละศาสนา ก. กิจจานาอาหารไปเลี้ยงสุ นขจรจัด ั ก. ความยุติธรรม แถวบ้านเป็ นประจา ข. ความรัก ความเมตตา ข. เกศมณี แขวนพระนางพญาติดตัว ค. การทาความดี ตลอดเวลา ง. การมุ่งสร้างชื่อเสี ยง อานาจ บารมี ค. ไกรสรเลิกดื่มสุ ราและบุหรี่ แล้วหันมา 5. เหตุใดศาสนาทุกศาสนาเน้นเรื่ อง ออกกาลังกายแทน ความยุติธรรม ง. กานต์ละหมาดทุกวันมิได้ขาด ก. เพราะเป็ นลักษณะของการพัฒนาตนเอง 2. ข้อใดมิใช่ชื่อของคัมภีร์ในศาสนา ข. เพราะเป็ นลักษณะของความอุตสาหะ ก. คัมภีร์พระเวท ค. เพราะเป็ นแกนกลางของสันติสุข ข. คัมภีร์ไบเบิล ง. เพราะเป็ นลักษณะของการเสี ยสละ ค. คัมภีร์อลกุรอาน ั 6. ศาสนามีอิทธิ พลในการก่อกาเนิดสิ่ งใด ง. คัมภีร์แห่งสัจจะ ก. พิธีกรรม 3. ศาสนาใดมีจุดเด่นในเรื่ องหลักธรรมคาสอน ข. ศิลปกรรม เกี่ยวกับเรื่ อง “ความรัก” ค. ประเพณี ก. ศาสนาพุทธ ง. ถูกทุกข้อ ข. ศาสนาพราหมณ์-ฮินดู ค. ศาสนาคริ สต์ ง. ศาสนาอิสลาม
  • 22. 22 7. “สังคมไทยเป็ นสังคมแห่งเมืองพุทธ” จาก 11. แหล่งรวบรวมคาสอนของศาสนาพุทธ คากล่าวนี้แสดงถึงความสาคัญของศาสนา จะปรากฎในข้อใด ประการใด ก. คัมภีร์พระไตรปิ ฎก ก. เป็ นสิ่ งยึดเหนี่ยวจิตใจ ข. คัมภีร์ไบเบิ้ล ข. เป็ นเครื่ องมือสร้างความสามัคคี ค. คัมภีร์อลกุรอาน ั ค. เป็ นมรดกของสังคม ง. ชุนชิว ง. เป็ นเครื่ องหมายของสังคม 12. ข้อใดไม่ ใช่ คุณค่าของศาสนา 8. ข้อใดกล่าวถึงกาเนิดของศาสนาไม่ ถูกต้อง ก. เป็ นที่ยดเหนี่ยวจิตใจ ึ ก. ความเชื่อเรื่ องผี วิญญาณ ข. เป็ นบ่อเกิดแห่งความสามัคคี ข. ความเชื่อเรื่ องไสยศาสตร์ การบูชายัญ ค. มนุษย์เหนื อกว่าสัตว์ ค. ความแปรผันของธรรมชาติ ง. ทาให้ขาดอิสรภาพ ง. ความต้องการเป็ นผูนาในสังคม ้ 13. การประกอบพิธีฮจญ์ เป็ นกิจกรรมที่ ั 9. วัตถุประสงค์หลักของทุก ๆ ศาสนา เกี่ยวข้องกับศาสนาใด ที่เหมือนกันคือสิ่ งใด ก. ศาสนาคริ สต์ ก. เพื่อประเทศชาติมีความมันคง เข้มแข็ง ่ ข. ศาสนาพุทธ ข. เพื่อสร้างฐานอานาจ พลัง และ ค. ศาสนาพราหมณ์ ความเป็ นผูนา ้ ง. ศาสนาอิสลาม ค. ส่ งเสริ มความเข้าใจอันดี มีสันติ ขจัดความแตกร้าวระหว่างมนุษยชาติ 14. ข้อใดไม่ เกี่ยวข้องกับศาสนา ง. ส่ งเสริ มหลักประชาธิ ปไตย สิ ทธิ ก. วัด เสรี ภาพ ข. คัมภีร์ไบเบิล ้ ค. โมเสส 10. ข้อใดไม่ ใช่ สิ่งสาคัญที่ทาให้เกิดศาสนา ง. พิธีกร ก. ศรัทธา ่ 15. ข้อใดจัดอยูในศาสนาประเภทอเทวนิยม ข. ความกลัว ก. ศาสนาพุทธ ค. ความภักดี ข. ศาสนาอิสลาม ง. ความรู้แจ้ง ค. ศาสนาคริ สต์ ง. ศาสนายิว
  • 23. 23 กระดำษคำตอบ ชื่ อ..........................................สกุล.....................................เลขที.่ .........................ชั้ น.......................... คำชี้แจง ให้ นักเรียนกำกบำท (X) ในข้ อ ก ข ค หรือ ง เพียงข้ อเดียว ข้อ ก ข ค ง 1 ก ข ค ง 2 ก ข ค ง 3 ก ข ค ง 4 ก ข ค ง 5 ก ข ค ง 6 ก ข ค ง 7 ก ข ค ง 8 ก ข ค ง 9 ก ข ค ง 10 ก ข ค ง 11 ก ข ค ง 12 ก ข ค ง 13 ก ข ค ง 14 ก ข ค ง 15 ก ข ค ง
  • 24. 24 เฉลยแบบทดสอบหลังเรียน บทเรียนสำเร็จรูป 1. ข 2. ง 3. ค 4. ง 5. ค 6. ง 7. ค 8. ง 9. ค 10. ง 11. ก 12. ง 13. ง 14. ง 15. ก ได้ คะแนนเท่ ำไร เอำไป เปรียบเทียบกับคะแนนทดสอบ ก่อนเรียนนะคะ เกณฑ์ คะแนนกำรประเมินผลกำรเรียนก่อน-หลังเรียน คะแนน 14-15 เรี ยนดีมาก คะแนน 11-13 เรี ยนดี คะแนน 7-10 เรี ยนพอใช้ คะแนน 0-6 เรี ยนไม่ดีควรปรับปรุ ง
  • 25. 25 บรรณำนุกรม จรัส พยัคฆราชศักดิ์และคณะ. แบบฝึ กหัดพัฒนำกำรเรียนรู้ พระพุทธศำสนำ ชั้นมัธยมศึกษำปี ที่ 4. กรุ งเทพมหานคร: วัฒนาพานิช, 2547. . หนังสื อเรียนสำระกำรเรียนรู้ พนฐำนพระพุทธศำสนำ ชั้นมัธยมศึกษำปี ที่ 4. กรุ งเทพมหานคร: ื้ วัฒนาพานิช, 2550. ปรี ชา ช้างขวัญยืน. หนังสื อเรียนสำระกำรเรียนรู้ พนฐำนพระพุทธศำสนำ ชั้ นมัธยมศึกษำปี ที่ 4. ื้ กรุ งเทพมหานคร: ไทยวัฒนาพานิช, 2547. พระมหาวุฒิชย วชิรเมธี. หนังสื อเรียนสำระกำรเรียนรู้ พนฐำนพระพุทธศำสนำ ชั้นมัธยมศึกษำปี ที่ 4. ั ื้ กรุ งเทพมหานคร: แม็คจากัด, 2547. พระระพิน พุทฺธิสาโร. หนังสื อเรียนสำระกำรเรียนรู้ พนฐำนศำสนำ ศีลธรรมจริยธรรม ื้ ชั้นมัธยมศึกษำปี ที่ 4. กรุ งเทพมหานคร: สถาบันพัฒนาคุณภาพวิชาการ, 2546. นิภา มานะการ และคณะ. วิถีธรรมวิถีไทย (สั งคมศึกษำ). กรุ งเทพมหานคร : เอมพันธ์ จากัด, 2545. สุ ขม นวลสกุล และปรี ชา สุ วรรณทัต. หนังสื อเรียนสั งคมศึกษำ ชั้นมัธยมศึกษำปี ที่ 4. ุ กรุ งเทพมหานคร : วัฒนาพานิช จากัด, 2533. สุ ชาดา วราหพันธ์. วิถีธรรมวิถีไทย (พระพุทธศำสนำ). กรุ งเทพมหานคร : เอมพันธ์ จากัด, 2551. โสภา พุทธาและคณะ. วิถีธรรมวิถีไทย. กรุ งเทพมหานคร : ศูนย์ส่งเสริ มอาชีวะ, 2551.