SlideShare a Scribd company logo
การบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน
(School - Based Management : SBM)
คณะผู้จัดทำ
 นายสมนึก ทิตา รหัสนักศึกษา 578914243
 นายยุทธนา กันทาเดช รหัสนักศึกษา 578914207
 นายบัญญัติ ยานะ รหัสนักศึกษา 578914226
 นางอลิศลา ริยะสาร รหัสนักศึกษา 578914204
 นางสาวน้าผึ้ง ธรรมลังกา รหัสนักศึกษา 578914205
 นางสาวดวงพร มิตรยอง รหัสนักศึกษา 578914216
 นางสาวสุภาพร มาเมือง รหัสนักศึกษา 578914244
การบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน
(School - Based Management : SBM)
ควำมหมำย
กำรบริหำรโดยใช้โรงเรียนเป็นฐำนใช้ อักษรย่อ SBM
มำจำกคำเต็ม และมีควำมหมำยดังนี้
S = School แปลว่ำ โรงเรียน
B = Based แปลว่ำ เกี่ยวกับฐำนหรือพื้นฐำน
M = Management แปลว่ำ กำรบริหำรและกำรจัดกำร
ดังนั้น School-Based Management
จึงแปลควำมหมำยว่ำ กำรบริหำรโดยใช้
โรงเรียนเป็ นฐำน หรือกำรใช้โรงเรียนเป็ นฐำนใน
กำรบริหำรและกำรจัดกำร หรือกำรบริหำรจัด
กำรศึกษำโดยใช้โรงเรียนเป็ นฐำน ซึ่งเกิดจำกแนว
ควำมคิด เรื่องปฏิรูปกำรศึกษำ และกำรกระจำย
อำนำจทำงกำรศึกษำ
 สำนักงำนคณะกรรมกำรกำรศึกษำแห่งชำติ (2544 : 2)
ได้ให้ควำมหมำยไว้ว่ำ หมำยถึง กำรบริหำร และกำรจัด
กำรศึกษำที่หน่วยปฏิบัติ โดยมีโรงเรียนเป็ นฐำน หรือ เป็ น
องค์กรหลักในกำรจัดกำรศึกษำ ซึ่งจะต้องมีกำรกระจำยอำนำจ
กำรบริหำร และกำรจัดกำรศึกษำจำกส่วนกลำงไปยัง
โรงเรียน ให้โรงเรียนมีอำนำจ หน้ำที่ควำมรับผิดชอบ
มีควำมอิสระคล่องตัวในกำรบริหำรจัดกำร
ภำยใต้คณะกรรมกำรโรงเรียน ผู้แทนนักเรียน และผู้บริหำร
โรงเรียน เพื่อให้กำรจัดกำรศึกษำเป็นไปโดยมีส่วนร่วม และ
ตรงตำมควำมต้องกำรของผู้เรียน ผู้ปกครอง และชุมชน
มำกที่สุด
สรุปการบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน
(School - Based Management : SBM)
 แนวคิดทำงกำรบริหำรและกำรจัดกำรศึกษำที่มุ่งให้
สถำนศึกษำเป็ นองค์กรหลักในกำรจัดกำรศึกษำอย่ำงมี
คุณภำพ ภำยใต้กรอบของกฎหมำยที่กำหนด โดยมีกำร
กระจำยอำนำจกำรกำรจัดกำรศึกษำจำกส่วนกลำงไปยัง
สถำนศึกษำโดยตรง ให้สถำนศึกษำมีอำนำจหน้ำที่
ควำมรับผิดชอบและควำมคล่องตัวในกำรบริหำร
จัดกำรมำกที่สุด
ประวัติควำมเป็นมำของกำรบริหำร
โดยใช้โรงเรียนเป็นฐำน
 เริ่มใช้ในประเทศสหรัฐอเมริกำเป็นครั้ง
แรก ในช่วงทศวรรษ 1980
 ได้รับอิทธิพลมำจำกกระแสกำร
เปลี่ยนแปลงของโลกธุรกิจ อุตสำหกรรม
ที่ประสบควำมสำเร็จจำกหลักกำร วิธีกำร
และกลยุทธ์ในกำรทำให้องค์กำร
มีประสิทธิภำพ
 ในปลำยทศวรรษ 1980 ได้มีกำรบริหำรโดยใช้โรงเรียน
เป็นฐำน (School – Based Management) ในรูปแบบต่ำง ๆ
จนกลำยเป็ นประเด็นร่วมและยุทธศำสตร์กำรปฏิรูป
กำรศึกษำในส่วนต่ำง ๆ ของโลก เช่น ประเทศสหรัฐอเมริกำ
สหรำชอำณำจักร อสเตรเลีย นิวซีแลนด์ สิงคโปร์
สำธำรณรัฐเกำหลี อิสรำเอล และฮ่องกง
สำหรับกำรบริหำรโดยใช้โรงเรียนเป็นฐำน
(School – Based Management : SBM)
ในประเทศไทยนั้นเริ่มปรำกฏชัดเจนขึ้นหลังจำก
ที่รัฐบำลประกำศใช้พระรำชบัญญัติกำรศึกษำแห่งชำติ
พ.ศ.2542
หลักกำรพื้นฐำนในกำรบริหำร
โดยใช้โรงเรียนเป็นฐำน
มีนักวิชำกำรกล่ำวถึงหลักกำรสำคัญในกำรบริหำร
โดยใช้โรงเรียนเป็นฐำนไว้หลำย ๆ ท่ำนด้วยกัน ดังนี้
เดวิด (David , 1989 อ้ำงถึงใน Cheng , 1996 : 4)
กล่ำวว่ำ กำรบริหำรโดยกำรใช้โรงเรียนเป็นฐำนต้อง
ประกอบไปด้วยแนวคิดหลักสำคัญ 2 ประกำร คือ
1. โรงเรียนเป็นหน่วยสำคัญสำหรับตัดสินใจ
2. กำรมีส่วนร่วมและกำรมีควำมรู้สึกเป็นเจ้ำของ
เป็นปัจจัยสำคัญสำหรับกำรปฏิรูปกำรบริหำรกำรจัด
กำรศึกษำ (สมำชิกในโรงเรียนและชุมชนให้ควำม
ร่วมมือกันในกำรตัดสินใจกำรบริหำรและกำรปฏิบัติงำน)
 อุทัย บุญประเสริฐ (2543 : 154 – 156 )
ได้กล่ำวถึงหลักกำรสำคัญของกำรบริหำรโดยใช้โรงเรียน
เป็นฐำนไว้ 5 ประกำร คือ
1. หลักกำรกระจำยอำนำจ
2. หลักกำรมีส่วนร่วม
3. หลักกำรคืนอำนำจกำรจัดกำรศึกษำให้ประชำชน
4. หลักกำรบริหำรตนเอง
5. หลักกำรตรวจสอบและถ่วงดุล
 สำนักงำนคณะกรรมกำรกำรศึกษำแห่งชำติ (2544 :3- 4)
กำรบริหำรโดยใช้โรงเรียนเป็นฐำนแต่ละแห่งอำจไม่เหมือนกัน
ขึ้ นอยู่กับลักษณะเฉพำะและควำมจำเป็นของแต่ละโรงเรียนจะ
ตั้งอยู่บนหลักกำรพื้นฐำนเดียวกัน คือ
1. หลักกำรกระจำยอำนำจ
2. หลักกำรบริหำรแบบมีส่วนร่วม
3. หลักกำรบริหำรตนเอง
4. หลักกำรพัฒนำทั้งระบบ
5. หลักควำมรับผิดชอบที่ตรวจสอบได้
6. หลักกำรมีภำวะผู้นำแบบเกื้ อหนุน
 สำนักงำนเลขำสภำกำรศึกษำ ( 2548 : 33 ) ได้กล่ำวถึง
กำรบริหำรโดยใช้โรงเรียนเป็นฐำนมีหลักสำคัญ 3 ประกำร คือ
1. หลักกำรกระจำยอำนำจ (Decentralization)
2. หลักกำรมีส่วนร่วม (Participation)
3. หลักกำรบริหำรจัดกำรศึกษำที่ดี
(Good Governance in Education)
สรุปหลักการสาคัญในการบริหาร
แบบ School-Based Management
1. หลักการกระจายอานาจ (Decentralization)
 ซึ่งเป็นกำรกระจำยอำนำจกำรจัดกำรศึกษำจำกกระทรวงและ
ส่วนกลำงไปยังสถำนศึกษำให้มำกที่สุด โดยมีควำมเชื่อว่ำ
โรงเรียนเป็นหน่วยสำคัญในกำรเปลี่ยนแปลงและพัฒนำ
กำรศึกษำเด็ก
2. หลักการมีส่วนร่วม
(Participation or Collaboration or Involvement)
 เปิ ดโอกำสให้ผู้เกี่ยวข้องและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียได้มีส่วนร่วมใน
กำรบริหำร ตัดสินใจ และร่วมจัดกำรศึกษำ ทั้งครู ผู้ปกครอง
ตัวแทนศิษย์เก่ำ และตัวแทนนักเรียน กำรที่บุคคลมีส่วนร่วมใน
กำรจัดกำรศึกษำ จะเกิดควำมรู้สึกเป็ นเจ้ำของและจะรับผิดชอบ
ในกำรจัดกำรศึกษำมำกขึ้น
3. หลักการคืนอานาจจัดการศึกษาให้ประชาชน
(Return Power to People)
 เมื่อประชำกรเพิ่มขึ้ น ควำมเจริญต่ำง ๆ ก้ำวไปอย่ำงรวดเร็ว
กำรจัดกำรศึกษำโดยส่วนกลำง เริ่มมีข้อจำกัด เกิดควำมล่ำช้ำ
และไม่สนอง ควำมต้องกำรของผู้เรียนและชุมชนอย่ำงแท้จริง
จึงต้องมีกำรคืนอำนำจให้ท้องถิ่นและประชำชนได้จัดกำรศึกษำ
เองอีกครั้ง
4. หลักการบริหารตนเอง (Self-managing)
 มีควำมเชื่อว่ำวิธีกำรทำงำนให้บรรลุเป้ ำหมำยนั้นทำได้
หลำยวิธีกำรที่ส่วนกลำงทำหน้ำที่เพียงกำหนดนโยบำย
และเป้ ำหมำยแล้วปล่อยให้โรงเรียนมีระบบกำรบริหำร
ด้วยตนเอง โดยให้โรงเรียนมีอำนำจหน้ำที่และควำม
รับผิดชอบในกำรดำเนินงำน ซึ่งอำจดำเนินกำรได้
หลำกหลำยด้วยวิธีกำรที่แตกต่ำงกัน แล้วแต่ควำมพร้อม
และสถำนกำรณ์ของโรงเรียน ผลที่ได้น่ำจะมีประสิทธิภำพ
สูงกว่ำเดิม ที่ทุกอย่ำงกำหนดมำจำกส่วนกลำง ไม่ว่ำจะ
โดยทำงตรงหรือทำงอ้อม
5. หลักการตรวจสอบและถ่วงดุล
(Check and Balance)
 ส่วนกลำงมีหน้ำที่กำหนดนโยบำยและควบคุมมำตรฐำน
มีองค์กรอิสระทำหน้ำที่ตรวจสอบคุณภำพกำรบริหำรและ
กำรจัดกำรศึกษำเพื่อให้มีคุณภำพและมำตรฐำนเป็ นไป
ตำมกำหนดและมำตรฐำนเป็ นไปตำมกำหนด และเป็ นไป
ตำมนโยบำยของชำติ
รูปแบบในการดาเนินการของการบริหาร
จัดการโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน
1. รูปแบบการบริหารโรงเรียนที่ชุมชนมีบทบาทหลัก
(Community Control SBM)
 จะเป็ นแบบที่เพิ่มควำมรับผิดชอบในกำรจัดกำรศึกษำ
ให้แก่ชุมชนและผู้ปกครอง โดยมุ่งเน้นเพื่อให้ผู้รับบริกำร
กำรศึกษำมีควำมพึงพอใจในกำรศึกษำที่จัดให้มำก
ที่สุด คณะกรรมกำรโรงเรียนจึงมีสัดส่วนจำนวนตัวแทน
ผู้ปกครองและชุมชนมำกที่สุด ประธำนคณะกรรมกำรมำ
จำกกลุ่มผู้แทนชุมชนหรือผู้ปกครอง บทบำทของ
คณะกรรมกำรโรงเรียน ก็คือ กำรทำหน้ำที่คณะกรรมกำร
บริหำรโรงเรียน
2. รูปแบบที่ผู้บริหารโรงเรียนเป็นหลัก
(Administrative Control SBM)
 คณะกรรมกำรโรงเรียนที่ตั้งขึ้ นจะมีบทบำทเป็ นคณะกรรมกำร
ที่ปรึกษำของผู้บริหำรโรงเรียน ผู้บริหำรโรงเรียนเป็ นประธำน
คณะกรรมกำรโดยตำแหน่ง คณะกรรมกำรจะประกอบด้วย
ตัวแทนครู ตัวแทนผู้ปกครอง ตัวแทนชุมชน ตัวแทนนักเรียน
(ชั้นมัธยมศึกษำตอนปลำย) คณะกรรมกำรมีบทบำทในกำรให้
ข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะในกำรบริหำร แต่อำนำจกำรตัดสินใจ
ในขั้นสุดท้ำยจะยังคงอยู่ที่ผู้บริหำรโรงเรียน
3. รูปแบบที่มีครูเป็นหลัก (Professional Control SBM)
 เชื่อว่ำครูเป็ นผู้ใกล้ชิดนักเรียนมำกที่สุดและเป็ น
ผู้ปฏิบัติกำรสอนโดยตรง จึงย่อมจะรับรู้ปัญหำต่ำง ๆ ไว้
ดีกว่ำตัวแทนคณะครูจึงมีสัดส่วนมำกที่สุดใน
คณะกรรมกำรโรงเรียน บทบำทของคณะกรรมกำรนี้ จะ
เป็ นทั้งกรรมกำรที่ปรึกษำและกรรมกำรที่ปรึกษำและ
กรรมกำรบริหำรไปด้วยในตัว
4. รูปแบบที่ครูและชุมชนมีบทบาทหลัก
(Professional / Community Control SBM)
 ถือว่ำ ทั้งครูและผู้ปกครองต่ำงมีบทบำทและ
ควำมสำคัญในกำรจัดกำรศึกษำให้แก่เด็กมำกกว่ำกลุ่มอื่น
ๆ ที่เกี่ยวข้องกับโรงเรียน สัดส่วนของผู้แทนครู
ผู้ปกครอง/ชุมชน จะมีเท่ำ ๆ กัน คณะกรรมกำรโรงเรียน
ทำหน้ำที่เป็นคณะกรรมกำรบริหำรโรงเรียน
5. รูปแบบโรงเรียนในกากับของรัฐ
 จะมีลักษณะเป็ นโรงเรียนที่ได้รับเงินอุดหนุนจำกรัฐและมีฐำนะ
เป็ นหรือเสมือนเป็ นองค์กรนิติบุคคล โรงเรียนดำเนินกำรของ
ตนเองได้แบบอิสระ (Deregulation) จำกกฎระเบียบที่ใช้บังคับ
กับโรงเรียนทั่วไป โรงเรียนสำมำรถออกกฎระเบียบของตนเองได้
โดยเฉพำะมีควำมเป็ นอิสระในเรื่องกำรจัดกำรด้ำนวิชำกำร
กำรเงินและบุคคล แต่โรงเรียนจะต้องรับผิดชอบต่อผลกำร
ดำเนินงำนตำมพันธะสัญญำ (Charter) หรือตำมข้อตกลงที่ได้ทำ
ไว้กับหน่วยงำนที่มีอำนำจอนุมัติให้เป็ นโรงเรียนในกำกับดูแล
ของรัฐ
6. รูปแบบที่เป็นการบริหารโดยองค์กรปกครอง
ส่วนท้องถิ่น
 ได้กำหนดขึ้ นเพื่อให้ตอบสนองรัฐธรรมนูญแห่งรำชอำณำจักร
ไทย พ.ศ.2540 และพระรำชบัญญัติกำรศึกษำ
แห่งชำติ พ.ศ. 2542 ที่ได้เปิดโอกำสให้องค์กรปกครองส่วน
ท้องถิ่นจัดหรือมีส่วนร่วมในกำรจัดกำรศึกษำเองได้ทุกระดับและ
ทุกประเทศ ในกำรจัดกำรศึกษำจะกระจำยอำนำจไปยังองค์กร
ปกครองส่วนท้องถิ่นและสถำนศึกษำโดยตรง (ไม่ต้องผ่ำนเขต
พื้นที่กำรศึกษำ)
7. รูปแบบการประกอบการของเอกชน
 เนื่องจำกหลำยฝ่ำยเห็นว่ำเอกชนจะมีควำมสำมำรถในกำรจัด
กำรศึกษำได้อย่ำงมีประสิทธิภำพ โดยเฉพำะในประเทศที่เน้น
รูปแบบเศรษฐกิจเสรีนั้น กำรส่งเสริมให้เอกชนเข้ำมำบทบำท
สำคัญในกำรจัดกำรศึกษำ ไม่ใช่เรื่องของกำรแบ่งเบำภำระ
ของรัฐ แต่เป็ นหลักกำรสำคัญของระบบกำรดำเนินงำนแบบ
เสรีที่มีกำรตอบสนองควำมต้องกำรของชุมชนที่มี
ประสิทธิภำพสูง
แนวทางการดาเนินงานการบริหาร
โดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน
 จำกพระรำชบัญญัติกำรศึกษำแห่งชำติ พ.ศ. 2542 หมวด 5
มำตรำ 39 และมำตรำ 40 กระทรวง ได้กระจำยอำนำจกำร
บริหำรและกำรจัดกำรศึกษำให้โรงเรียนทั้งในด้ำนวิชำกำร
งบประมำณ กำรบริหำรบุคคล และกำรบริหำรทั่วไป โดยมี
คณะกรรมกำรสถำนศึกษำเป็ นองค์คณะบุคคลทำหน้ำที่ในกำร
บริหำรโดยทำให้โรงเรียนเป็ นฐำนหรือศูนย์กลำงของกำรบริหำร
และจัดกำรศึกษำที่ต่อเนื่องและยั่งยืน
6. รายงานประจาปี
รายงานการประเมินตนเอง
5. ประเมินตนเอง
ประเมินภายใน
4. ดาเนินการตามแผนปฏิบัติการ
3. กาหนดกลยุทธ์
วางแผนพัฒนาและแผนปฏิบัติการ
2. กาหนดวิสัยทัศน์ เป้ าหมาย
1. วิเคราะห์ศักยภาพของโรงเรียน
ขั้นตอนการดาเนินงานการบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน
( School – Based Management Process )
การบริหารโดยใช้
โรงเรียนเป็นฐาน (SBM)
การมีส่วนร่วมของผู้เกี่ยวข้อง
* คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน
* ผู้บริหาร ครู-อาจารย์
* นักเรียน
* ผู้ปกครอง
* ชุมชน
การกระจายอานาจการจัดการศึกษา
* การทางานเป็นทีม
* การสร้างทีมงานและพัฒนาทีมงาน
* การพัฒนาวิชาชีพ
การแสดงภาวะงานที่ตรวจสอบได้
* เป็นประชาธิปไตย โปร่งใส ตรวจสอบได้
* รายงานผลการดาเนินงาน
กลยุทธ์สู่ความสาเร็จของการบริหาร
โดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน
 กำรสร้ำงควำมตระหนัก / ควำมรู้ควำมเข้ำใจใน SBM
 กำรพัฒนำวิชำชีพผู้บริหำร
 กำรพัฒนำวิชำชีพครู
 กำรมีวิสัยทัศน์
 กำรบริหำรจัดกำรที่เป็นระบบ
 พัฒนำกำรมีส่วนร่วมในเรื่องกำรบริหำรหลักสูตร
 กำรพัฒนำระบบข้อมูลสำรสนเทศ
 กำรมีวิธีคิดและวิธีปฏิบัติงำนที่เป็นระบบ
 กำรให้รำงวัล
แหล่งอ้างอิง
 https://www.gotoknow.org/posts/284552 ; ยาเบ็น เรืองจรูญศรี
 https://www.gotoknow.org/posts/319049 ; ศิริธร พิมพ์ฝด
 https://www.krupai.net/sbm_nitigorn.doc ; นิติกรณ์ ฉันท์วงศ์ชนะ

More Related Content

What's hot

สารบัญภาษาไทย
สารบัญภาษาไทยสารบัญภาษาไทย
สารบัญภาษาไทยPoppy Nana
 
ประโยคสามัญ ประโยคซ้อน ประโยครวม
ประโยคสามัญ ประโยคซ้อน ประโยครวมประโยคสามัญ ประโยคซ้อน ประโยครวม
ประโยคสามัญ ประโยคซ้อน ประโยครวม
thinnakornsripho
 
บทที่3 วิธีดำเนินงาน
บทที่3 วิธีดำเนินงานบทที่3 วิธีดำเนินงาน
บทที่3 วิธีดำเนินงานChamp Wachwittayakhang
 
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป.4
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป.4แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป.4
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป.4
Sasiprapha Srisaeng
 
สมบัติของสารพันธุกรรม
สมบัติของสารพันธุกรรมสมบัติของสารพันธุกรรม
สมบัติของสารพันธุกรรมWan Ngamwongwan
 
โครงงานคณิตบทที่ 1
โครงงานคณิตบทที่ 1โครงงานคณิตบทที่ 1
โครงงานคณิตบทที่ 1
Jutarat Bussadee
 
คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์
คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์
คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์
niralai
 
แบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการแบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการ
somdetpittayakom school
 
โครงงานกล่องดักไขมันแฮนด์เมด
โครงงานกล่องดักไขมันแฮนด์เมดโครงงานกล่องดักไขมันแฮนด์เมด
โครงงานกล่องดักไขมันแฮนด์เมดPapatsorn Tangsermkit
 
ภาคผนวก
ภาคผนวกภาคผนวก
ภาคผนวก
Tanakorn Ngonmanee
 
ประวัติลูกเสือ
ประวัติลูกเสือประวัติลูกเสือ
ประวัติลูกเสือguest64f3d9
 
IS1 การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ กลุ่ม1
IS1  การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ กลุ่ม1IS1  การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ กลุ่ม1
IS1 การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ กลุ่ม1พัน พัน
 
แผนวิทยาการคำนวณ ป.6.pdf
แผนวิทยาการคำนวณ ป.6.pdfแผนวิทยาการคำนวณ ป.6.pdf
แผนวิทยาการคำนวณ ป.6.pdf
JiruttiPommeChuaikho
 
โครงงานอาชีพ
โครงงานอาชีพโครงงานอาชีพ
โครงงานอาชีพ
รอยยิ้ม' ชุ้ปปี้
 
การถ่ายโอนความร้อน
การถ่ายโอนความร้อนการถ่ายโอนความร้อน
การถ่ายโอนความร้อน
Wuttipong Tubkrathok
 

What's hot (20)

สารบัญภาษาไทย
สารบัญภาษาไทยสารบัญภาษาไทย
สารบัญภาษาไทย
 
ประโยคสามัญ ประโยคซ้อน ประโยครวม
ประโยคสามัญ ประโยคซ้อน ประโยครวมประโยคสามัญ ประโยคซ้อน ประโยครวม
ประโยคสามัญ ประโยคซ้อน ประโยครวม
 
คำประสม
คำประสมคำประสม
คำประสม
 
บทที่3 วิธีดำเนินงาน
บทที่3 วิธีดำเนินงานบทที่3 วิธีดำเนินงาน
บทที่3 วิธีดำเนินงาน
 
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป.4
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป.4แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป.4
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป.4
 
คำนำ
คำนำคำนำ
คำนำ
 
สมบัติของสารพันธุกรรม
สมบัติของสารพันธุกรรมสมบัติของสารพันธุกรรม
สมบัติของสารพันธุกรรม
 
โครงงานคณิตบทที่ 1
โครงงานคณิตบทที่ 1โครงงานคณิตบทที่ 1
โครงงานคณิตบทที่ 1
 
คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์
คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์
คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์
 
แบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการแบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการ
 
ความสำคัญของพระมหากษัตริย์ต่อชาติไทย
ความสำคัญของพระมหากษัตริย์ต่อชาติไทยความสำคัญของพระมหากษัตริย์ต่อชาติไทย
ความสำคัญของพระมหากษัตริย์ต่อชาติไทย
 
โครงงานกล่องดักไขมันแฮนด์เมด
โครงงานกล่องดักไขมันแฮนด์เมดโครงงานกล่องดักไขมันแฮนด์เมด
โครงงานกล่องดักไขมันแฮนด์เมด
 
ภาคผนวก
ภาคผนวกภาคผนวก
ภาคผนวก
 
ประวัติลูกเสือ
ประวัติลูกเสือประวัติลูกเสือ
ประวัติลูกเสือ
 
IS1 การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ กลุ่ม1
IS1  การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ กลุ่ม1IS1  การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ กลุ่ม1
IS1 การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ กลุ่ม1
 
แผนวิทยาการคำนวณ ป.6.pdf
แผนวิทยาการคำนวณ ป.6.pdfแผนวิทยาการคำนวณ ป.6.pdf
แผนวิทยาการคำนวณ ป.6.pdf
 
โครงงานอาชีพ
โครงงานอาชีพโครงงานอาชีพ
โครงงานอาชีพ
 
อินธนูครู
อินธนูครูอินธนูครู
อินธนูครู
 
1 ธรรมชาติและพลังของภาษาไทย(5-34)
1 ธรรมชาติและพลังของภาษาไทย(5-34)1 ธรรมชาติและพลังของภาษาไทย(5-34)
1 ธรรมชาติและพลังของภาษาไทย(5-34)
 
การถ่ายโอนความร้อน
การถ่ายโอนความร้อนการถ่ายโอนความร้อน
การถ่ายโอนความร้อน
 

Similar to การบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน

การบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน
การบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานการบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน
การบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน
อลิศลา กันทาเดช
 
การบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน
การบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานการบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน
การบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานtanongsak
 
คู่มือครูและบุคลากร
คู่มือครูและบุคลากรคู่มือครูและบุคลากร
คู่มือครูและบุคลากรMontree Jareeyanuwat
 
คู่มือครูและบุคลากร
คู่มือครูและบุคลากรคู่มือครูและบุคลากร
คู่มือครูและบุคลากรMontree Jareeyanuwat
 
คู่มือครูและบุคลากร
คู่มือครูและบุคลากรคู่มือครูและบุคลากร
คู่มือครูและบุคลากรMontree Jareeyanuwat
 
School Management
School ManagementSchool Management
School Managementguest128945
 
การบริหารแบบมีส่วนร่วม
การบริหารแบบมีส่วนร่วมการบริหารแบบมีส่วนร่วม
การบริหารแบบมีส่วนร่วมAiphie Sonia Haji
 
จุดเน้นที่ 7
จุดเน้นที่  7 จุดเน้นที่  7
Sar2553
Sar2553Sar2553
Sar2553
Komsun See
 
รายงานผลการดำเนินงาน ปีการศึกษา 2557 โรงเรียนแม่ลาน้อยดรุณสิกข์
รายงานผลการดำเนินงาน ปีการศึกษา 2557 โรงเรียนแม่ลาน้อยดรุณสิกข์รายงานผลการดำเนินงาน ปีการศึกษา 2557 โรงเรียนแม่ลาน้อยดรุณสิกข์
รายงานผลการดำเนินงาน ปีการศึกษา 2557 โรงเรียนแม่ลาน้อยดรุณสิกข์
Somchai Phaeumnart
 
ครูแกนนำ ผู้เป็นแกนบุญของชุมชน โรงเรียนดีศรีตำบล
ครูแกนนำ ผู้เป็นแกนบุญของชุมชน  โรงเรียนดีศรีตำบลครูแกนนำ ผู้เป็นแกนบุญของชุมชน  โรงเรียนดีศรีตำบล
ครูแกนนำ ผู้เป็นแกนบุญของชุมชน โรงเรียนดีศรีตำบลblctoday
 
กรอบความคิดระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน
กรอบความคิดระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียนกรอบความคิดระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน
กรอบความคิดระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียนครูแชมป์ ฟักอ่อน
 
แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน รร.มัธยมจารพัตวิทยา
แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน รร.มัธยมจารพัตวิทยาแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน รร.มัธยมจารพัตวิทยา
แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน รร.มัธยมจารพัตวิทยาWorrachet Boonyong
 
จุดเน้นที่ 7
จุดเน้นที่  7จุดเน้นที่  7
จุดเน้นที่ 7klongnamkeaw
 
O10 แผนปฎิบัติการ64(การเงิน)ใหม่
O10 แผนปฎิบัติการ64(การเงิน)ใหม่O10 แผนปฎิบัติการ64(การเงิน)ใหม่
O10 แผนปฎิบัติการ64(การเงิน)ใหม่
Watcharasak Chantong
 
แผนปฎิบัติการ64
แผนปฎิบัติการ64 แผนปฎิบัติการ64
แผนปฎิบัติการ64
Watcharasak Chantong
 
จิตวิทยาการแนะแนวและการให้คำปรึกษา 2
จิตวิทยาการแนะแนวและการให้คำปรึกษา 2จิตวิทยาการแนะแนวและการให้คำปรึกษา 2
จิตวิทยาการแนะแนวและการให้คำปรึกษา 2
สรสิช ขันตรีมิตร
 
การบริหารงานวิชาการ
การบริหารงานวิชาการการบริหารงานวิชาการ
การบริหารงานวิชาการ
Watcharasak Chantong
 

Similar to การบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน (20)

การบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน
การบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานการบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน
การบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน
 
การบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน
การบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานการบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน
การบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน
 
คู่มือครูและบุคลากร
คู่มือครูและบุคลากรคู่มือครูและบุคลากร
คู่มือครูและบุคลากร
 
คู่มือครูและบุคลากร
คู่มือครูและบุคลากรคู่มือครูและบุคลากร
คู่มือครูและบุคลากร
 
คู่มือครูและบุคลากร
คู่มือครูและบุคลากรคู่มือครูและบุคลากร
คู่มือครูและบุคลากร
 
Rbm+sbm
Rbm+sbmRbm+sbm
Rbm+sbm
 
Ea5103
Ea5103Ea5103
Ea5103
 
School Management
School ManagementSchool Management
School Management
 
การบริหารแบบมีส่วนร่วม
การบริหารแบบมีส่วนร่วมการบริหารแบบมีส่วนร่วม
การบริหารแบบมีส่วนร่วม
 
จุดเน้นที่ 7
จุดเน้นที่  7 จุดเน้นที่  7
จุดเน้นที่ 7
 
Sar2553
Sar2553Sar2553
Sar2553
 
รายงานผลการดำเนินงาน ปีการศึกษา 2557 โรงเรียนแม่ลาน้อยดรุณสิกข์
รายงานผลการดำเนินงาน ปีการศึกษา 2557 โรงเรียนแม่ลาน้อยดรุณสิกข์รายงานผลการดำเนินงาน ปีการศึกษา 2557 โรงเรียนแม่ลาน้อยดรุณสิกข์
รายงานผลการดำเนินงาน ปีการศึกษา 2557 โรงเรียนแม่ลาน้อยดรุณสิกข์
 
ครูแกนนำ ผู้เป็นแกนบุญของชุมชน โรงเรียนดีศรีตำบล
ครูแกนนำ ผู้เป็นแกนบุญของชุมชน  โรงเรียนดีศรีตำบลครูแกนนำ ผู้เป็นแกนบุญของชุมชน  โรงเรียนดีศรีตำบล
ครูแกนนำ ผู้เป็นแกนบุญของชุมชน โรงเรียนดีศรีตำบล
 
กรอบความคิดระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน
กรอบความคิดระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียนกรอบความคิดระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน
กรอบความคิดระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน
 
แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน รร.มัธยมจารพัตวิทยา
แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน รร.มัธยมจารพัตวิทยาแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน รร.มัธยมจารพัตวิทยา
แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน รร.มัธยมจารพัตวิทยา
 
จุดเน้นที่ 7
จุดเน้นที่  7จุดเน้นที่  7
จุดเน้นที่ 7
 
O10 แผนปฎิบัติการ64(การเงิน)ใหม่
O10 แผนปฎิบัติการ64(การเงิน)ใหม่O10 แผนปฎิบัติการ64(การเงิน)ใหม่
O10 แผนปฎิบัติการ64(การเงิน)ใหม่
 
แผนปฎิบัติการ64
แผนปฎิบัติการ64 แผนปฎิบัติการ64
แผนปฎิบัติการ64
 
จิตวิทยาการแนะแนวและการให้คำปรึกษา 2
จิตวิทยาการแนะแนวและการให้คำปรึกษา 2จิตวิทยาการแนะแนวและการให้คำปรึกษา 2
จิตวิทยาการแนะแนวและการให้คำปรึกษา 2
 
การบริหารงานวิชาการ
การบริหารงานวิชาการการบริหารงานวิชาการ
การบริหารงานวิชาการ
 

การบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน

  • 2. คณะผู้จัดทำ  นายสมนึก ทิตา รหัสนักศึกษา 578914243  นายยุทธนา กันทาเดช รหัสนักศึกษา 578914207  นายบัญญัติ ยานะ รหัสนักศึกษา 578914226  นางอลิศลา ริยะสาร รหัสนักศึกษา 578914204  นางสาวน้าผึ้ง ธรรมลังกา รหัสนักศึกษา 578914205  นางสาวดวงพร มิตรยอง รหัสนักศึกษา 578914216  นางสาวสุภาพร มาเมือง รหัสนักศึกษา 578914244
  • 3. การบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน (School - Based Management : SBM) ควำมหมำย กำรบริหำรโดยใช้โรงเรียนเป็นฐำนใช้ อักษรย่อ SBM มำจำกคำเต็ม และมีควำมหมำยดังนี้ S = School แปลว่ำ โรงเรียน B = Based แปลว่ำ เกี่ยวกับฐำนหรือพื้นฐำน M = Management แปลว่ำ กำรบริหำรและกำรจัดกำร
  • 4. ดังนั้น School-Based Management จึงแปลควำมหมำยว่ำ กำรบริหำรโดยใช้ โรงเรียนเป็ นฐำน หรือกำรใช้โรงเรียนเป็ นฐำนใน กำรบริหำรและกำรจัดกำร หรือกำรบริหำรจัด กำรศึกษำโดยใช้โรงเรียนเป็ นฐำน ซึ่งเกิดจำกแนว ควำมคิด เรื่องปฏิรูปกำรศึกษำ และกำรกระจำย อำนำจทำงกำรศึกษำ
  • 5.  สำนักงำนคณะกรรมกำรกำรศึกษำแห่งชำติ (2544 : 2) ได้ให้ควำมหมำยไว้ว่ำ หมำยถึง กำรบริหำร และกำรจัด กำรศึกษำที่หน่วยปฏิบัติ โดยมีโรงเรียนเป็ นฐำน หรือ เป็ น องค์กรหลักในกำรจัดกำรศึกษำ ซึ่งจะต้องมีกำรกระจำยอำนำจ กำรบริหำร และกำรจัดกำรศึกษำจำกส่วนกลำงไปยัง โรงเรียน ให้โรงเรียนมีอำนำจ หน้ำที่ควำมรับผิดชอบ มีควำมอิสระคล่องตัวในกำรบริหำรจัดกำร ภำยใต้คณะกรรมกำรโรงเรียน ผู้แทนนักเรียน และผู้บริหำร โรงเรียน เพื่อให้กำรจัดกำรศึกษำเป็นไปโดยมีส่วนร่วม และ ตรงตำมควำมต้องกำรของผู้เรียน ผู้ปกครอง และชุมชน มำกที่สุด
  • 6. สรุปการบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน (School - Based Management : SBM)  แนวคิดทำงกำรบริหำรและกำรจัดกำรศึกษำที่มุ่งให้ สถำนศึกษำเป็ นองค์กรหลักในกำรจัดกำรศึกษำอย่ำงมี คุณภำพ ภำยใต้กรอบของกฎหมำยที่กำหนด โดยมีกำร กระจำยอำนำจกำรกำรจัดกำรศึกษำจำกส่วนกลำงไปยัง สถำนศึกษำโดยตรง ให้สถำนศึกษำมีอำนำจหน้ำที่ ควำมรับผิดชอบและควำมคล่องตัวในกำรบริหำร จัดกำรมำกที่สุด
  • 7. ประวัติควำมเป็นมำของกำรบริหำร โดยใช้โรงเรียนเป็นฐำน  เริ่มใช้ในประเทศสหรัฐอเมริกำเป็นครั้ง แรก ในช่วงทศวรรษ 1980  ได้รับอิทธิพลมำจำกกระแสกำร เปลี่ยนแปลงของโลกธุรกิจ อุตสำหกรรม ที่ประสบควำมสำเร็จจำกหลักกำร วิธีกำร และกลยุทธ์ในกำรทำให้องค์กำร มีประสิทธิภำพ
  • 8.  ในปลำยทศวรรษ 1980 ได้มีกำรบริหำรโดยใช้โรงเรียน เป็นฐำน (School – Based Management) ในรูปแบบต่ำง ๆ จนกลำยเป็ นประเด็นร่วมและยุทธศำสตร์กำรปฏิรูป กำรศึกษำในส่วนต่ำง ๆ ของโลก เช่น ประเทศสหรัฐอเมริกำ สหรำชอำณำจักร อสเตรเลีย นิวซีแลนด์ สิงคโปร์ สำธำรณรัฐเกำหลี อิสรำเอล และฮ่องกง
  • 9. สำหรับกำรบริหำรโดยใช้โรงเรียนเป็นฐำน (School – Based Management : SBM) ในประเทศไทยนั้นเริ่มปรำกฏชัดเจนขึ้นหลังจำก ที่รัฐบำลประกำศใช้พระรำชบัญญัติกำรศึกษำแห่งชำติ พ.ศ.2542
  • 11. เดวิด (David , 1989 อ้ำงถึงใน Cheng , 1996 : 4) กล่ำวว่ำ กำรบริหำรโดยกำรใช้โรงเรียนเป็นฐำนต้อง ประกอบไปด้วยแนวคิดหลักสำคัญ 2 ประกำร คือ 1. โรงเรียนเป็นหน่วยสำคัญสำหรับตัดสินใจ 2. กำรมีส่วนร่วมและกำรมีควำมรู้สึกเป็นเจ้ำของ เป็นปัจจัยสำคัญสำหรับกำรปฏิรูปกำรบริหำรกำรจัด กำรศึกษำ (สมำชิกในโรงเรียนและชุมชนให้ควำม ร่วมมือกันในกำรตัดสินใจกำรบริหำรและกำรปฏิบัติงำน)
  • 12.  อุทัย บุญประเสริฐ (2543 : 154 – 156 ) ได้กล่ำวถึงหลักกำรสำคัญของกำรบริหำรโดยใช้โรงเรียน เป็นฐำนไว้ 5 ประกำร คือ 1. หลักกำรกระจำยอำนำจ 2. หลักกำรมีส่วนร่วม 3. หลักกำรคืนอำนำจกำรจัดกำรศึกษำให้ประชำชน 4. หลักกำรบริหำรตนเอง 5. หลักกำรตรวจสอบและถ่วงดุล
  • 13.  สำนักงำนคณะกรรมกำรกำรศึกษำแห่งชำติ (2544 :3- 4) กำรบริหำรโดยใช้โรงเรียนเป็นฐำนแต่ละแห่งอำจไม่เหมือนกัน ขึ้ นอยู่กับลักษณะเฉพำะและควำมจำเป็นของแต่ละโรงเรียนจะ ตั้งอยู่บนหลักกำรพื้นฐำนเดียวกัน คือ 1. หลักกำรกระจำยอำนำจ 2. หลักกำรบริหำรแบบมีส่วนร่วม 3. หลักกำรบริหำรตนเอง 4. หลักกำรพัฒนำทั้งระบบ 5. หลักควำมรับผิดชอบที่ตรวจสอบได้ 6. หลักกำรมีภำวะผู้นำแบบเกื้ อหนุน
  • 14.  สำนักงำนเลขำสภำกำรศึกษำ ( 2548 : 33 ) ได้กล่ำวถึง กำรบริหำรโดยใช้โรงเรียนเป็นฐำนมีหลักสำคัญ 3 ประกำร คือ 1. หลักกำรกระจำยอำนำจ (Decentralization) 2. หลักกำรมีส่วนร่วม (Participation) 3. หลักกำรบริหำรจัดกำรศึกษำที่ดี (Good Governance in Education)
  • 16. 1. หลักการกระจายอานาจ (Decentralization)  ซึ่งเป็นกำรกระจำยอำนำจกำรจัดกำรศึกษำจำกกระทรวงและ ส่วนกลำงไปยังสถำนศึกษำให้มำกที่สุด โดยมีควำมเชื่อว่ำ โรงเรียนเป็นหน่วยสำคัญในกำรเปลี่ยนแปลงและพัฒนำ กำรศึกษำเด็ก
  • 17. 2. หลักการมีส่วนร่วม (Participation or Collaboration or Involvement)  เปิ ดโอกำสให้ผู้เกี่ยวข้องและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียได้มีส่วนร่วมใน กำรบริหำร ตัดสินใจ และร่วมจัดกำรศึกษำ ทั้งครู ผู้ปกครอง ตัวแทนศิษย์เก่ำ และตัวแทนนักเรียน กำรที่บุคคลมีส่วนร่วมใน กำรจัดกำรศึกษำ จะเกิดควำมรู้สึกเป็ นเจ้ำของและจะรับผิดชอบ ในกำรจัดกำรศึกษำมำกขึ้น
  • 18. 3. หลักการคืนอานาจจัดการศึกษาให้ประชาชน (Return Power to People)  เมื่อประชำกรเพิ่มขึ้ น ควำมเจริญต่ำง ๆ ก้ำวไปอย่ำงรวดเร็ว กำรจัดกำรศึกษำโดยส่วนกลำง เริ่มมีข้อจำกัด เกิดควำมล่ำช้ำ และไม่สนอง ควำมต้องกำรของผู้เรียนและชุมชนอย่ำงแท้จริง จึงต้องมีกำรคืนอำนำจให้ท้องถิ่นและประชำชนได้จัดกำรศึกษำ เองอีกครั้ง
  • 19. 4. หลักการบริหารตนเอง (Self-managing)  มีควำมเชื่อว่ำวิธีกำรทำงำนให้บรรลุเป้ ำหมำยนั้นทำได้ หลำยวิธีกำรที่ส่วนกลำงทำหน้ำที่เพียงกำหนดนโยบำย และเป้ ำหมำยแล้วปล่อยให้โรงเรียนมีระบบกำรบริหำร ด้วยตนเอง โดยให้โรงเรียนมีอำนำจหน้ำที่และควำม รับผิดชอบในกำรดำเนินงำน ซึ่งอำจดำเนินกำรได้ หลำกหลำยด้วยวิธีกำรที่แตกต่ำงกัน แล้วแต่ควำมพร้อม และสถำนกำรณ์ของโรงเรียน ผลที่ได้น่ำจะมีประสิทธิภำพ สูงกว่ำเดิม ที่ทุกอย่ำงกำหนดมำจำกส่วนกลำง ไม่ว่ำจะ โดยทำงตรงหรือทำงอ้อม
  • 20. 5. หลักการตรวจสอบและถ่วงดุล (Check and Balance)  ส่วนกลำงมีหน้ำที่กำหนดนโยบำยและควบคุมมำตรฐำน มีองค์กรอิสระทำหน้ำที่ตรวจสอบคุณภำพกำรบริหำรและ กำรจัดกำรศึกษำเพื่อให้มีคุณภำพและมำตรฐำนเป็ นไป ตำมกำหนดและมำตรฐำนเป็ นไปตำมกำหนด และเป็ นไป ตำมนโยบำยของชำติ
  • 22. 1. รูปแบบการบริหารโรงเรียนที่ชุมชนมีบทบาทหลัก (Community Control SBM)  จะเป็ นแบบที่เพิ่มควำมรับผิดชอบในกำรจัดกำรศึกษำ ให้แก่ชุมชนและผู้ปกครอง โดยมุ่งเน้นเพื่อให้ผู้รับบริกำร กำรศึกษำมีควำมพึงพอใจในกำรศึกษำที่จัดให้มำก ที่สุด คณะกรรมกำรโรงเรียนจึงมีสัดส่วนจำนวนตัวแทน ผู้ปกครองและชุมชนมำกที่สุด ประธำนคณะกรรมกำรมำ จำกกลุ่มผู้แทนชุมชนหรือผู้ปกครอง บทบำทของ คณะกรรมกำรโรงเรียน ก็คือ กำรทำหน้ำที่คณะกรรมกำร บริหำรโรงเรียน
  • 23. 2. รูปแบบที่ผู้บริหารโรงเรียนเป็นหลัก (Administrative Control SBM)  คณะกรรมกำรโรงเรียนที่ตั้งขึ้ นจะมีบทบำทเป็ นคณะกรรมกำร ที่ปรึกษำของผู้บริหำรโรงเรียน ผู้บริหำรโรงเรียนเป็ นประธำน คณะกรรมกำรโดยตำแหน่ง คณะกรรมกำรจะประกอบด้วย ตัวแทนครู ตัวแทนผู้ปกครอง ตัวแทนชุมชน ตัวแทนนักเรียน (ชั้นมัธยมศึกษำตอนปลำย) คณะกรรมกำรมีบทบำทในกำรให้ ข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะในกำรบริหำร แต่อำนำจกำรตัดสินใจ ในขั้นสุดท้ำยจะยังคงอยู่ที่ผู้บริหำรโรงเรียน
  • 24. 3. รูปแบบที่มีครูเป็นหลัก (Professional Control SBM)  เชื่อว่ำครูเป็ นผู้ใกล้ชิดนักเรียนมำกที่สุดและเป็ น ผู้ปฏิบัติกำรสอนโดยตรง จึงย่อมจะรับรู้ปัญหำต่ำง ๆ ไว้ ดีกว่ำตัวแทนคณะครูจึงมีสัดส่วนมำกที่สุดใน คณะกรรมกำรโรงเรียน บทบำทของคณะกรรมกำรนี้ จะ เป็ นทั้งกรรมกำรที่ปรึกษำและกรรมกำรที่ปรึกษำและ กรรมกำรบริหำรไปด้วยในตัว
  • 25. 4. รูปแบบที่ครูและชุมชนมีบทบาทหลัก (Professional / Community Control SBM)  ถือว่ำ ทั้งครูและผู้ปกครองต่ำงมีบทบำทและ ควำมสำคัญในกำรจัดกำรศึกษำให้แก่เด็กมำกกว่ำกลุ่มอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องกับโรงเรียน สัดส่วนของผู้แทนครู ผู้ปกครอง/ชุมชน จะมีเท่ำ ๆ กัน คณะกรรมกำรโรงเรียน ทำหน้ำที่เป็นคณะกรรมกำรบริหำรโรงเรียน
  • 26. 5. รูปแบบโรงเรียนในกากับของรัฐ  จะมีลักษณะเป็ นโรงเรียนที่ได้รับเงินอุดหนุนจำกรัฐและมีฐำนะ เป็ นหรือเสมือนเป็ นองค์กรนิติบุคคล โรงเรียนดำเนินกำรของ ตนเองได้แบบอิสระ (Deregulation) จำกกฎระเบียบที่ใช้บังคับ กับโรงเรียนทั่วไป โรงเรียนสำมำรถออกกฎระเบียบของตนเองได้ โดยเฉพำะมีควำมเป็ นอิสระในเรื่องกำรจัดกำรด้ำนวิชำกำร กำรเงินและบุคคล แต่โรงเรียนจะต้องรับผิดชอบต่อผลกำร ดำเนินงำนตำมพันธะสัญญำ (Charter) หรือตำมข้อตกลงที่ได้ทำ ไว้กับหน่วยงำนที่มีอำนำจอนุมัติให้เป็ นโรงเรียนในกำกับดูแล ของรัฐ
  • 27. 6. รูปแบบที่เป็นการบริหารโดยองค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่น  ได้กำหนดขึ้ นเพื่อให้ตอบสนองรัฐธรรมนูญแห่งรำชอำณำจักร ไทย พ.ศ.2540 และพระรำชบัญญัติกำรศึกษำ แห่งชำติ พ.ศ. 2542 ที่ได้เปิดโอกำสให้องค์กรปกครองส่วน ท้องถิ่นจัดหรือมีส่วนร่วมในกำรจัดกำรศึกษำเองได้ทุกระดับและ ทุกประเทศ ในกำรจัดกำรศึกษำจะกระจำยอำนำจไปยังองค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่นและสถำนศึกษำโดยตรง (ไม่ต้องผ่ำนเขต พื้นที่กำรศึกษำ)
  • 28. 7. รูปแบบการประกอบการของเอกชน  เนื่องจำกหลำยฝ่ำยเห็นว่ำเอกชนจะมีควำมสำมำรถในกำรจัด กำรศึกษำได้อย่ำงมีประสิทธิภำพ โดยเฉพำะในประเทศที่เน้น รูปแบบเศรษฐกิจเสรีนั้น กำรส่งเสริมให้เอกชนเข้ำมำบทบำท สำคัญในกำรจัดกำรศึกษำ ไม่ใช่เรื่องของกำรแบ่งเบำภำระ ของรัฐ แต่เป็ นหลักกำรสำคัญของระบบกำรดำเนินงำนแบบ เสรีที่มีกำรตอบสนองควำมต้องกำรของชุมชนที่มี ประสิทธิภำพสูง
  • 29. แนวทางการดาเนินงานการบริหาร โดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน  จำกพระรำชบัญญัติกำรศึกษำแห่งชำติ พ.ศ. 2542 หมวด 5 มำตรำ 39 และมำตรำ 40 กระทรวง ได้กระจำยอำนำจกำร บริหำรและกำรจัดกำรศึกษำให้โรงเรียนทั้งในด้ำนวิชำกำร งบประมำณ กำรบริหำรบุคคล และกำรบริหำรทั่วไป โดยมี คณะกรรมกำรสถำนศึกษำเป็ นองค์คณะบุคคลทำหน้ำที่ในกำร บริหำรโดยทำให้โรงเรียนเป็ นฐำนหรือศูนย์กลำงของกำรบริหำร และจัดกำรศึกษำที่ต่อเนื่องและยั่งยืน
  • 30. 6. รายงานประจาปี รายงานการประเมินตนเอง 5. ประเมินตนเอง ประเมินภายใน 4. ดาเนินการตามแผนปฏิบัติการ 3. กาหนดกลยุทธ์ วางแผนพัฒนาและแผนปฏิบัติการ 2. กาหนดวิสัยทัศน์ เป้ าหมาย 1. วิเคราะห์ศักยภาพของโรงเรียน ขั้นตอนการดาเนินงานการบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน ( School – Based Management Process )
  • 31. การบริหารโดยใช้ โรงเรียนเป็นฐาน (SBM) การมีส่วนร่วมของผู้เกี่ยวข้อง * คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน * ผู้บริหาร ครู-อาจารย์ * นักเรียน * ผู้ปกครอง * ชุมชน การกระจายอานาจการจัดการศึกษา * การทางานเป็นทีม * การสร้างทีมงานและพัฒนาทีมงาน * การพัฒนาวิชาชีพ การแสดงภาวะงานที่ตรวจสอบได้ * เป็นประชาธิปไตย โปร่งใส ตรวจสอบได้ * รายงานผลการดาเนินงาน
  • 32. กลยุทธ์สู่ความสาเร็จของการบริหาร โดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน  กำรสร้ำงควำมตระหนัก / ควำมรู้ควำมเข้ำใจใน SBM  กำรพัฒนำวิชำชีพผู้บริหำร  กำรพัฒนำวิชำชีพครู  กำรมีวิสัยทัศน์  กำรบริหำรจัดกำรที่เป็นระบบ  พัฒนำกำรมีส่วนร่วมในเรื่องกำรบริหำรหลักสูตร  กำรพัฒนำระบบข้อมูลสำรสนเทศ  กำรมีวิธีคิดและวิธีปฏิบัติงำนที่เป็นระบบ  กำรให้รำงวัล
  • 33. แหล่งอ้างอิง  https://www.gotoknow.org/posts/284552 ; ยาเบ็น เรืองจรูญศรี  https://www.gotoknow.org/posts/319049 ; ศิริธร พิมพ์ฝด  https://www.krupai.net/sbm_nitigorn.doc ; นิติกรณ์ ฉันท์วงศ์ชนะ