SlideShare a Scribd company logo
1 of 27
Download to read offline
กรอบแนวคิดระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน 
โดยครูแชมป์ ฟักอ่อน 
www.damsanid.blogger.com 
เอกสาร 
กรอบแนวคิดระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน 
เพื่อเผยแพร่ พุทธศักราช ๒๕๕๗ 
กรอบแนวคิดระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน 
โดยครูแชมป์ ฟักอ่อน 
www.damsanid.blogger
กรอบแนวคิดระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน 
โดยครูแชมป์ ฟักอ่อน 
www.damsanid.blogger.com 
กรอบความคิดระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน 
ความสาคัญและความจาเป็นของระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน 
การพัฒนานักเรียนให้เป็นบุคคลที่มีคุณภาพทั้งด้านร่างกาย จิตใจ 
สติปัญญา ความสามารถ มีคุณธรรม จริยธรรม และวิถีชีวิตที่เป็นสุขตามที่สังคม 
มุ่งหวัง โดยผ่านกระบวนการทางการศึกษานั้น นอกจากจะดาเนินการด้วยการ 
ส่งเสริม สนับสนุนนักเรียนแล้ว การป้องกันและการช่วยเหลือปัญหาต่างๆที่เกิด 
ขึ้นกับนักเรียนก็เป็นสิ่งสาคัญประการหนึ่งของการพัฒนาเนื่องจากสภาพสังคมที่ 
เปลี่ยนแปลงไปอย่างมากทั้งด้านการสื่อสาร เทคโนโลยีต่างๆซึ่งนอกจากจะส่งผล 
กระทบต่อผู้คนในเชิงบวกแล้ว ในเชิงลบก็ปรากฏเช่นกัน เป็นต้นว่าปัญหาเศรษฐกิจ 
ปัญหาการระบาดของสารเสพติด ปัญหาการแข่งขันในรูปแบบต่างๆ ปัญหาครอบครัวซึ่ง 
ก่อเกิดความทุกข์ ความวิตกกังวล ความเครียด การปรับตัวที่ไม่เหมาะสม หรือ 
อื่นๆ ที่เป็นผลเสียต่อสุขภาพจิตและสภาพกายของทุกคนที่เกี่ยวข้อง ดังนั้น ภาพ 
ความสาเร็จที่เกิดจากการพัฒนานักเรียนให้เป็นไปตามความมุ่งหวังนั้น จึงต้องอาศัย 
ความร่วมมือจากผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่ายทุกคน โดยเฉพาะบุคลากรครูทุกคนในโรงเรียน 
ซึ่งมีครูที่ปรึกษาเป็นหลักสาคัญในการดาเนินการต่างๆเพื่อการดูแลช่วยเหลือนักเรียน 
อย่างใกล้ชิดด้วยความรักและเมตตาที่มีต่อศิษย์ และภาคภูมิใจในบทบาทที่มีส่วน 
สาคัญต่อการพัฒนาคุณภาพชีวิตของเยาวชนให้เติบโตงอกงาม เป็นบุคลที่คุณค่าของ 
สังคมต่อไป 
บทบาทของครูที่กล่าวมานั้นคงมิใช่เรื่องใหม่ เพราะมีการปฏิบัติกันอย่าง 
สม่าเสมอและได้ดาเนินการมานานแล้วนับตั้งแต่อดีตจนได้รับยกย่องให้เป็นปูชนีย 
บุคคล แต่เพื่อให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลงของยุคสมัย โดยเฉพาะการทางานอย่างมี 
ระบบที่มีกระบวนการทางาน มีหลักฐานการปฏิบัติงาน มีเทคนิควิธีการ หรือการใช้ 
เครื่องมือต่างๆเพื่อการดูแลช่วยเหลือนักเรียนแล้ว ความสาเร็จของงานย่อมเกิดขึ้น 
อย่ารวดเร็ว มีประสิทธิภาพ ผลดีย่อมเกิดขึ้นกับทุกคนทั้งทางตรงและทางอ้อม ไม่ 
ว่าจะเป็นครู นักเรียน ผู้ปกครอง ชุมชน หรือสังคม 
นอกจากนี้พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พุทธศักราช ๒๕๔๒ ได้ 
กาหนดความมุ่งหมายและหลักการจัดการศึกษาต้องเป็นไปเพื่อพัฒนาคนไทยให้เป็น 
มนุษย์ที่สมบูรณ์ทั้งร่างกาย จิตใจ สติปัญญา ความรู้ และคุณธรรม มีจริยธรรม 
และวัฒนธรรมในการดารงชีวิต สามารถร่วนอยู่กับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข 
(มาตรา ๖ ) และแนวการจัดการศึกษายังได้ให้ความสาคัญแก่ผู้เรียนโดยยึดหลักว่าทุก 
คนมีความสามารถเรียนรู้และพัฒนาตนองได้และถือว่าผู้เรียนมีความสาคัญที่สุดต้อง 
ส่งเสริมให้ผู้เรียนพัฒนาตามธรรมชาติและเต็มตามศักยภาพ (มาตรา ๒๒) ในการ 
จัดการศึกษาต้องเน้นความสาคัญทั้งความรู้ คุณธรรม กระบวนการเรียนรู้และบูรณการ
กรอบแนวคิดระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน 
โดยครูแชมป์ ฟักอ่อน 
www.damsanid.blogger.com 
ตามความเหมาะสม ของแต่ละระดับการศึกษาซึ่งเรื่องหนึ่งที่กาหนดให้ดาเนินการ คือ 
เรื่อง ความรู้และทักษะในการประกอบอาชีพและการดารงชีวิตอย่างมีความสุข 
(มาตรา ๒๓ ข้อ (๕) ทั้งนี้การจัดกระบวนการเรียนให้คานึงถึงความแตกต่างระหว่าง 
บุคคล ให้ผู้เรียนรู้จักประยุกต์ความรู้มาใช้เพื่อป้องกันและแก้ไขปัญหา ให้รู้จักคิดเป็น 
ทาเป็น รวมทั้งปลูกฝังคุณธรรม ค่านิยมที่ดีงาม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ไว้ใน 
ทุกวิชาอีกทั้งมีการประสานความร่วมมือกับบิดา มารดา ผู้ปกครองและบุคคลใน 
ชุมชนทุกฝ่าย เพื่อร่วมมือกันพัฒนาผู้เรียน ตามศักยภาพ 
ในการปฏิรูปวิชาชีพครู ซึ่งเป็นการพัฒนาครูให้เป็นบุคคลที่มีความรู้ 
ความสามารถคุณลักษณะที่มีคุณภาพ และมาตรฐานวิชาชีพ ตามการประกันคุณภาพ 
การศึกษา กรมสามัญศึกษา กรมสามัญศึกษาด้านปัจจัย คือ ครู ที่ระบุในมาตราที่ 
๒ ครูมีคุณธรรม จริยธรรม คุณลักษณะที่พึงประสงค์ โดยมีตัวชี้วัดที่สาคัญและ 
เกี่ยวข้องกับบทบาทหน้าที่ของครูในการพัฒนานักเรียน คือ การมีความรัก เอื้ออาทร 
เอาใจใส่ ดูแลนักเรียนอย่างสม่าเสมอ การมีมนุษยสัมพันธ์และสุขภาพจิตที่ดี 
พร้อมที่จะแนะนาและร่วมกันแก้ปัญหาของนักเรียน แสดงให้เห็นว่า ครู ต้องพัฒนา 
ตนเองให้เป็นครูมืออาชีพ คือ นอกจากจะทาหน้าที่ครูผู้มีความรู้ ความสามารถใน 
การจัดการเรียนการสอนให้แก่นักเรียนแล้วยังต้องทาหน้าที่อื่นๆ ที่เป็นการสนับสนุน 
หรือพัฒนานักเรียนให้มีคุณภาพ ทั้งดี เก่ง มีสุข ซึ่งสอดคล้องกับมาตรฐานด้าน 
ผลผลิต คือนักเรียนในการประกันคุณภาพการศึกษา กรมสามัญศึกษา มาตรฐานที่ ๔ 
ที่มุ่งให้นักเรียนมีคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมที่พึงประสงค์ มาตรฐานที่ ๕ มี 
สุนทรียภาพและลักษณะด้านศิลปะ ดนตรี กีฬา มาตรฐานที่ ๖ รู้จักตนเอง พึ่งตน 
องได้ และมีบุคลิกภาพที่ดี มาตรฐานที่ ๗ มีสุขนิสัย สุขภาพกายและสุขภาพจิตที่ 
ดี ปลอดจากสิ่งเสพติดให้โทษ ซึ่งการดูแลช่วยเหลือนักเรียนจะเป็นปัจจัยสาคัญ 
ประการหนึ่ง ที่ช่วยเหลือให้นักเรียนมีคุณภาพตามมาตรฐานดังกล่าวได้ โดยผ่าน 
กระบวนการทางานที่เป็นระบบ ซึ่งมีความสอดคล้องกับมาตรฐานด้านกระบวนการ 
ของการประกันคุณภาพด้านการศึกษา กรมสามัญศึกษา มาตรฐานที่ ๑ ที่ให้โรงเรียนมี 
การบริหารและการจัดการอย่างเป็นระบบ มาตรฐานที่ ๔ มีการจัดกิจกรรมการเรียนการ 
สอน โดยเน้นผู้เยนเป็นศูนย์กลาง มาตรฐานที่ ๗ ส่งเสริมความสัมพันธ์ และ 
ความร่วมมือระหว่างโรงเรียนผู้ปกครอง ชุมชน องค์กรภาครัฐและเอกชนในการจัด 
และพัฒนาการศึกษา ดังนั้น ระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียนจึงเป็นระบบที่สามารถ 
ดาเนินการเพื่อรับการประกันคุณภาพได้ ซึ่งครอบคลุมทั้งด้านปัจจัย ด้านผลผลิตและ 
ด้านกระบวนการ
กรอบแนวคิดระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน 
โดยครูแชมป์ ฟักอ่อน 
www.damsanid.blogger.com 
กรมสามัญศึกษาตระหนักถึงความสาคัญดังกล่าวจึงจัดทาระบบการ 
ช่วยเหลือนักเรียนเพื่อให้มีกระบวนการทางานเป็นระบบ มีความชัดเจน มีการ 
ประสานความร่วมมือของผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่ายทั้งในโรงเรียนและนอกโรงเรียน รวมทั้ง 
วิธีการ กิจกรรมและเครื่องมือต่างๆ ที่มีคุณภาพในการดูแลช่วยเหลือนักเรียนอันจะ 
ส่งผลให้ระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียนประสบความสาเร็จโดยมีแนวคิดหลักในการ 
ดาเนินงาน ดังนี้ 
๑. มนุษย์ทุกคนมีศักยภาพที่จะเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้ตลอดชีวิต 
เพียงแต่ใช้เวลาและวิธีการที่ต่างกัน เนื่องจากแต่ละคนมีความเป็นปัจเจกบุคคล 
ดังนั้น การยึดนักเรียนเป็นสาคัญในการพัฒนา เพื่อดูแลช่วยเหลือ ทั้งด้านการ 
ป้องกัน แก้ไขปัญหา หรือการส่งเสริมจึงเป็นสิ่งจาเป็น 
๒. ความสาเร็จของงาน ต้องอาศัยการมีส่วนร่วม ทั้งการร่วมใจ ร่วม 
คิด ร่วมทาของทุกคนที่มีส่วนเกี่ยวข้อง ไม่ว่าจะเป็นบุคลากรโรงเรียนในทุกระดับ 
ผู้ปกครอง หรือชุมชน 
วัตถุประสงค์ของระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน 
๑. เพื่อให้การดาเนินงานดูแลช่วยเหลือนักเรียนของโรงเรียน เป็นไปอย่าง 
ระบบและมีประสิทธิภาพ 
๒. เพื่อให้โรงเรียน ผู้ปกครอง หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง หรือชุมชน มีการ 
ทางานร่วมกันโดยผ่านกระบวนการทางานที่มีระบบ พร้อมด้วย เอกสาร หลักฐาน 
การปฏิบัติงาน สามารถตรวจสอบหรือรับการประเมินได้ 
ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 
๑. นักเรียนได้รับการดูแลช่วยเหลืออย่างทั่วถึงและตรงตามสภาพปัญหา 
๒. สัมพันธภาพระหว่างครูกับนักเรียนเป็นไปด้วยดี และอบอุ่น 
๓. นักเรียนรู้จักตนเองและควบคุมตนเองได้ 
๔. นักเรียนมีการพัฒนาความฉลาดทางอารมณ์ 
๕. นักเรียนเรียนรู้อย่างมีความสุข 
ปัจจยัสา คัญท่มีีผลต่อประสทิธิภาพของการดาเนินงานตามระบบการ 
ช่วยเหลือนักเรียน 
๑. ผู้บริหารโรงเรียน รวมทั้งผู้ช่วยบริหารโรงเรียนทุกฝ่าย ตระหนักถึง 
ความสาคัญของระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน และให้การสนับสนุนการดาเนินงาน 
หรือร่วมกิจกรรมตามความเหมาะสมอย่างสม่าเสมอ
กรอบแนวคิดระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน 
โดยครูแชมป์ ฟักอ่อน 
www.damsanid.blogger.com 
๒. ครูทุกคนและผู้เกี่ยวข้องจาเป็นต้องมีความตระหนัก ในความสาคัญ 
ของระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน มีทัศนคติที่ดีต่อนักเรียน และมีความสุขที่จะ 
พัฒนานักเรียนในทุกด้าน 
๓. คณะกรรมกาหรือคณะทางานทุกคณะ ต้องมีการประสานงานอย่าง 
ใกล้ชิดและมีการประชุมในแต่ละคณะ อย่างสม่าเสมอตามที่กาหนด 
๔. ครูที่ปรึกษาเป็นบุคลากรหลักสาคัญในการดาเนินงาน โดยได้รับความ 
ร่วมมือจากครูทุกคนในโรงเรียน รวมทั้งการสนับสนุนในเรื่องต่างๆ จากโรงเรียน 
๕. การอบรมให้ความรู้และทักษะ รวมทั้งการเผยแพร่ข้อมูล ความรู้แก่ครู 
ที่ปรึกษาหรือผู้เกี่ยวข้องในเรื่องที่เอื้อประโยชน์ต่อกรดูแลช่วยเหลือนักเรียนเป็น 
สิ่งจาเป็น โดยเฉพาะเรื่องทักษะการปรึกษาเบื้องต้นและแนวทางการแก้ไขปัญหาต่างๆ 
ของนักเรียน ซึ่งโรงเรียนควรดาเนินการอย่างต่อเนื่องและสม่าเสมอ 
ระบบการดูแลช่วยเหลือ 
ความหมายของระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน 
ระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน เป็นกระบวนการดาเนินงานดูแล 
ช่วยเหลือนักเรียนอย่างขั้นตอน พร้อมด้วยวิธีการและเครื่องมือการทางานที่ชัดเจน 
โดยมีครูที่ปรึกษาเป็นบุคลากรหลักในการดาเนินการดังกล่าว และมีการประสานความ 
ร่วมมืออย่างใกล้ชิดกับครูที่เกี่ยวข้องหรือบุคลากรภายนอก รวมทั้งการสนับสนุน 
ส่งเสริมจากโรงเรียน 
กระบวนการดาเนินงานตามระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน 
กระบวนการดาเนินงานตามระบบการดูแลช่วยเหลือนกัเรียน โดยครทูี่ 
ปรึกษาเป็นบุคลากรหลักในการปฏิบัติงานมีองค์ประกอบสาคัญ ๕ ประการ คือ 
๑. การรู้จักนักเรียนเป็นรายบุคคล 
๒. การคัดกรองนักเรียน 
๓. การส่งเสริมนักเรียน 
๔. การป้องกันและแก้ไขปัญหา 
๕. การส่งต่อ 
กระบวนการดาเนินงานทั้ง ๕ ประการดังกล่าว แสดงให้เห็นเป็นแผนภูมิในหน้าต่อไปนี้
กรอบแนวคิดระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน 
โดยครูแชมป์ ฟักอ่อน 
www.damsanid.blogger.com 
แผนภูมิแสดงกระบวนการดาเนินงานตามระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียนของครูที่ 
ปรึกษา 
ดีขึ้น 
รู้จักนักเป็นรายบุคคล 
คัดกรองนักเรียน 
กลุ่มปกติ กลุ่มเสี่ยง /มีปัญหา 
ส่งเสริมนักเรียน ป้องกันและแก้ไขปัญหา 
พฤติกรรมดี 
ขึ้นหรือไม่ 
ส่งต่อ 
(ภายในโรงเรียน) 
ไม่ดีขึ้น 
ยากต่อการช่วยเหลือดูแล
กรอบแนวคิดระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน 
โดยครูแชมป์ ฟักอ่อน 
www.damsanid.blogger.com 
กระบวนการดาเนินงานตามระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน ที่แสดงใน 
แผนภูมิเป็นความรับผิดชอบ ของครูที่ปรึกษาตลอดกระบวนการ โดยมีการ 
ประสานงานหรือรับการสนับสนุนจากผู้บริหาร ครูที่เกี่ยว ของรวมทั้งผู้ปกครอง 
ซึ่งมีวิธีการและเครื่องมือตัวอย่างสรุป ได้ดังนี้ 
กระบวนการดาเนินงาน วิธีการ เครื่องมือ 
๑.การรุ้จักนักเรียนเป็น 
รายบุคคล 
๑.๑ ด้าน 
ความสามารถ 
- การเรียน 
- ความสามารถ 
อื่น ๆ 
๑.๒ ด้านสุขภาพ 
- ร่างกาย 
- จิตใจ 
- พฤติกรรม 
๑.๓ ด้าน 
ครอบครัว 
- เศรษฐกิจ 
- การคุ้มครอง 
นักเรียน 
๑.๔ ด้านอื่นๆ 
ศึกษาข้อมูลจากการใช้ 
๑. ระเบียนสะสม 
๒. แบบประเมิน 
พฤติกรรมเด็ก 
(SDQ) 
๓. อื่นๆ เช่น 
- แบบประเมินความ 
ฉลาดทางอารมณ์(E.Q.) 
- แบบสัมภาษณ์ 
นักเรียน 
- แบบสังเกต 
พฤติกรรมนักเรียน 
- แบบสัมภารณ์ 
๑)ระเบียนสะสม 
๒) แบบประเมิน 
พฤติกรรมเด็กต(SDQ) 
๓)อื่นๆ เช่น 
- แบบประเมินความ 
ฉลาดทางอารมณ์(E.Q.) 
-แบบสัมภาษณ์ 
นักเรียนแบบ 
-แบบสังเกต 
พฤติกรรม นักเรียน 
-แบบสัมภาษณ์ 
ผู้ปกครองและเยี่ยมบ้าน 
นักเรียน ฯลฯ 
๒.การคัดกรองนักเรียน 
๒.๑กลุ่มปกติ 
๒.๒กลุ่มเสี่ยง/มี 
ปัญหา 
ดาเนินการต่อไป 
๑)วิเคราะห์ข้อมูลจาก 
๑.๑ระเบียนสะสม 
๑.๒แบบประเมิน 
พฤติกรรมเด็ก(SDQ) 
๑.๓แหล่งข้อมูลอื่นๆ 
๒)คัดกรองนักเรียนตาม 
เกณฑ์การคัดกรองของ 
โรงเรียน 
๑)เกณฑ์การคัดกรอง 
๒)แบบสรุ)ผลการคัด 
กรองและช่วยเหลือ 
นักเรียนเป็นรายบุคคล 
๓)แบบสรุปผลการคัด 
กรองนักเรียนเป็นห้อง
กรอบแนวคิดระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน 
โดยครูแชมป์ ฟักอ่อน 
www.damsanid.blogger.com 
กระบวนการดาเนินงาน วิธีการ เครื่อง 
๓.ส่งเสริมนักเรียน 
(สาหรับนักเรียนทุกกลุ่ม) 
ดาเนินการต่อไป 
๑)จัดกิจกรรมโฮมรูม 
(Homeroom) 
๒)จัดประชุมผู้ปกครอง 
ชั้นเรียน(Classroom 
meeting)หรือ 
๓)จัดกิจกรรมอื่นๆ 
ที่คูร 
พิจารณาว่าเหมาะสมใน 
การส่งเสริมนักเยนให้ 
มีคณุภาพมากขึ้น 
๑)แนวทางในการจัด 
กิจกรรมโฮมรูมของ 
โรงเรียน 
๒)แนวทางการจัดกิจกรรม 
ประชุมผู้ปกครองชั้นเรียน 
ของโรงเรียน 
๓)แบบบันทึก /สรุป 
ประเมินผลการดาเนิน 
กิจกรรม 
* โฮมรูม 
*ประชุมผู้ปกครองชั้น 
เรียน 
* อื่นๆ 
๔.การป้องกันการแก้ไขปัญหา 
(จาเป็นมากสาหรับนักเรียน 
กลุ่มเสี่ยง/มีปัญหา) 
ดาเนินการต่อไปนี้ 
๑)ให้การปรึกษาเบื้องต้น 
๒)ประสานงานกับครู 
และผู้เกี่ยวข้องอื่นๆ 
เพื่อการจัดกิจกรรม 
สาหรับการป้องและ 
ช่วยเหลือปัญหาของ 
นักเรียนคือ 
๒.๑กิจกรรมใน 
ห้องเรียน 
๒.๒กิจกรรมเสริม 
หลักสูตร 
๒.๓กิจกรรมเพื่อช่วย 
เพื่อน 
๒.๔กิจกรรมซ่อมเสริม 
๒.๕กิจสื่อสารกับ 
ผู้ปกครอง 
๑)แนวทางในการจัด 
กิจกรรมเพื่อป้องกันและ 
แก้ไขปัญหาของนักเรียน๕ 
กิจกรรม 
๒)แบบบันทึกสรุปการคัด 
กรองและช่วยเหลือ 
นักเรียนเป็นรายบุคคล 
๓)แบบบันทึกรายงานผล 
การดูแลช่วยเหลือ 
นักเรียน
กรอบแนวคิดระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน 
โดยครูแชมป์ ฟักอ่อน 
www.damsanid.blogger.com 
กระบวนการดาเนินงาน วิธีการ เครื่องมือ 
๕.การส่งต่อ 
๕.๑ส่งต่อภายใน 
๕.๒ส่งต่อภายนอก 
ดาเนินการต่อไปนี้ 
๑)บันทึกการส่งนักเรียนไป 
ยังครูที่เกี่ยวข้องในการ 
ช่วยเหลือนักเรียนต่อไป 
เช่น ครูแนะแนว ครู 
ปกครองครูประจาวิชา ครู 
พยาบาล เป็นต้น ซึ่งเป็น 
การส่งต่อภายใน 
๒)บันทึกการส่งนักเรียนไป 
ยังผู้เชียวชาญภายนอก 
โดยครูแนะแนวหรือฝ่าย 
ปกครองเป็นผู้ดาเนินการ 
ซึ่งเป็นการส่งต่อภายนอก 
๑)แบบบันทึกการส่งต่อของ 
โรงเรียน 
๒)แบบรายงานแจ้งผลการ 
ช่วยเหลือนักเรียน 
หมายเหตุ โรงเรียนสามารถพิจราณาเลือกใช้วิธีการ และเครื่องมืออื่นๆ เพิ่มเติม 
นอกเหนือจากที่ระบุเพื่อการดาเนินงาน อย่างมีประสิทธ์มากยิ่งขึ้น ตามความเหมาะ 
ของสภาพโรงเรียน 
รายระเอียดของแต่ละองค์ประกอบในระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน 
ระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน เป็นกระบวนการดาเนินงานที่มี 
องค์ประกอบสาคัญ ๕ ประการ ดังที่กล่าวมาคือ 
๑. การรู้จักนักเรียนเป็นรายบุคคล 
๒. การคัดกรองนักเรียน 
๓. การส่งเสริมนักเรียน 
๔. การป้องกันและแก้ไขปัญหา 
๕. การส่งต่อ 
แต่ละองค์ประกอบของระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียนดังกล่าว มี 
ความสาคัญมีวิธีการและเครื่องมือที่แตกต่างกันไป แต่มีความสัมพันธ์เกี่ยวเนื่องกัน 
ซึ่งเพื่อให้การดูแลช่วยเหลือนักเรียนของโรงเรียนที่เป็นระบบที่มีประสิทธิภาพ ดังมี 
รายระเอียดดังต่อไปนี้
กรอบแนวคิดระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน 
โดยครูแชมป์ ฟักอ่อน 
www.damsanid.blogger.com 
ข้อที่พึงตระหนักในการป้องกันและแก้ไขปัญหาของนักเรียน 
๑) การรักษาความลับ 
๑.๑)เรื่องราวข้อมูลของนักเรียนที่ให้การช่ว ยเหลือและแก้ไข ต้องไม่ 
นาไปเปิดเผย ยกเว้นเพื่อขอความช่วยเหลือนักเรียนกับบุคคลที่เกี่ยวข้อง โดยไม่ระบุ 
ชื่อ-สกุลจริงของนักเรียนและการเปิดเผยควรเป็นไปในลักษณะที่ให้เกียรตินักเรียน 
๑.๒)บันทึกข้อมูลการช่วยเหลือนักเรียน ควรเก็บไว้ในที่เหมาะสมและ 
สะดวกการเรียกใช้ 
๑.๓)การรายงานช่วยเหลือนักเรียน ควรรายงานในส่วนที่เปิดได้ โดยให้ 
เกียรติและคานึงถึงประโยชน์ของนักเรียนเป็นสาคัญ 
๒) การแก้ไขปัญหา 
๒.๑) การช่วยเหลือแก้ไขปัญหาของนักเรียน ต้องพิจารณาสาเหตุของ 
ปัญหาให้ครบถ้วนและหาวิธีการช่วยเหลือให้เหมาะสมกับเหมาะสมกับสาเหตุนั้น ๆ 
เพราะปัญหามิได้เกิดจากสสาเหตุเพียงสาเหตุเดียวแต่อาจจะเกิดจากหลายสาเหตุที่ 
เกี่ยวเนื่องสัมพันธ์กัน 
๒.๒) ปัญหาที่เหมือนกันของนักเรียนแต่ละคน ไม่จาเป็นต้องเกิดจาก 
สาเหตุที่เหมือนกันและวิธีการช่วยเหลือที่ประสบความสาเร็จกับนักเรียนคนหนึ่ง ก็ไม่ 
เหมาะกับนักเรียนอีกคนหนึ่งเนื่องจากความแตกต่างของบุคคล ดังนั้นการช่วยเหลือ 
โดยเฉพาะการให้การปรึกษาจึงไม่มีสูตรการช่วยเหลือสาเร็จตายตัว เพียงแต่มี 
แนวทาง กระบวนการหรือทักษะการช่วยเหลือที่ครูแต่ละคนสามารถเรียนรู้ ฝึกฝน เพื่อ 
การนาไปใช้ให้เหมาะสมกับแต่ละปัญหาในนักเรียนแต่ละคน
กรอบแนวคิดระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน 
โดยครูแชมป์ ฟักอ่อน 
www.damsanid.blogger.com 
การจัดกิจกรรมเพื่อป้องกันและแก้ไขปัญหาของนักเรียน 
สาระสาคัญ แนวดาเนินการ 
ในการป้องกันและแก้ไข 
ปัญหาของนักเรียน นอกจากจะให้การ 
ปรึกษาเบื้องต้นแล้วการจัดกิจกรรม 
ต่างๆ เพื่องการเหลือนักเรียนก็เป็นสิ่ง 
สาคัญเพราะจะทาให้การช่วยเหลือมี 
ประสิทธิภาพ ก่อให้เกิดความร่วมมือ 
ร่วมใจของครูทุกคนรวมทั้งผู้ปกครอง 
ด้วย 
ครูที่ปรึกษาสามารถคิดพิจารณากิจกรรม 
เพื่อแก้ไขปัญหาของนักเรียนได้หลายแนวทาง 
ซึ่งในที่นี้สรุปไว้ ๕ แนวทางที่จาเป็น คือ 
๑) การใช้กิจกรรมเสริมหลักสูตร 
๒)การใช้กิจกรรมในห้องเรียน 
๓)การใช้กิจกรรมเพื่อนช่วยเพื่อน 
๔)การใช้กิจกรรมซ่อมเสริม 
๕)การใช้กิจกรรมการสื่อสารกับ 
ผู้ปกครอง 
สาหรับข้อ ๒) ๓) และ ๕) ครูที่ 
ปรึกษาสามารถดาเนินการด้วยตนเอง ส่วน 
ข้อ ๑) และ ๔) จาเป็นต้องมีการ 
ประสานงานเพื่อขอความร่วมมือจากครู 
อื่นๆ ที่เกี่ยวข้องรวมทั้งการสนับสนุนของ 
ผู้บริหารโรงเรียนด้วยแต่อย่างไรก็ตามการ 
ช่วยเหลือทั้ง ๕ กิจกรรมดังกล่าว ครูที่ 
ปรึกษาสามารถขอคาแนะนาความคิดเห็นจาก 
ครูอื่น ๆ ในการจัดกิจกรรมเพื่อให้ได้ผลดี 
ยิ่งขึ้น 
การพิจารณาเลือกใช้กิจกรรม ครูที่ 
ปรึกษาควรคานึงถึง 
๑. ความเหมาะสม สอดคล้องกับ 
ลักษณะปัญหา 
๒. บุคลิกลักษณะของนักเรียนแต่ละคน 
๓. สภาพของชั้นเรียน / โรงเรียน / 
ชุมชน
กรอบแนวคิดระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน 
โดยครูแชมป์ ฟักอ่อน 
www.damsanid.blogger.com 
กิจกรรมเพื่อการแก้ไขปัญหาทั้ง ๕ ดังกล่าว มีรายละเอียด แสดงใน 
ผนวก เรื่องตัวอย่างการจัดกิจกรรมการป้องกันและแก้ไขปัญหาของนักเรียน หน้า 
๑๐๙-๑๑๒ 
การจัดกิจกรรมประชุมผู้ปกครองชั้นเรียน( classroom meeting ) 
สาระความรู้ แนวดาเนินการ 
การประชุมผู้ปกครองชั้น 
เรียนเป็นการพบปะกันระหว่างครูที่ 
ปรึกษากับผู้ปกครองนักเรียน 
เพื่อสร้างความสัมพันธ์อันดีต่อ 
กันและร่วมมือกันดูแลช่วยเหลือ 
นักเรียนระหว่างบ้านโรงเรียน และ 
ผู้ปกครอง 
การประชุมผู้ปกครอง 
ดังกล่าวจะทาให้นักเรียนได้รับ 
ความเอาใจใส่ดูแลจากผู้ปกครอง 
มากขึ้นทั้งการส่งเสริมให้นักเรียนมี 
คุณภาพมีความสามารถมากยิ่งขึ้น 
หรือร่วมมือกับทางโรงเรียนในการ 
ป้องกันหรือแก้ไขปัญหาของ 
นักเรียน 
ครูที่ปรึกษาควรจัดประชุมอย่างน้อยภาค 
เรียน ละ ๑ ครั้ง ซึ่งการประชุมนี้มิใช่การ 
รายงานสิ่งตางๆ ที่เกี่ยวข้องกับตัวนักเรียนให้ 
ผู้ปกครองทราบเพียงอย่างเดียวแต่เป็นการจัด 
กิจกรรมต่างๆ ที่จะทาให้ผู้ปกครองมีส่วนร่วม 
ในการช่วยเหลือนักเรียนให้มากขึ้น ดังนั้นสิ่ง 
สาคัญที่ควรตระหนัก ในการจัดกิจกรรมประชุมก็ 
คือ 
๑. การเตรียมการ 
ครูที่ปรึกษาควรเตรียมความพร้อมก่อนการ 
ประชุมในด้านต่างๆ โดยเฉพาะข้อมูลของ 
นักเรียนแต่ละคนและ กิจกรรมที่จะดาเนินการ 
โดยกาหนดวัตถุประสงค์ในการจัดกิจกรรมที่ 
ชัดเจน 
๒. การสื่อสาร 
ครูที่ปรึกษาควรระมัดระวังคาพูดที่ก่อให้เกิด 
ความรู้สึกทางลบหรือต่อต้านจากผู้ปกครอง 
เช่น การตาหนิหรือผู้ปกครอง การแจ้ง 
ข้อบกพร่องของนักเรียนในที่ประชุมหรือจะเป็น 
การส่วนตัวก็ตาม แต่ควรเป็นการพูดแสดงถึง 
ความเข้าใจในตัวนักเรียน แสดงถึงความ 
ห่วงใยใส่ใจของครูที่มีต่อนักเรียนทุกคน และ 
อาศัยกิจกรรมที่ทาให้ผู้ปกครองตระหนักในความ 
รับผิดชอบ และต้องการปรับปรุงหรือแก้ไขใน 
ส่วนที่บกพร่องของนักเรียน 
๓. การจัดกิจกรรมในการประชุม 
การที่จะให้ผู้ปกครองมีส่วนร่วมในการประชุม 
นั้นจาเป็นต้องใช้กิจกรรมต่างๆ โดยเริ่มด้วย
กรอบแนวคิดระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน 
โดยครูแชมป์ ฟักอ่อน 
www.damsanid.blogger.com 
สาระความรู้ แนวดาเนินการ 
การสร้างความคุ้นเคยระหว่างผู้ปกครองด้วยกัน 
ก่อน จึงจะมีกิจกรรมอื่นๆ ให้ผู้ปกครองได้ 
แสดงความคิดเห็น ซึ่งเป็นสาระที่เป็นประโยชน์ 
ต่อการดูแลช่วยเหลือนักเรียน 
๔. การสรุปผลและบันทึกหลักฐานการประชุม 
ผู้ปกครอง 
ในการประชุมแต่ละครั้ง ครูที่ปรึกษาควรมี 
การสรุปผลและจัดทาเอกสารเป็นหลักฐาน เพื่อ 
ประโยชน์ดังนี้ 
๔.๑)เป็นหลักฐานในการจัดประชุมแต่ละครั้ง 
๔.๒)เป็นข้อมูลสาหรับการดูแลช่วยเหลือ 
ต่อไป 
๔.๓)เป็นข้อมูลสาหรับการประชุมให้ 
สอดคล้องกับความต้องการของผู้ปกครองใน 
ครั้งต่อไป
กรอบแนวคิดระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน 
โดยครูแชมป์ ฟักอ่อน 
www.damsanid.blogger.com 
การรู้จักนักเรียนเป็นรายบุคคล 
๑. ความสาคัญ 
ด้วยความแตกตา่งของนักเรียนแต่ละคนที่มีพ้นืฐานความเป็นมาของชีวติ 
ที่ไม่เหมือนกันหล่อหลอมให้เกิดพฤติกรรมหลากหลายรูปแบบ ทั้งด้านบวกและ 
ลบ ดังนั้นการรู้ข้อมูลที่จาเป็นเกี่ยวกับตัวนักเรียนจึงเป็นสิ่งสาคัญ ที่จะช่วยให้ 
ครูที่ปรึกษามีความเข้าใจนักเรียนมากขึ้น สามารถนาข้อมูลมาวิเคราะห์เพื่อการคัด 
กรองนักเรียน เป็นประโยชน์ในการส่งเสริมการป้องกันและแก้ไขปัญหาของนัก เรียน 
ได้อย่างถูกทาง ซึ่งเป็นข้อมูลเชิงประจักษ์มิใช่การใช้ความรู้สึกหรือการคาดเดา 
โดยเฉพาะในการแก้ไขปัญหานักเรียน ซึ่งจะทา ให้ไม่เกิด ข้อผิดพลาดต่อการ 
ช่วยเหลือนักเรียนหรือการเกิดใดน้อยที่สุด 
๒. ข้อมูลพื้นฐานของนักเรียน 
ครูที่ปรึกษามีข้อมูลเก่ยีวกับนกัเรียนอย่างนอ้ย ๓ ด้านใหญ่ ๆคือ 
๑. ด้านความสามารถแยกเป็น 
๑.๑ ด้านการเรียน 
๑.๒ ด้านความสามารถอื่น ๆ 
๒. ด้านสุขภาพแยกเป็น 
๒.๑ ด้านร่างกาย 
๒.๒ ด้านจิตใจ-พฤติกรรม 
๓. ด้านครอบครัวแยกเป็น 
๓.๑ ด้านเศรฐกิจ 
๓.๒ ด้านการคุมครองนักเรียน 
๔. ด้านอื่น ๆที่ครูพบเพิ่มเติมซึ่งมีความสาคัญหรือเกี่ยวข้องกับการ 
ดูแลช่วยเหลือนักเรียน
กรอบแนวคิดระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน 
โดยครูแชมป์ ฟักอ่อน 
www.damsanid.blogger.com 
ข้อมูลพื้นฐานของนักเรียนที่ควรทราบ 
ข้อมูลนักเรียน รายระเอียดข้อมูลพื้นฐานที่ควรทราบ 
๑.ด้านความสามารถ 
๑.๒ ด้านการเรียน 
๑.๒ ด้านความสามารถอื่นๆ 
-ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในแต่ละวิชา 
-ผลการเรียนเฉลี่ยในแต่ละภาคเรียน 
-พฤติกรรมการเรียนในห้องเรียนที่มีผลต่อ 
การเรียนรู้ของนักเรียน เช่น การไม่ตั้งใจ 
เรียน ขาดเรียน เป็นต้น 
-บทบาทหน้าที่พิเศษในโรงเรีย 
-ความสามารถพิเศษ 
-การเข้าร่วมกิจกรรมต่างๆ ทั้งในโรงเรียน 
และนอกโรงเรียน 
๒.ด้านสุขภาพ 
๒.๑ ด้านร่างกาย 
๒.๒ ด้านจิตใจ 
-ส่วนสูง น้าหนัก 
-โรคประจาตัว ความบกพร่องทางร่างกาย 
เช่น การได้ยิน การมองเห็น 
-อารมณ์ซึมเศร้า/วิตกกังวล 
-ความประพฤติ 
-พฤติกรรมอยู่ไม่นิ่ง /สมาธิสั้น 
-บุคลิกภาพเก็บตัว/ขี้อาย 
๓.ด้านครอบครัว 
๓.๑ด้านเศรษฐกิจ 
๓.๒ ด้านการคุ้มนักเรียน 
-รายได้ของบิดา มารดา/ผู้ปกครอง 
-อาชีพของผู้ปกครอง 
-ค่าใช้จ่ายที่นักเรียนได้รับในการมาโรงเรียน 
-จานวนพี่น้อง/บุคคลในครัวครอบ 
-สถานภาพของบิดา มารดา 
-บุคคลที่ดูแลรับผิดชอบนักเรียน 
-ความสาคัญของบุคคลในครอบครัว 
-ลักษณะที่อยู่อาศัยและสิ่งแวดล้อม 
-ความเจ็บป่วยของบุคคลในครอบครัวใช้
กรอบแนวคิดระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน 
โดยครูแชมป์ ฟักอ่อน 
www.damsanid.blogger.com 
๓, วิธีการและเครื่องมือในการรู้จักนักเรียนเป็นรายบุคคล 
ครูที่ปรึกษาควรใช้วิธีการและเครื่องมือที่หลากหลาย เพื่อให้ได้ข้อมูล 
นักเรียนที่ครอบครุมทางด้านความสามารถ ด้านสุขภาพและด้านครอบครัว ที่สาคัญ 
คือ 
๑.ระเบียบสะสม 
๒.แบบประเมินพฤติกรรมเด็ก (SDQ) 
๓.วิธีการและเครื่องมือต่างๆ เช่น การสัมภารณ์นักเรียน การศึกษาจาก 
แฟ้มสะสมผลงาน การเยี่ยมบ้าน การศึกษาข้อมูลจากแบบบันทึกการตรวจสุขภาพ 
ด้วยตัวเองซึ่งจัดทาโดยกรมอนามัย เป็นต้น 
๑) ระเบียนสะสม 
สะสมเป็นเครื่องมือในรู้แบบของเอกสาร เพื่อเก็บรวบรวมข้อมูลที่เกี่ยวกับตัวนักเรียน 
โดยนักเรียนเป็นผู้กรอกข้อมูล และครูที่ปรึกษานาข้อมูลเหล่านั้นมาศึกษา พิจารณาทา 
ความรู้จักนักเรียนเบื้ องงต้น หากข้อมูลไม่พอเพียง หรือมีข้อสังเกตบ้างประการ ก็ 
ควรหาข้อมูลเพิ่มเติมด้วยวิธีการต่าง เช่นการสอบถามจากนักเรียนโดยตรง การ 
สอบถามจากครูอื่นๆ หรือเพื่อนๆข้อนักเรียน รวมทั้งการใช้เครื่องมือทดสอบ 
ต่างๆหากครูที่ปรึกษาดาเนินการได้ 
รูปแบบและรายละเอยีดในระเบียนข้อแต่และโรงเรียน มีความแตกแต่กันข้นึ 
ได้อยู่กับความแตกต่างของแต่ละโรงเรียน แต่อย่างน้อยควรครอบคลุมข้อมูล 
ทางด้านการเรียนด้านสุขภาพและด้านครอบครัว 
ระเบียนสะสม เป็นข้อมูลส่วนตัวของนักเรียน จึงต้องมีความลับ 
และเก็บไว้อย่างดีมิให้ผู้ที่ไม่เกี่ยวข้องหรือเด็กอื่นๆมารื้อค้นได้ หากเป็นไปได้ควรเก็บ 
ไว้กับครูที่ปรึกษาและมีตู้เก็บระเบียนสะสมให้เรียบร้อย 
ระเบียนสะสม ควรเก็บรวบรวมข้อมูลอย่างต่อเนื่อง อย่างน้อย ๓ ปี 
การศึกษา หรือ ๖ ปีการศึกษา และส่งต่อระเบียบไปยังครูที่ปรึกษาคนใหม่ในปีการศึกษา 
ต่อไป หรืออาจจัดครูที่ปรึกษาตามดูแลนักเรียนอย่างต่อเนื่อง จนจบมัธยมศึกษาใน 
แต่ละตอน หรือจนจบ ๖ ปีการศึกษา 
๒) แบบประเมินพฤติกรรมเด็ก (SDQ) (โรงเรียนอาจนาเครื่องมืออื่นมาใช้แทนก็ได้) 
แบบประเมินพฤติกรรมเด็ก ไม่ได้เป็นแบบวัดหรือแบบทดสอบ แต่ 
เป็นเครื่องสาหรับการคัดกรองนักเรียนด้านพฤ ติกรรม การปรับตัว ที่มีผลเกี่ยวเนื่อง 
กับสภาพจิตใจซึ่งจะช่วยให้ครูที่ปรึกษามีแนวการพิจารณานักเรียนด้านสุขภาพจิตมาก 
ขึ้น
กรอบแนวคิดระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน 
โดยครูแชมป์ ฟักอ่อน 
www.damsanid.blogger.com 
แบบประเมินพฤติกรรมเด็ก เป็นเคร่อืงมือท่กีรมสขุภาพจิตเป็นผู้จัดทา ขึ้นโดย 
พัฒนาจากThe Strengths and Difficulties Questionnaire (SDQ) ประเทศเยอรมนี 
ซึ่งใช้กันแพร่หลายในประเทศแถบยุโรป เพราะมีความเที่ยงและความตรง จานวน 
ข้อไม่มากนัก คณะผู้จัดทาของกรมสุขภาพจิต โดย แพทย์หญิง พรรณพิมล หล่อ 
ตระกูล เป็นหัวหน้าคณะและทาการวิจัยเพื่อวิเคราะห์ค่าความเที่ยง ความตรงของแบบ 
ประเมิน และหารเกณฑ์มาตรฐาน (NORM) ของเด็กไทย 
แบบประเมินพฤติกรรมเด็ก มี๓ชุดคือ 
-ชุดที่ครูเป็นผู้ประเด็ก 
-ชุดที่พ่อแม่ ผู้ปกครอง เป็นผู้ประเมินเด็ก 
-ชุดที่เด็กประเมินตัวเอง 
ทั้ง ๓ ชุดมีเนื้อหาและจานวนข้อ ๒๕ ข้อท่ากัน ทางทางโรงเรียนอาจ 
เลือกใช้ชุดนักเรียนประเมินตนเองชุดเดียว หรือใช้ควบครูกับชุดที่ครูเป็นผู้ประเมิน 
เพื่อความแม่นตรงยิ่งขึ้นโดยระยะเวลาที่ประเมินม่ควรหากจากนักเรียนที่ประเมิน 
ตนเองเกิน ๑ เดือน ซึ่งหากเป็นไปด้ควรใช้แบบประเมินทั้ง ๓ ชุด พร้อมกัน 
เพื่อตรวจสอบความถูกต้องของผลที่ออกมา (แบบประเมินพฤติกรรมเด็ก และการให้ 
คะแนนการแปรผล ดูในภาคผนวกเรื่องครู่มือแนะนาการใช้แบบประเมินพฤติกรรมเด็ก 
(SDQ) สาหรับครู 
๔.วิธีการและเครื่องมืออื่น ๆ 
ในกรณีที่ข้อมูลของนักเรียนจากระเบียนสะสมและแบบประเมินพฤติกรรมเด็ก 
ไม่พอเพียงหรือกรณีที่จาเป็นต้สองมีข้อมูลเพิ่มเติมอีก ครูที่ปรึกษาอาจใช้วิธีการและ 
เครื่องมืออื่นๆเพิ่มเติม เช่นการสังเกตพฤติกรรมอื่นๆในห้องเรียนการสัมภาษณ์และ 
การเยี่ยมบ้านนักเรียนเป็นต้น 
การส่งเสริมนักเรียน 
๑.ความสาคัญ 
การส่งเสริมนักเรียนเป็นการสนับสนุนให้นักเรียนทุกคนที่อยู่ในความดูแลของ 
ครูที่ปรึกษาไม่ว่าจะเป็นนักเรียนปกติหรือกลุ่มเสี่ยง/มีปัญหาให้มีคุณภาพมากขึ้นมีความ 
ภาคภูมิใจในตัวเองในด้านต่างๆชึ่งจะช่วยให้นักเรียนที่อยู่ในกลุ่มปกติกลายเป็น 
นักเรียนในกลุ่มเสียง/มีปัญหาและเป็นการช่วยเหลือให้นักเรียนกลุ่มเสี่ยง/มีปัญหา 
กลับมาเป็นนักเรียนกลุ่มปกติและมีคุณภาพตามที่โรงเรียนหรือชุมชนคาดหวังต่อไป 
๒.วิธีการและเครื่องมือเพื่อการส่งเสริมนักเรียน
กรอบแนวคิดระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน 
โดยครูแชมป์ ฟักอ่อน 
www.damsanid.blogger.com 
การส่งเสริมนักเรียนมีหลายวิธีที่โรงเรียนสามารถพิจารนาดาเนินการได้แต่มี 
กิจกรรมหลักสาคัญที่โรงเรียนต้องดาเนินการ คือ 
๑)การจัดกิจกรรมโฮมรูม (Homeroom) 
๒)การจัดประชุมผู้ปกครองชั้นเรียน(Classroom meeting) 
๑) การจัดกิจกรรมโฮมรูม 
สาระความรู้ แนวดาเนินการ 
กิจกรรมโฮมรูมเป็นกิจกรรมที่ 
ดาเนินการเพื่อส่งเสริมนักเรียนเป็น 
รายบุคคลหรือเป็นกลุ่มก็ได้ชึ่งเป็น 
สถานที่ที่ใช่จัดกิจกรรมโฮมรูมอาจ 
เป็นที่ห้องเรียนหรือในห้องเรียนที่มี 
บรรยากาศเสมือนบ้านที่มีครูที่ 
ปรึกษาและมีนักเรียนเป็นดั่งสมาชิก 
ในครอบครัวเดียวกัน และมีการทา 
กิจกรรมที่เป็นประโยชน์ต่อนักเรียน 
ในด้านต่างๆ เช่นการรู้จักตนเอง 
ของนักเรียนการรู้จักผู้อื่นและ 
สิ่งแวดล้อมมีทักษะการตัดสินใจ 
ทักษะการปรับตัวและว่างแผนชีวิต 
เป็นต้น กิจกรรมเหล่านี้ครูและ 
นักเรียนค วรมีส่วนร่วมจัดกิจกรรม 
ด้วยกัน 
ประโยชน์ของการจัดกิจกรรมโฮม 
รูมจะช่วยให้ครูที่ปรึกษารู้จักนักเรียน 
มากขึ้นสามารถส่งเสริม 
ความสามารถและป้องกันปัญหาของ 
นักเรียนได้อีกด้วย 
แนวดาเนินการจัดกิจกรรมโฮมรูม มีดังนี้ 
๑ . กาเนิดกิจกรรมโฮมรูมโดยยึดความ 
ต้องการของนักเรียนให้นักเรียนมีส่วนร่วมใน 
การจัดกิจกรรมดังนี้ 
(๑.๑)สารวจความต้องการของนักเรียนใน 
การจัดกิจกรรมโฮมรูม 
(๑.๒)พิจารนาเลือกหัวข้อและวิธีการจัด 
กิจกรรมให้สอดคล้องกับความต้องการของ 
นักเรียนหรือให้เหมาะสมกับสถานการณ์ใน 
ขณะนั้นๆเป็นเรื่องที่ทันสมัย 
(๑.๓)การจัดกิจกรรมโฮมรูมในแต่ละครั้ง 
ค วร มีการดาเนินการเป็นหลักฐานทั้งก่อน 
ดาเนินการและหลังดาเนินการชึ่งอาจเขียนใน 
รูปแบบของการบันทึกการจัดกิจกรรมหรืออื่นๆใน 
ทั้งที่มีการบันทึกสรุปผลที่เกิดขึ้นกับนักเรียนหลัง 
การจัดกิจกรรมโฮมรูมทุกครั้ง ซึ่งการบันทึกอาจ 
เป็นบันทึกในแผนการจัดกิจกรรมหรือแบบฟอร์ม 
บันทึกที่แยกออกมาต่างหากก็ได้ 
(๑.๔)ประเมนผลทากิจกรรมและจัดทารายงาน 
๒. โรงเรียนกาเนิดแนวทางการจัดกิจกรรมโฮม 
รูมหรือมีคู่มือในการจัด
กรอบแนวคิดระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน 
โดยครูแชมป์ ฟักอ่อน 
www.damsanid.blogger.com 
สาระความรู้ แนวดาเนินการ 
กิจกรรมแต่ละครั้งโดยมีจุดหมายเนื้อหาสาระที่ 
สอดคล้องกับนโยบายของนักเรียนครูที่ปรึกษาที่ 
ดาเนินการตามนั้นแต่ให้มีความยึดหยุ่นในการ 
กาเนิดหัวข้อและวิธีการดาเนินกิจกรรมให้เหมาะ 
และทันสมัย 
๓. วิธีการผสมผสานโดยยึดความต้องการ 
ของนักเรียนและนโยบายของโรงเรียนในการ 
พัฒนานักเรียนในการจัดกิจกรรมโฮมรูม 
๔. วิธีการอื่นๆตามความเหมาะสม 
การคัดกรองนักเรียน 
๑.ความสาคัญ 
การคัดกรองนักเรียน เป็นการพิจารณาข้อมูลที่เกี่ยวกับตัวนักเรียน 
เพื่อการจัดกลุ่มนักเรียนเป็น ๒ กลุ่มคือ 
๑. กลุ่มปกติ คือ นักเรียนที่ได้รับการวิเคราะห์ข้อมูลต่างๆ ตาม 
เกณฑ์การคัดกรองของโรงเรียนแล้ว อยู่ในเกณฑ์ของกลุ่มปกติ 
๒. กลุ่มเสี่ยง/มีปัญหา คือ นักเรียนที่จัดอยู่ในเกณฑ์ของกลุ่ม 
เสี่ยง/มีปัญหาตามเกณฑ์การคัดกรองของโรงเรียน ซึ่งโรงเรียนต้องให้ความ 
ช่วยเหลือ ป้องกันหรือแก้ไขปัญหาตามแต่กรณี 
การจัดกลุ่มนักเรียนนี้ มีประโยชน์ต่อครูที่ปรึกษาในการหาวิธีการเพื่อ 
ดูแลช่วยเหลือนักเรียนได้อย่างถูกต้อง โดยเฉพาะการแก้ไขปัญหาของนักเรียนยิ่งขึ้น 
และมีความรวดเร็วในการแก้ไขปัญหา เพราะมีข้อมูลของนักเรียนในด้านต่างๆ ซึ่ง 
หากครูที่ปรึกษาไม่ได้คัดกรองนักเรียนเพื่อการจัดกลุ่มแล้ว ความชัดเจนในเป้าหมาย 
เพื่อการแก้ไขปัญหาของนักเรียนจะมีน้อยลง มีผลต่อความรวดเร็วในการช่วยเหลือ 
ซึ่งบางกรณีจาเป็นต้องแก้ไขโดยเร่งด่วน 
ผลการคัดกรองนักเรียน ครูที่ปรึกษาจาเป็นต้องระมัดระวังอย่างยิ่งที่ 
จะไม่ทาให้นักเรียนรับรู้ได้ว่าตนถูกจัดกลุ่มอยู่ในกลุ่มเสี่ยง/มีปัญหา ซึ่งมีความ 
แตกต่างจากกลุ่มปกติโดยเฉพาะนักเรียนวัยรุ่นที่มีความไวต่อการรับรู้ (sensitive) 
แม้ว่านักเรียนจะรู้ตัวดีว่า ขณะนี้ตนมีพฤติกรรมอย่างไรหรือประสบกับปัญหาใดก็ตาม 
และเพื่อเป็นการป้องกันการล้อเลียนในหมู่เพื่อนอีกด้วยดังนั้น ครูที่ปรึกษาต้องเก็บ 
ผลการคัดกรองนักเรียนเป็นความลับ นอกจากนี้หากครูที่ปรึกษามีการประสานงานกับ
กรอบแนวคิดระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน 
โดยครูแชมป์ ฟักอ่อน 
www.damsanid.blogger.com 
ผู้ปกครองเพื่อการช่วยเหลือนักเรียน ก็ควรระมัดระวังการสื่อสารที่ทาให้ผู้ปกครอง 
เกิดความรู้สึกว่า บุตรหลานของตนถูกกลุ่มที่ผิดปกติแตกต่างจากเพื่อนนักเรียน 
อื่น ๆ ซึ่งอาจมีผลเสียต่อนักเรียนในภายในภายหลังได้ 
๒.แนวทางการวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อการคัดกรองนักเรียน 
การวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อการคัดกรองนักเรียนนั้น ให้อยู่ในดุลยพินิจของ 
ครูที่ปรึกษาและยึดถือเกณฑ์การคัดกรองนักเรียนของโรงเรียนเป็นหลักด้วย ดังนั้น 
โรงเรียนจึงควรมีการประชุมครูเพื่อการพิจารณาเกณฑ์การจักกลุ่มนักเรียนร่วมกัน 
เพื่อให้มีความมาตรฐานหรือแนวทางการคัดกรองนักเรียนที่เหมือนกัน เป็นที่ยอมรับ 
ของครูในโรงเรียน รวมทั้งให้มีการกาหนดเกณฑ์ว่าความรุนแรงหรือความถี่ของ 
พฤติกรรมเท่าใดจึงจัดอยู่ในกลุ่มเสี่ยง/มีปัญหา 
สาหรับประเด็นการพิจารณาเพื่อจัดทาเกณฑ์การคัดกรองและแหล่งข้อมูลเพื่อคัด 
กรองนักเรียนแต่ละด้าน มีตัวอย่างตามตารางต่อไปนี้ 
ข้อมูลนักเรียน ตัวอย่างประเด็นการพิจารณา แหล่งข้อมูล 
๑. ด้านความสามารถ 
๑.๑ ด้านการเรียน 
๑.๒ ด้านความสามารถ 
อื่น ๆ 
๑) ผลการเรียนที่ได้ และ 
ความเปลี่ยนแปลงของผลการ 
เรียน 
๒) ความเอาใจใส่ ความ 
พร้อมในการเรียน 
๓) ความสามารถในการเรียน 
๔) ความสม่าเสมอในการมา 
โรงเรียนเวลาที่มาโรงเรียน 
การเข้าชั้นเรียน 
๑) การแสดงออกถึง 
ความสามารถพิเศษที่มี 
๒) ความถนัด ความสนใจ 
และผลงานในอดีตที่ผ่านมา 
๓) บทบาทหน้าที่พิเศษใน 
โรงเรียน 
๔) การเข้าร่วมกิจกรรมต่าง ๆ 
ของนักเรียน 
- ระเบียบสะสม 
- วิธีการอื่น ๆ เช่น การสังเกต 
พฤติกรรมนักเรียน การได้ข้อมูล 
จากครูที่เกี่ยวข้องกับนักเรียนเป็น 
ต้น 
- ระเบียบสะสม 
- แบบประเมินพฤติกรรมเด็ก 
(SDQ) 
- วิธีการอื่น ๆ เช่น 
การสังเกตพฤติกรรมการได้ 
ข้อมูลจากเพื่อนนักเรียนจาก 
แบบสอบถาม เป็นต้น
กรอบแนวคิดระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน 
โดยครูแชมป์ ฟักอ่อน 
www.damsanid.blogger.com 
ข้อมูลนักเรียน ตัวอย่างประเด็นการพิจารณา แหล่งข้อมูล 
๒. ด้านสุขภาพ 
๒.๑ ด้านร่างกาย 
๒.๒ ด้านจิตใจ 
พฤติกรรม 
๑) ความผิดปรกติ ความพิการ 
หรือความบกพร่องทางร่างกาย 
เช่น การได้ยิน เป็นต้น 
๒) โรคประจาตัว 
๓) ความสัมพันธ์ระหว่าง 
น้าหนักกับส่วนสูง 
๔) ความสะอาดของร่างกาย 
๑) สภาพอารมณ์ ที่มีผลต่อการ 
ดารงชีวิตประจาวัน เช่น 
ความวิตกกังวลหรือซึมเศร้า 
๒) ความประพฤติ 
๓) พฤติกรรมต่างๆ ที่มี 
ผลกระทบต่อการเรียน 
ความสามารถพิเศษและการ 
ปรับตัวของนักเรียน เช่น 
พฤติกรรมที่อยู่ไม่นิ่ง สมาธิสั้น 
๔) ความสัมพันธ์กับเพื่อน/ ครู/ 
ผู้ปกครอง การใช้สารเสพติด 
การลักขโมย การทาร้ายตัวเอง 
พฤติกรรมทางเพศที่ไม่เหมาะสม 
เป็นต้น 
- ระเบียนสะสม 
- วิธีการอื่น ๆ เช่น การสังเกต 
การสอบถามจากครูพยาบาล จาก 
แบบบันทึกการตรวจสุขภาพด้วย 
ตนเองสาหรับนักเรียน ม. ๑- ม. 
๖ เป็นต้น 
- ระเบียนสะสม 
- แบบประเมินพฤติกรรมเด็ก 
(SDQ) 
- วิธีการอื่นๆ เช่น การสังเกต 
พฤติกรรม การได้ข้อมูลจากเพื่อน 
นักเรียนจากแบบสอบถาม
กรอบแนวคิดระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน 
โดยครูแชมป์ ฟักอ่อน 
www.damsanid.blogger.com 
ข้อมูลนักเรียน ตัวอย่างประเด็นการพิจารณา แหล่งข้อมูล 
๓. ด้านครอบครัว 
๓.๑) ด้านเศรษฐกิจ 
๓.๒) ด้านการคุ้มครอง 
นักเรียน 
๔. ด้านอื่นๆ 
๑) ผู้หารายได้ให้ครอบครัว 
๒) ฐานะเศรษฐกิจของครอบครัว 
ภาระหนี้สิน 
๓) ความเพียงพอของรายรับกับ 
รายจ่าย 
๔) จานวนเงินที่นักเรียนได้รับและ 
ใช้จ่ายในแต่ละวัน 
๑) ความสามารถในการคุ้มครอง 
ดูแลนักเรียนได้อย่างปลอดภัยและ 
เหมาะสมของผู้ปกครอง 
๒) ความเหมาะสมของสภาพที่ 
อยู่อาศัย และ สิ่งแวดล้อม 
๓) ความสัมพันธ์ของคนใน 
ครอบครัว เช่น อบอุ่น หรือ มัก 
ทะเลาะเบาะแว้ง ใช้ความรุนแรงใน 
การตัดสินแก้ไขปัญหาซึ่งมี 
ผลกระทบต่อพฤติกรรมของ 
นักเรียน เช่น ซึม เหม่อลอย 
แสดงออกถึงการไม่อยากกลับบ้าน 
เป็นต้น 
๔) การใช้สารเสพติด สุรา หรือ 
เล่นการพนัน รวมถึงความ 
เจ็บป่วยเรื้อรัง/รุนแรงของสมาชิก 
ในครอบครัว 
พฤติกรรมอื่นๆ ที่เปลี่ยนแปลง 
จากเดิม ซึ่งอาจเป็นไปในทางที่ดี 
ขึ้นหรือ มีความไม่เหมาะสมที่ 
ส่งผลกระทบต่อความสามารถ 
สุขภาพและการดาเนิน 
ชีวิตประจาวันของนักเรียน 
- ระเบียนสะสม 
- วิธีการอื่นๆ เช่น 
การได้ข้อมูลจากเพื่อน 
นักเรียนหรือจากนักเรียน 
โดยตรง เป็นต้น 
- ระเบียนสะสม 
- วิธีการอื่นๆ เช่น การ 
สังเกตพฤติกรรมนักเรียน 
การสอบถามจากนักเรียน 
โดยตรงหรือจากกลุ่ม 
เพื่อน เป็นต้น 
- การสังเกตพฤติกรรม 
ของนักเรียน 
- การสัมภาษณ์นักเรียน 
- จากแหล่งข้อมูลต่างๆ 
เช่น เพื่อนนักเรียน เป็น 
ต้น
กรอบแนวคิดระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน 
โดยครูแชมป์ ฟักอ่อน 
www.damsanid.blogger.com 
ตัวอย่าง 
เกณฑ์การคัดกรองนักเรียน 
การคัดกรองนักเรียนเพื่อจัดเป็นกลุ่มปกติ กลุ่มเสี่ยง มีปัญหานั้น ครูที่ 
ปรึกษาสามารถวิเคราะห์ข้อมูลจากระเบียนสะสม SDQ และอื่นที่จัดทาเพิ่มเติม แต่ทั้งนี้ 
โรงเรียนแต่ละแห่ง จาเป็นต้องประชุมครูเพื่อพิจารณาเกณฑ์การคัดกรองนักเรียน เพื่อให้ 
ครูที่ปรึกษามีหลักในการคัดกรองนักเรียนตรงกันทั้งโรงเรียน ดังมีตัวอย่างต่อไปนี้ 
ข้อมูลนักเรียน กล่มุปกติ กลุ่มเสี่ยง/มีปัญหา 
๑.ด้านความสามารถ 
๑.๑.ด้านการเรียน 
๑.๒ ด้านความสามารถ 
อื่นๆ 
- ผลการเรียนเฉลี่ย 
๒.๐๐ ขึ้นไป 
-ไม่มี ๐ ร มส ใน 
ทุกวิชา 
- ไม่เข้าเรียนในวิชา 
ต่างๆ ไม่เกิน ๓ ครั้ง 
ใน ๑ วิชา 
- มาโรงเรียนที่ทันเคารพ 
ธงชาติ 
ไม่เกิน ๑๐ ครั้งใน 
๑ ภาคเรียน 
- ถ้านักเรียนมี 
ความสามารถพิเศษ จะ 
เป็นจุดแข็งของนักเรียน 
ทุกคน 
- ผลการเรียนเฉลี่ยตี่กว่า 
๒.๐๐ 
- ไม่เข้าเรียวนในวิชาต่างๆ 
มากกว่า ๓ ครั้งต่อ ๑ 
วิชา 
- มี ๐ ร มส ในวิชา 
ต่างๆ 
- อ่านหนังสือไม่คล่อง 
- เขียนหนังสือไม่ถูกต้องแม้ 
คาสะกดง่ายๆ 
- มาโรงเรียนไม่ทันเคารพธง 
ชาติมากกว่า ๑๐ ครั้งใน ๑ 
ภาคเรียน 
๒. ด้านสุขภาพ 
๒.๑ ด้านร่างกาย 
๒.๒ ด้านจิตใจ/ 
พฤติกรรม 
-อายุ น้าหนัก และ 
ส่วนสูง สัมพันธ์กัน 
-ร่างกายแข็งแรง 
-ไม่มีโรคประจาตัว 
-หากโรงเรียนใช้แบบ 
ประเมินพฤติกรรมเด็ก 
(SDQ) ให้พิจารณาตาม 
-น้าหนักผิดปกติและไม่ 
สัมพันธ์กับส่วนสูงและอายุ 
-มีโรคประจาตัว หรือ 
เจ็บป่วยบ่อยๆ 
-มีความพิการทางร่างกายหรือ 
บกพร่องด้านการได้ยิน การฟัง 
การมองเห็น หรืออื่นๆ
กรอบแนวคิดระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน 
โดยครูแชมป์ ฟักอ่อน 
www.damsanid.blogger.com 
ข้อมูลนักเรียน กลุ่มปกติ กลุ่มเสี่ยง/มีปัญหา 
เกนฑ์ของ SDQ 
-หากโรงเรียนใช้ 
เครื่องมืออื่นๆ เช่น 
แบบประเมินความฉลาด 
ทางอารมณ์ (EQ) ก็ให้ไช่ 
เกนฆ์ของเครื่องมอนั้นๆ 
รวมทั่งการพิจารณา 
ควบคู่กับข้อมูลอื่นๆที่มี 
เพิ่มเติม 
๓. ด้านครอบครัว 
๓.๑ ด้ารนเศรษกิจ 
๓.๒ ด้านการคุ้มครอง 
นักเรียน 
-ครอบครัวมีรายได้ 
พอเพียง ในการเลี้ยง 
ครอบครัว 
-นักเรียนมี 
ความสัมพันธ์ที่ดีกับ 
สมาชิกในครอบครัว 
-ที่พักอาศัยอยู่ใน 
ชุมชนที่ดี แลอยู่ใกล้ 
แหล่งมั่วสุมหรือแหล่ง 
เสี่ยงอันตราย 
-รายได้ครอบครัวต่ากว่า 
๕,๐๐๐ บด ต่อเดือน 
-บิดา หรือมารดาตกงาน 
-มีภาระหนี้สิน 
-ไม่มีอาหารกลางวัน 
รับประทาน 
-ไม่มีเงินซื้ออุปกรณ์การเรียน 
-อยู่หอพัก 
-บิดา มารดา หย่าร้าง หรือ 
สมรสใหม่ 
-ที่พักอยู่ ในชุมชนแออัด 
หรือใกล้แหล่งมั่วสุม หรือ 
แหล่งท่องเที่ยวกลางคืน 
-มีความขัดแย้งในครอบครัว 
หรือทะเลาะกันเป็นประจา 
-มีความรู้สึกที่ไม่ดีต่อบิดา 
หรือมารดา 
-มีการใช้สารเสพติดหรือเล่น 
การพนันในครอบครัว 
-มีบุกคลในครอบครัว 
เจ็บป่วยด้วยโรคทางจิตเวช
กรอบแนวคิดระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน 
โดยครูแชมป์ ฟักอ่อน 
www.damsanid.blogger.com 
ข้อมูลนักเรียน กลุ่มปกติ กลุ่มเสี่ยง/มีปัญหา 
๔.ด้านอื่นๆ 
๔.๑ ด้านยาเสพติด 
๔.๒ ด้านเพศ 
ไม่ไช้สารเสพติด 
ยกเว้นการดื่มเบียร์ สุรา 
หรือสูบบุหรี่ เป็นครั่ง 
คราว เพื่อสังคมและยัง 
สามารถควบคุมตนเอง 
ได้ 
ปรับตัวกับเพื่อนต่าง 
เพศได้เหมาะสมกับวัย 
ใช้สารเสพติด เช่น กัญชา 
ยาบ้า หรือสารสพติดอื่นๆ 
-จับคู่ชัดเจนและแยกกลุ่มอยู่ 
ด้วยกันสองต่อสองบ่อยครั้ง 
-มีพฤติกรรมเบียงเบนทาง 
เพศ เช่น ทอม ตุ๊ด ดี้ เป็น 
ต้น 
-ซึ่งมีผลกระทบต่อการเรียน 
ของนักเรียนในระดับเสี่ยง/มี 
ปัญหา
กรอบแนวคิดระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน 
โดยครูแชมป์ ฟักอ่อน 
www.damsanid.blogger.com 
ตัวอย่าง 
แบบสรุปผลการคัดกรองและช่วยเหลือนักเรียนเป็นรายบุคคล 
(สาหรับครูที่ปรึกษา) 
_______________________ 
ชื่อ..................................................สกุล...................................................ชั้น...................เลขที่.................. 
ปัญหาของนักเรียน 
๑. ด้านความสามารถ 
การเรียน คือ................................................................................................................... .......................... 
ความสามารถอื่นๆ คือ....................................................................................................................... 
๒. ด้านสุขภาพ 
ร่างกาย คือ.......................................................................................................................... ....................... 
จิตใจ – พฤติกรรม คือ.................................................................................................................... 
๓. ด้านครอบครัว 
เศรษฐกิจ คือ........................................................................... ................................................................... 
การคุ่มครองนักเรียน คือ........................................................................................... ........................ 
แผนการแก้ไขปัญหา 
จัดกิจกรรมในห้องเรียน โดย................................................................................................................ 
............................................................................................................................................................... ........................ 
จัดกิจกรรมเสริมหลักสูตร โดย......................................................................................................... 
.................................................................................................................................................................... .................. 
จัดกิจกรรมซ่อมเสริม โดย........................................................................................................ ........... 
................................................................................................................................................................. ..................... 
จัดกิจกรรมเพื่อนช่วยเพื่อน ....................................................................................................... ........ 
................................................................................................................................................................. ..................... 
ติดต่อสื่อสารกับผู้ปกครอง โดย.................................................................................................... . 
.......................................................................................................................................................... ...........................
กรอบแนวคิดระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน 
โดยครูแชมป์ ฟักอ่อน 
www.damsanid.blogger.com 
การดาเนินงานแก้ไขปัญหา 
วัน เดือน ปี วิธีการ ผลการดาเนินงาน 
สรุปการดาเนินงาน 
นักเรียนดีขึ้น ยุติการช่วยเหลือ 
ดูแลต่อไปอีกประมาณ ๓ เดือน 
ส่งต่อ..........................................................................................................................................................

More Related Content

What's hot

ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน (งานกลุ่ม)
ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน (งานกลุ่ม)ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน (งานกลุ่ม)
ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน (งานกลุ่ม)thananew
 
บันทึกนำเสนอครูผู้ช่วย
บันทึกนำเสนอครูผู้ช่วยบันทึกนำเสนอครูผู้ช่วย
บันทึกนำเสนอครูผู้ช่วยpuyhihi
 
รายงานการปฏิบัติงานและผลการประเมินตนเอง
รายงานการปฏิบัติงานและผลการประเมินตนเองรายงานการปฏิบัติงานและผลการประเมินตนเอง
รายงานการปฏิบัติงานและผลการประเมินตนเองKhunkrunuch
 
รายงานประเมินตนเองครูยุวนิตย์ 54
รายงานประเมินตนเองครูยุวนิตย์ 54รายงานประเมินตนเองครูยุวนิตย์ 54
รายงานประเมินตนเองครูยุวนิตย์ 54Montree Jareeyanuwat
 
กำหนดการสอนสุขศึกษา ม.2
กำหนดการสอนสุขศึกษา ม.2กำหนดการสอนสุขศึกษา ม.2
กำหนดการสอนสุขศึกษา ม.2sarawut chaicharoen
 
55100922 0 20110606-163638
55100922 0 20110606-16363855100922 0 20110606-163638
55100922 0 20110606-163638soawaphat
 
มาตรฐานโรงเรียนวัดพวงนิมิต 15 มาตรฐาน
มาตรฐานโรงเรียนวัดพวงนิมิต  15 มาตรฐานมาตรฐานโรงเรียนวัดพวงนิมิต  15 มาตรฐาน
มาตรฐานโรงเรียนวัดพวงนิมิต 15 มาตรฐานtassanee chaicharoen
 
โรงเรียนบ้านบ่อไทยประเมินภายใน
โรงเรียนบ้านบ่อไทยประเมินภายในโรงเรียนบ้านบ่อไทยประเมินภายใน
โรงเรียนบ้านบ่อไทยประเมินภายในแอมป์ ไชโย
 
Sarครูโต้
Sarครูโต้Sarครูโต้
Sarครูโต้wichsitb
 
รายงานผลการปฏิบัติงานและการประเมินตนเอง ปี 2556
รายงานผลการปฏิบัติงานและการประเมินตนเอง ปี 2556รายงานผลการปฏิบัติงานและการประเมินตนเอง ปี 2556
รายงานผลการปฏิบัติงานและการประเมินตนเอง ปี 2556เทวัญ ภูพานทอง
 
รายงานการปฏิบัติราชการ ปี 2555 ครูเทวัญ ภูพานทอง
รายงานการปฏิบัติราชการ ปี 2555 ครูเทวัญ  ภูพานทองรายงานการปฏิบัติราชการ ปี 2555 ครูเทวัญ  ภูพานทอง
รายงานการปฏิบัติราชการ ปี 2555 ครูเทวัญ ภูพานทองเทวัญ ภูพานทอง
 
ประกาศการใช้มาตรฐานสถานศึกษาโรงเรียนวัดพวงนิมิต
ประกาศการใช้มาตรฐานสถานศึกษาโรงเรียนวัดพวงนิมิตประกาศการใช้มาตรฐานสถานศึกษาโรงเรียนวัดพวงนิมิต
ประกาศการใช้มาตรฐานสถานศึกษาโรงเรียนวัดพวงนิมิตtassanee chaicharoen
 
ประกาศการใช้มาตรฐานปฐมวัยโรงเรียนพวงนิมิต
ประกาศการใช้มาตรฐานปฐมวัยโรงเรียนพวงนิมิตประกาศการใช้มาตรฐานปฐมวัยโรงเรียนพวงนิมิต
ประกาศการใช้มาตรฐานปฐมวัยโรงเรียนพวงนิมิตtassanee chaicharoen
 
บันทึุกความดี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2552
บันทึุกความดี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2552บันทึุกความดี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2552
บันทึุกความดี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2552Nattapon
 

What's hot (19)

นำเสนอประเมินรอบสาม
นำเสนอประเมินรอบสามนำเสนอประเมินรอบสาม
นำเสนอประเมินรอบสาม
 
ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน (งานกลุ่ม)
ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน (งานกลุ่ม)ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน (งานกลุ่ม)
ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน (งานกลุ่ม)
 
บันทึกนำเสนอครูผู้ช่วย
บันทึกนำเสนอครูผู้ช่วยบันทึกนำเสนอครูผู้ช่วย
บันทึกนำเสนอครูผู้ช่วย
 
รายงานการปฏิบัติงานและผลการประเมินตนเอง
รายงานการปฏิบัติงานและผลการประเมินตนเองรายงานการปฏิบัติงานและผลการประเมินตนเอง
รายงานการปฏิบัติงานและผลการประเมินตนเอง
 
รายงานประเมินตนเองครูยุวนิตย์ 54
รายงานประเมินตนเองครูยุวนิตย์ 54รายงานประเมินตนเองครูยุวนิตย์ 54
รายงานประเมินตนเองครูยุวนิตย์ 54
 
กำหนดการสอนสุขศึกษา ม.2
กำหนดการสอนสุขศึกษา ม.2กำหนดการสอนสุขศึกษา ม.2
กำหนดการสอนสุขศึกษา ม.2
 
55100922 0 20110606-163638
55100922 0 20110606-16363855100922 0 20110606-163638
55100922 0 20110606-163638
 
Sar เจียมจิตร
Sar เจียมจิตรSar เจียมจิตร
Sar เจียมจิตร
 
มาตรฐานโรงเรียนวัดพวงนิมิต 15 มาตรฐาน
มาตรฐานโรงเรียนวัดพวงนิมิต  15 มาตรฐานมาตรฐานโรงเรียนวัดพวงนิมิต  15 มาตรฐาน
มาตรฐานโรงเรียนวัดพวงนิมิต 15 มาตรฐาน
 
ผลการดำเนินงานตามจุดเน้นที่ 4
ผลการดำเนินงานตามจุดเน้นที่ 4ผลการดำเนินงานตามจุดเน้นที่ 4
ผลการดำเนินงานตามจุดเน้นที่ 4
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
 
รายงานการประเมินตนเองรายบุคคล Sar
รายงานการประเมินตนเองรายบุคคล Sarรายงานการประเมินตนเองรายบุคคล Sar
รายงานการประเมินตนเองรายบุคคล Sar
 
โรงเรียนบ้านบ่อไทยประเมินภายใน
โรงเรียนบ้านบ่อไทยประเมินภายในโรงเรียนบ้านบ่อไทยประเมินภายใน
โรงเรียนบ้านบ่อไทยประเมินภายใน
 
Sarครูโต้
Sarครูโต้Sarครูโต้
Sarครูโต้
 
รายงานผลการปฏิบัติงานและการประเมินตนเอง ปี 2556
รายงานผลการปฏิบัติงานและการประเมินตนเอง ปี 2556รายงานผลการปฏิบัติงานและการประเมินตนเอง ปี 2556
รายงานผลการปฏิบัติงานและการประเมินตนเอง ปี 2556
 
รายงานการปฏิบัติราชการ ปี 2555 ครูเทวัญ ภูพานทอง
รายงานการปฏิบัติราชการ ปี 2555 ครูเทวัญ  ภูพานทองรายงานการปฏิบัติราชการ ปี 2555 ครูเทวัญ  ภูพานทอง
รายงานการปฏิบัติราชการ ปี 2555 ครูเทวัญ ภูพานทอง
 
ประกาศการใช้มาตรฐานสถานศึกษาโรงเรียนวัดพวงนิมิต
ประกาศการใช้มาตรฐานสถานศึกษาโรงเรียนวัดพวงนิมิตประกาศการใช้มาตรฐานสถานศึกษาโรงเรียนวัดพวงนิมิต
ประกาศการใช้มาตรฐานสถานศึกษาโรงเรียนวัดพวงนิมิต
 
ประกาศการใช้มาตรฐานปฐมวัยโรงเรียนพวงนิมิต
ประกาศการใช้มาตรฐานปฐมวัยโรงเรียนพวงนิมิตประกาศการใช้มาตรฐานปฐมวัยโรงเรียนพวงนิมิต
ประกาศการใช้มาตรฐานปฐมวัยโรงเรียนพวงนิมิต
 
บันทึุกความดี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2552
บันทึุกความดี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2552บันทึุกความดี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2552
บันทึุกความดี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2552
 

Viewers also liked

แบบสัมภาษณ์โครงการประเมินสภาวะพฤติกรรมสุขภาพ
แบบสัมภาษณ์โครงการประเมินสภาวะพฤติกรรมสุขภาพแบบสัมภาษณ์โครงการประเมินสภาวะพฤติกรรมสุขภาพ
แบบสัมภาษณ์โครงการประเมินสภาวะพฤติกรรมสุขภาพสำเร็จ นางสีคุณ
 
การวิจัยเชิงคุณภาพ
การวิจัยเชิงคุณภาพการวิจัยเชิงคุณภาพ
การวิจัยเชิงคุณภาพonyatada
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2
แผนการจัดการเรียนรู้ที่   2แผนการจัดการเรียนรู้ที่   2
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2kruruttika
 
คู่มือระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน
คู่มือระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนคู่มือระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน
คู่มือระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนKrooIndy Csaru
 
ตัวอย่างแบบสอบถามงานวิจัย
ตัวอย่างแบบสอบถามงานวิจัยตัวอย่างแบบสอบถามงานวิจัย
ตัวอย่างแบบสอบถามงานวิจัยrubtumproject.com
 
แบบสอบถาม ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความพึงพอใจของผู้ใช้บริการ โรงแรม หน้า150
แบบสอบถาม ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความพึงพอใจของผู้ใช้บริการ โรงแรม หน้า150แบบสอบถาม ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความพึงพอใจของผู้ใช้บริการ โรงแรม หน้า150
แบบสอบถาม ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความพึงพอใจของผู้ใช้บริการ โรงแรม หน้า150สำเร็จ นางสีคุณ
 

Viewers also liked (6)

แบบสัมภาษณ์โครงการประเมินสภาวะพฤติกรรมสุขภาพ
แบบสัมภาษณ์โครงการประเมินสภาวะพฤติกรรมสุขภาพแบบสัมภาษณ์โครงการประเมินสภาวะพฤติกรรมสุขภาพ
แบบสัมภาษณ์โครงการประเมินสภาวะพฤติกรรมสุขภาพ
 
การวิจัยเชิงคุณภาพ
การวิจัยเชิงคุณภาพการวิจัยเชิงคุณภาพ
การวิจัยเชิงคุณภาพ
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2
แผนการจัดการเรียนรู้ที่   2แผนการจัดการเรียนรู้ที่   2
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2
 
คู่มือระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน
คู่มือระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนคู่มือระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน
คู่มือระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน
 
ตัวอย่างแบบสอบถามงานวิจัย
ตัวอย่างแบบสอบถามงานวิจัยตัวอย่างแบบสอบถามงานวิจัย
ตัวอย่างแบบสอบถามงานวิจัย
 
แบบสอบถาม ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความพึงพอใจของผู้ใช้บริการ โรงแรม หน้า150
แบบสอบถาม ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความพึงพอใจของผู้ใช้บริการ โรงแรม หน้า150แบบสอบถาม ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความพึงพอใจของผู้ใช้บริการ โรงแรม หน้า150
แบบสอบถาม ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความพึงพอใจของผู้ใช้บริการ โรงแรม หน้า150
 

Similar to กรอบความคิดระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน

การบริหารแบบมีส่วนร่วม
การบริหารแบบมีส่วนร่วมการบริหารแบบมีส่วนร่วม
การบริหารแบบมีส่วนร่วมAiphie Sonia Haji
 
จุดเน้นที่ 4
จุดเน้นที่ 4จุดเน้นที่ 4
จุดเน้นที่ 4Suwakhon Phus
 
คู่มือครูและบุคลากร
คู่มือครูและบุคลากรคู่มือครูและบุคลากร
คู่มือครูและบุคลากรMontree Jareeyanuwat
 
คู่มือครูและบุคลากร
คู่มือครูและบุคลากรคู่มือครูและบุคลากร
คู่มือครูและบุคลากรMontree Jareeyanuwat
 
คู่มือครูและบุคลากร
คู่มือครูและบุคลากรคู่มือครูและบุคลากร
คู่มือครูและบุคลากรMontree Jareeyanuwat
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8nattawad147
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8benty2443
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8wanneemayss
 
จุดเน้นที่ 4 พัฒนาระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียนอย่างยั่งยืน
จุดเน้นที่  4 พัฒนาระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียนอย่างยั่งยืนจุดเน้นที่  4 พัฒนาระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียนอย่างยั่งยืน
จุดเน้นที่ 4 พัฒนาระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียนอย่างยั่งยืนโรงเรียนมหาธิคุณวิทยา
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8kanwan0429
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8kanwan0429
 
รายงาน SAR โดยกลุ่มงานประกันคุณภาพ โรงเรียนสุนทรภู่พิทยา บทที่ 3
รายงาน SAR โดยกลุ่มงานประกันคุณภาพ โรงเรียนสุนทรภู่พิทยา บทที่ 3รายงาน SAR โดยกลุ่มงานประกันคุณภาพ โรงเรียนสุนทรภู่พิทยา บทที่ 3
รายงาน SAR โดยกลุ่มงานประกันคุณภาพ โรงเรียนสุนทรภู่พิทยา บทที่ 3Yodhathai Reesrikom
 
ตอนที่ 2 การพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาตามแผนปฏิบัติการประจำปีของสถานศึกษา 3
ตอนที่ 2 การพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาตามแผนปฏิบัติการประจำปีของสถานศึกษา 3ตอนที่ 2 การพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาตามแผนปฏิบัติการประจำปีของสถานศึกษา 3
ตอนที่ 2 การพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาตามแผนปฏิบัติการประจำปีของสถานศึกษา 3warijung2012
 
การพัฒนาครูด้านการดำเนินงานตามระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน
การพัฒนาครูด้านการดำเนินงานตามระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนการพัฒนาครูด้านการดำเนินงานตามระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน
การพัฒนาครูด้านการดำเนินงานตามระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนSweetsak Samnakwong
 
Thinking and doing school
Thinking and doing schoolThinking and doing school
Thinking and doing schoolWC Triumph
 

Similar to กรอบความคิดระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน (20)

การบริหารแบบมีส่วนร่วม
การบริหารแบบมีส่วนร่วมการบริหารแบบมีส่วนร่วม
การบริหารแบบมีส่วนร่วม
 
จุดเน้นที่ 4
จุดเน้นที่ 4จุดเน้นที่ 4
จุดเน้นที่ 4
 
คู่มือครูและบุคลากร
คู่มือครูและบุคลากรคู่มือครูและบุคลากร
คู่มือครูและบุคลากร
 
คู่มือครูและบุคลากร
คู่มือครูและบุคลากรคู่มือครูและบุคลากร
คู่มือครูและบุคลากร
 
คู่มือครูและบุคลากร
คู่มือครูและบุคลากรคู่มือครูและบุคลากร
คู่มือครูและบุคลากร
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8
 
จุดเน้นที่ 4 พัฒนาระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียนอย่างยั่งยืน
จุดเน้นที่  4 พัฒนาระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียนอย่างยั่งยืนจุดเน้นที่  4 พัฒนาระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียนอย่างยั่งยืน
จุดเน้นที่ 4 พัฒนาระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียนอย่างยั่งยืน
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8
 
รายงาน SAR โดยกลุ่มงานประกันคุณภาพ โรงเรียนสุนทรภู่พิทยา บทที่ 3
รายงาน SAR โดยกลุ่มงานประกันคุณภาพ โรงเรียนสุนทรภู่พิทยา บทที่ 3รายงาน SAR โดยกลุ่มงานประกันคุณภาพ โรงเรียนสุนทรภู่พิทยา บทที่ 3
รายงาน SAR โดยกลุ่มงานประกันคุณภาพ โรงเรียนสุนทรภู่พิทยา บทที่ 3
 
25713 1
25713 125713 1
25713 1
 
C
CC
C
 
ตอนที่ 2 การพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาตามแผนปฏิบัติการประจำปีของสถานศึกษา 3
ตอนที่ 2 การพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาตามแผนปฏิบัติการประจำปีของสถานศึกษา 3ตอนที่ 2 การพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาตามแผนปฏิบัติการประจำปีของสถานศึกษา 3
ตอนที่ 2 การพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาตามแผนปฏิบัติการประจำปีของสถานศึกษา 3
 
การพัฒนาครูด้านการดำเนินงานตามระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน
การพัฒนาครูด้านการดำเนินงานตามระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนการพัฒนาครูด้านการดำเนินงานตามระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน
การพัฒนาครูด้านการดำเนินงานตามระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน
 
Thinking and doing school
Thinking and doing schoolThinking and doing school
Thinking and doing school
 

More from ครูแชมป์ ฟักอ่อน

นวัตกรรม การจัดกิจกรรมเสริมสร้างคุณธรรม ตามระบอบประชาธิปไตยในสถานศึกษา
นวัตกรรม  การจัดกิจกรรมเสริมสร้างคุณธรรม ตามระบอบประชาธิปไตยในสถานศึกษานวัตกรรม  การจัดกิจกรรมเสริมสร้างคุณธรรม ตามระบอบประชาธิปไตยในสถานศึกษา
นวัตกรรม การจัดกิจกรรมเสริมสร้างคุณธรรม ตามระบอบประชาธิปไตยในสถานศึกษาครูแชมป์ ฟักอ่อน
 
ประวัติศาสตร์การเมืองไทย ๒๔๗๕ ๒๕๐๐
ประวัติศาสตร์การเมืองไทย ๒๔๗๕ ๒๕๐๐ประวัติศาสตร์การเมืองไทย ๒๔๗๕ ๒๕๐๐
ประวัติศาสตร์การเมืองไทย ๒๔๗๕ ๒๕๐๐ครูแชมป์ ฟักอ่อน
 
นิทานหนังสืออ่านเพิ่มเติม สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ส่งเสริมหลักปรัชญาเศษฐ...
นิทานหนังสืออ่านเพิ่มเติม สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ส่งเสริมหลักปรัชญาเศษฐ...นิทานหนังสืออ่านเพิ่มเติม สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ส่งเสริมหลักปรัชญาเศษฐ...
นิทานหนังสืออ่านเพิ่มเติม สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ส่งเสริมหลักปรัชญาเศษฐ...ครูแชมป์ ฟักอ่อน
 
รายงานการวิจัยในชั้นเรียนส่งเสริมเศรษฐกิจพอเพียง
รายงานการวิจัยในชั้นเรียนส่งเสริมเศรษฐกิจพอเพียงรายงานการวิจัยในชั้นเรียนส่งเสริมเศรษฐกิจพอเพียง
รายงานการวิจัยในชั้นเรียนส่งเสริมเศรษฐกิจพอเพียงครูแชมป์ ฟักอ่อน
 
รายงานการวิจัยในชั้นเรียนส่งเสริมเศรษฐกิจพอเพียง
รายงานการวิจัยในชั้นเรียนส่งเสริมเศรษฐกิจพอเพียงรายงานการวิจัยในชั้นเรียนส่งเสริมเศรษฐกิจพอเพียง
รายงานการวิจัยในชั้นเรียนส่งเสริมเศรษฐกิจพอเพียงครูแชมป์ ฟักอ่อน
 

More from ครูแชมป์ ฟักอ่อน (12)

ธรรมนูญสภานักเรียน ฉบับจริง
ธรรมนูญสภานักเรียน ฉบับจริงธรรมนูญสภานักเรียน ฉบับจริง
ธรรมนูญสภานักเรียน ฉบับจริง
 
นวัตกรรม การจัดกิจกรรมเสริมสร้างคุณธรรม ตามระบอบประชาธิปไตยในสถานศึกษา
นวัตกรรม  การจัดกิจกรรมเสริมสร้างคุณธรรม ตามระบอบประชาธิปไตยในสถานศึกษานวัตกรรม  การจัดกิจกรรมเสริมสร้างคุณธรรม ตามระบอบประชาธิปไตยในสถานศึกษา
นวัตกรรม การจัดกิจกรรมเสริมสร้างคุณธรรม ตามระบอบประชาธิปไตยในสถานศึกษา
 
ควบคุบภายใน
ควบคุบภายในควบคุบภายใน
ควบคุบภายใน
 
Booksuffwork thai
Booksuffwork thaiBooksuffwork thai
Booksuffwork thai
 
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
 
ประวัติศาสตร์การเมืองไทย ๒๔๗๕ ๒๕๐๐
ประวัติศาสตร์การเมืองไทย ๒๔๗๕ ๒๕๐๐ประวัติศาสตร์การเมืองไทย ๒๔๗๕ ๒๕๐๐
ประวัติศาสตร์การเมืองไทย ๒๔๗๕ ๒๕๐๐
 
วิทยากรเศรษฐกิจพอเพียง
วิทยากรเศรษฐกิจพอเพียงวิทยากรเศรษฐกิจพอเพียง
วิทยากรเศรษฐกิจพอเพียง
 
นิทานหนังสืออ่านเพิ่มเติม สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ส่งเสริมหลักปรัชญาเศษฐ...
นิทานหนังสืออ่านเพิ่มเติม สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ส่งเสริมหลักปรัชญาเศษฐ...นิทานหนังสืออ่านเพิ่มเติม สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ส่งเสริมหลักปรัชญาเศษฐ...
นิทานหนังสืออ่านเพิ่มเติม สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ส่งเสริมหลักปรัชญาเศษฐ...
 
รายงานการวิจัยในชั้นเรียนส่งเสริมเศรษฐกิจพอเพียง
รายงานการวิจัยในชั้นเรียนส่งเสริมเศรษฐกิจพอเพียงรายงานการวิจัยในชั้นเรียนส่งเสริมเศรษฐกิจพอเพียง
รายงานการวิจัยในชั้นเรียนส่งเสริมเศรษฐกิจพอเพียง
 
รายงานการวิจัยในชั้นเรียนส่งเสริมเศรษฐกิจพอเพียง
รายงานการวิจัยในชั้นเรียนส่งเสริมเศรษฐกิจพอเพียงรายงานการวิจัยในชั้นเรียนส่งเสริมเศรษฐกิจพอเพียง
รายงานการวิจัยในชั้นเรียนส่งเสริมเศรษฐกิจพอเพียง
 
นิทาน ป ๔
นิทาน ป ๔นิทาน ป ๔
นิทาน ป ๔
 
นิทาน ป ๓
นิทาน ป ๓นิทาน ป ๓
นิทาน ป ๓
 

กรอบความคิดระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน

  • 1. กรอบแนวคิดระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน โดยครูแชมป์ ฟักอ่อน www.damsanid.blogger.com เอกสาร กรอบแนวคิดระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน เพื่อเผยแพร่ พุทธศักราช ๒๕๕๗ กรอบแนวคิดระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน โดยครูแชมป์ ฟักอ่อน www.damsanid.blogger
  • 2. กรอบแนวคิดระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน โดยครูแชมป์ ฟักอ่อน www.damsanid.blogger.com กรอบความคิดระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน ความสาคัญและความจาเป็นของระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน การพัฒนานักเรียนให้เป็นบุคคลที่มีคุณภาพทั้งด้านร่างกาย จิตใจ สติปัญญา ความสามารถ มีคุณธรรม จริยธรรม และวิถีชีวิตที่เป็นสุขตามที่สังคม มุ่งหวัง โดยผ่านกระบวนการทางการศึกษานั้น นอกจากจะดาเนินการด้วยการ ส่งเสริม สนับสนุนนักเรียนแล้ว การป้องกันและการช่วยเหลือปัญหาต่างๆที่เกิด ขึ้นกับนักเรียนก็เป็นสิ่งสาคัญประการหนึ่งของการพัฒนาเนื่องจากสภาพสังคมที่ เปลี่ยนแปลงไปอย่างมากทั้งด้านการสื่อสาร เทคโนโลยีต่างๆซึ่งนอกจากจะส่งผล กระทบต่อผู้คนในเชิงบวกแล้ว ในเชิงลบก็ปรากฏเช่นกัน เป็นต้นว่าปัญหาเศรษฐกิจ ปัญหาการระบาดของสารเสพติด ปัญหาการแข่งขันในรูปแบบต่างๆ ปัญหาครอบครัวซึ่ง ก่อเกิดความทุกข์ ความวิตกกังวล ความเครียด การปรับตัวที่ไม่เหมาะสม หรือ อื่นๆ ที่เป็นผลเสียต่อสุขภาพจิตและสภาพกายของทุกคนที่เกี่ยวข้อง ดังนั้น ภาพ ความสาเร็จที่เกิดจากการพัฒนานักเรียนให้เป็นไปตามความมุ่งหวังนั้น จึงต้องอาศัย ความร่วมมือจากผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่ายทุกคน โดยเฉพาะบุคลากรครูทุกคนในโรงเรียน ซึ่งมีครูที่ปรึกษาเป็นหลักสาคัญในการดาเนินการต่างๆเพื่อการดูแลช่วยเหลือนักเรียน อย่างใกล้ชิดด้วยความรักและเมตตาที่มีต่อศิษย์ และภาคภูมิใจในบทบาทที่มีส่วน สาคัญต่อการพัฒนาคุณภาพชีวิตของเยาวชนให้เติบโตงอกงาม เป็นบุคลที่คุณค่าของ สังคมต่อไป บทบาทของครูที่กล่าวมานั้นคงมิใช่เรื่องใหม่ เพราะมีการปฏิบัติกันอย่าง สม่าเสมอและได้ดาเนินการมานานแล้วนับตั้งแต่อดีตจนได้รับยกย่องให้เป็นปูชนีย บุคคล แต่เพื่อให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลงของยุคสมัย โดยเฉพาะการทางานอย่างมี ระบบที่มีกระบวนการทางาน มีหลักฐานการปฏิบัติงาน มีเทคนิควิธีการ หรือการใช้ เครื่องมือต่างๆเพื่อการดูแลช่วยเหลือนักเรียนแล้ว ความสาเร็จของงานย่อมเกิดขึ้น อย่ารวดเร็ว มีประสิทธิภาพ ผลดีย่อมเกิดขึ้นกับทุกคนทั้งทางตรงและทางอ้อม ไม่ ว่าจะเป็นครู นักเรียน ผู้ปกครอง ชุมชน หรือสังคม นอกจากนี้พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พุทธศักราช ๒๕๔๒ ได้ กาหนดความมุ่งหมายและหลักการจัดการศึกษาต้องเป็นไปเพื่อพัฒนาคนไทยให้เป็น มนุษย์ที่สมบูรณ์ทั้งร่างกาย จิตใจ สติปัญญา ความรู้ และคุณธรรม มีจริยธรรม และวัฒนธรรมในการดารงชีวิต สามารถร่วนอยู่กับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข (มาตรา ๖ ) และแนวการจัดการศึกษายังได้ให้ความสาคัญแก่ผู้เรียนโดยยึดหลักว่าทุก คนมีความสามารถเรียนรู้และพัฒนาตนองได้และถือว่าผู้เรียนมีความสาคัญที่สุดต้อง ส่งเสริมให้ผู้เรียนพัฒนาตามธรรมชาติและเต็มตามศักยภาพ (มาตรา ๒๒) ในการ จัดการศึกษาต้องเน้นความสาคัญทั้งความรู้ คุณธรรม กระบวนการเรียนรู้และบูรณการ
  • 3. กรอบแนวคิดระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน โดยครูแชมป์ ฟักอ่อน www.damsanid.blogger.com ตามความเหมาะสม ของแต่ละระดับการศึกษาซึ่งเรื่องหนึ่งที่กาหนดให้ดาเนินการ คือ เรื่อง ความรู้และทักษะในการประกอบอาชีพและการดารงชีวิตอย่างมีความสุข (มาตรา ๒๓ ข้อ (๕) ทั้งนี้การจัดกระบวนการเรียนให้คานึงถึงความแตกต่างระหว่าง บุคคล ให้ผู้เรียนรู้จักประยุกต์ความรู้มาใช้เพื่อป้องกันและแก้ไขปัญหา ให้รู้จักคิดเป็น ทาเป็น รวมทั้งปลูกฝังคุณธรรม ค่านิยมที่ดีงาม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ไว้ใน ทุกวิชาอีกทั้งมีการประสานความร่วมมือกับบิดา มารดา ผู้ปกครองและบุคคลใน ชุมชนทุกฝ่าย เพื่อร่วมมือกันพัฒนาผู้เรียน ตามศักยภาพ ในการปฏิรูปวิชาชีพครู ซึ่งเป็นการพัฒนาครูให้เป็นบุคคลที่มีความรู้ ความสามารถคุณลักษณะที่มีคุณภาพ และมาตรฐานวิชาชีพ ตามการประกันคุณภาพ การศึกษา กรมสามัญศึกษา กรมสามัญศึกษาด้านปัจจัย คือ ครู ที่ระบุในมาตราที่ ๒ ครูมีคุณธรรม จริยธรรม คุณลักษณะที่พึงประสงค์ โดยมีตัวชี้วัดที่สาคัญและ เกี่ยวข้องกับบทบาทหน้าที่ของครูในการพัฒนานักเรียน คือ การมีความรัก เอื้ออาทร เอาใจใส่ ดูแลนักเรียนอย่างสม่าเสมอ การมีมนุษยสัมพันธ์และสุขภาพจิตที่ดี พร้อมที่จะแนะนาและร่วมกันแก้ปัญหาของนักเรียน แสดงให้เห็นว่า ครู ต้องพัฒนา ตนเองให้เป็นครูมืออาชีพ คือ นอกจากจะทาหน้าที่ครูผู้มีความรู้ ความสามารถใน การจัดการเรียนการสอนให้แก่นักเรียนแล้วยังต้องทาหน้าที่อื่นๆ ที่เป็นการสนับสนุน หรือพัฒนานักเรียนให้มีคุณภาพ ทั้งดี เก่ง มีสุข ซึ่งสอดคล้องกับมาตรฐานด้าน ผลผลิต คือนักเรียนในการประกันคุณภาพการศึกษา กรมสามัญศึกษา มาตรฐานที่ ๔ ที่มุ่งให้นักเรียนมีคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมที่พึงประสงค์ มาตรฐานที่ ๕ มี สุนทรียภาพและลักษณะด้านศิลปะ ดนตรี กีฬา มาตรฐานที่ ๖ รู้จักตนเอง พึ่งตน องได้ และมีบุคลิกภาพที่ดี มาตรฐานที่ ๗ มีสุขนิสัย สุขภาพกายและสุขภาพจิตที่ ดี ปลอดจากสิ่งเสพติดให้โทษ ซึ่งการดูแลช่วยเหลือนักเรียนจะเป็นปัจจัยสาคัญ ประการหนึ่ง ที่ช่วยเหลือให้นักเรียนมีคุณภาพตามมาตรฐานดังกล่าวได้ โดยผ่าน กระบวนการทางานที่เป็นระบบ ซึ่งมีความสอดคล้องกับมาตรฐานด้านกระบวนการ ของการประกันคุณภาพด้านการศึกษา กรมสามัญศึกษา มาตรฐานที่ ๑ ที่ให้โรงเรียนมี การบริหารและการจัดการอย่างเป็นระบบ มาตรฐานที่ ๔ มีการจัดกิจกรรมการเรียนการ สอน โดยเน้นผู้เยนเป็นศูนย์กลาง มาตรฐานที่ ๗ ส่งเสริมความสัมพันธ์ และ ความร่วมมือระหว่างโรงเรียนผู้ปกครอง ชุมชน องค์กรภาครัฐและเอกชนในการจัด และพัฒนาการศึกษา ดังนั้น ระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียนจึงเป็นระบบที่สามารถ ดาเนินการเพื่อรับการประกันคุณภาพได้ ซึ่งครอบคลุมทั้งด้านปัจจัย ด้านผลผลิตและ ด้านกระบวนการ
  • 4. กรอบแนวคิดระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน โดยครูแชมป์ ฟักอ่อน www.damsanid.blogger.com กรมสามัญศึกษาตระหนักถึงความสาคัญดังกล่าวจึงจัดทาระบบการ ช่วยเหลือนักเรียนเพื่อให้มีกระบวนการทางานเป็นระบบ มีความชัดเจน มีการ ประสานความร่วมมือของผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่ายทั้งในโรงเรียนและนอกโรงเรียน รวมทั้ง วิธีการ กิจกรรมและเครื่องมือต่างๆ ที่มีคุณภาพในการดูแลช่วยเหลือนักเรียนอันจะ ส่งผลให้ระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียนประสบความสาเร็จโดยมีแนวคิดหลักในการ ดาเนินงาน ดังนี้ ๑. มนุษย์ทุกคนมีศักยภาพที่จะเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้ตลอดชีวิต เพียงแต่ใช้เวลาและวิธีการที่ต่างกัน เนื่องจากแต่ละคนมีความเป็นปัจเจกบุคคล ดังนั้น การยึดนักเรียนเป็นสาคัญในการพัฒนา เพื่อดูแลช่วยเหลือ ทั้งด้านการ ป้องกัน แก้ไขปัญหา หรือการส่งเสริมจึงเป็นสิ่งจาเป็น ๒. ความสาเร็จของงาน ต้องอาศัยการมีส่วนร่วม ทั้งการร่วมใจ ร่วม คิด ร่วมทาของทุกคนที่มีส่วนเกี่ยวข้อง ไม่ว่าจะเป็นบุคลากรโรงเรียนในทุกระดับ ผู้ปกครอง หรือชุมชน วัตถุประสงค์ของระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน ๑. เพื่อให้การดาเนินงานดูแลช่วยเหลือนักเรียนของโรงเรียน เป็นไปอย่าง ระบบและมีประสิทธิภาพ ๒. เพื่อให้โรงเรียน ผู้ปกครอง หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง หรือชุมชน มีการ ทางานร่วมกันโดยผ่านกระบวนการทางานที่มีระบบ พร้อมด้วย เอกสาร หลักฐาน การปฏิบัติงาน สามารถตรวจสอบหรือรับการประเมินได้ ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ ๑. นักเรียนได้รับการดูแลช่วยเหลืออย่างทั่วถึงและตรงตามสภาพปัญหา ๒. สัมพันธภาพระหว่างครูกับนักเรียนเป็นไปด้วยดี และอบอุ่น ๓. นักเรียนรู้จักตนเองและควบคุมตนเองได้ ๔. นักเรียนมีการพัฒนาความฉลาดทางอารมณ์ ๕. นักเรียนเรียนรู้อย่างมีความสุข ปัจจยัสา คัญท่มีีผลต่อประสทิธิภาพของการดาเนินงานตามระบบการ ช่วยเหลือนักเรียน ๑. ผู้บริหารโรงเรียน รวมทั้งผู้ช่วยบริหารโรงเรียนทุกฝ่าย ตระหนักถึง ความสาคัญของระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน และให้การสนับสนุนการดาเนินงาน หรือร่วมกิจกรรมตามความเหมาะสมอย่างสม่าเสมอ
  • 5. กรอบแนวคิดระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน โดยครูแชมป์ ฟักอ่อน www.damsanid.blogger.com ๒. ครูทุกคนและผู้เกี่ยวข้องจาเป็นต้องมีความตระหนัก ในความสาคัญ ของระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน มีทัศนคติที่ดีต่อนักเรียน และมีความสุขที่จะ พัฒนานักเรียนในทุกด้าน ๓. คณะกรรมกาหรือคณะทางานทุกคณะ ต้องมีการประสานงานอย่าง ใกล้ชิดและมีการประชุมในแต่ละคณะ อย่างสม่าเสมอตามที่กาหนด ๔. ครูที่ปรึกษาเป็นบุคลากรหลักสาคัญในการดาเนินงาน โดยได้รับความ ร่วมมือจากครูทุกคนในโรงเรียน รวมทั้งการสนับสนุนในเรื่องต่างๆ จากโรงเรียน ๕. การอบรมให้ความรู้และทักษะ รวมทั้งการเผยแพร่ข้อมูล ความรู้แก่ครู ที่ปรึกษาหรือผู้เกี่ยวข้องในเรื่องที่เอื้อประโยชน์ต่อกรดูแลช่วยเหลือนักเรียนเป็น สิ่งจาเป็น โดยเฉพาะเรื่องทักษะการปรึกษาเบื้องต้นและแนวทางการแก้ไขปัญหาต่างๆ ของนักเรียน ซึ่งโรงเรียนควรดาเนินการอย่างต่อเนื่องและสม่าเสมอ ระบบการดูแลช่วยเหลือ ความหมายของระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน ระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน เป็นกระบวนการดาเนินงานดูแล ช่วยเหลือนักเรียนอย่างขั้นตอน พร้อมด้วยวิธีการและเครื่องมือการทางานที่ชัดเจน โดยมีครูที่ปรึกษาเป็นบุคลากรหลักในการดาเนินการดังกล่าว และมีการประสานความ ร่วมมืออย่างใกล้ชิดกับครูที่เกี่ยวข้องหรือบุคลากรภายนอก รวมทั้งการสนับสนุน ส่งเสริมจากโรงเรียน กระบวนการดาเนินงานตามระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน กระบวนการดาเนินงานตามระบบการดูแลช่วยเหลือนกัเรียน โดยครทูี่ ปรึกษาเป็นบุคลากรหลักในการปฏิบัติงานมีองค์ประกอบสาคัญ ๕ ประการ คือ ๑. การรู้จักนักเรียนเป็นรายบุคคล ๒. การคัดกรองนักเรียน ๓. การส่งเสริมนักเรียน ๔. การป้องกันและแก้ไขปัญหา ๕. การส่งต่อ กระบวนการดาเนินงานทั้ง ๕ ประการดังกล่าว แสดงให้เห็นเป็นแผนภูมิในหน้าต่อไปนี้
  • 6. กรอบแนวคิดระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน โดยครูแชมป์ ฟักอ่อน www.damsanid.blogger.com แผนภูมิแสดงกระบวนการดาเนินงานตามระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียนของครูที่ ปรึกษา ดีขึ้น รู้จักนักเป็นรายบุคคล คัดกรองนักเรียน กลุ่มปกติ กลุ่มเสี่ยง /มีปัญหา ส่งเสริมนักเรียน ป้องกันและแก้ไขปัญหา พฤติกรรมดี ขึ้นหรือไม่ ส่งต่อ (ภายในโรงเรียน) ไม่ดีขึ้น ยากต่อการช่วยเหลือดูแล
  • 7. กรอบแนวคิดระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน โดยครูแชมป์ ฟักอ่อน www.damsanid.blogger.com กระบวนการดาเนินงานตามระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน ที่แสดงใน แผนภูมิเป็นความรับผิดชอบ ของครูที่ปรึกษาตลอดกระบวนการ โดยมีการ ประสานงานหรือรับการสนับสนุนจากผู้บริหาร ครูที่เกี่ยว ของรวมทั้งผู้ปกครอง ซึ่งมีวิธีการและเครื่องมือตัวอย่างสรุป ได้ดังนี้ กระบวนการดาเนินงาน วิธีการ เครื่องมือ ๑.การรุ้จักนักเรียนเป็น รายบุคคล ๑.๑ ด้าน ความสามารถ - การเรียน - ความสามารถ อื่น ๆ ๑.๒ ด้านสุขภาพ - ร่างกาย - จิตใจ - พฤติกรรม ๑.๓ ด้าน ครอบครัว - เศรษฐกิจ - การคุ้มครอง นักเรียน ๑.๔ ด้านอื่นๆ ศึกษาข้อมูลจากการใช้ ๑. ระเบียนสะสม ๒. แบบประเมิน พฤติกรรมเด็ก (SDQ) ๓. อื่นๆ เช่น - แบบประเมินความ ฉลาดทางอารมณ์(E.Q.) - แบบสัมภาษณ์ นักเรียน - แบบสังเกต พฤติกรรมนักเรียน - แบบสัมภารณ์ ๑)ระเบียนสะสม ๒) แบบประเมิน พฤติกรรมเด็กต(SDQ) ๓)อื่นๆ เช่น - แบบประเมินความ ฉลาดทางอารมณ์(E.Q.) -แบบสัมภาษณ์ นักเรียนแบบ -แบบสังเกต พฤติกรรม นักเรียน -แบบสัมภาษณ์ ผู้ปกครองและเยี่ยมบ้าน นักเรียน ฯลฯ ๒.การคัดกรองนักเรียน ๒.๑กลุ่มปกติ ๒.๒กลุ่มเสี่ยง/มี ปัญหา ดาเนินการต่อไป ๑)วิเคราะห์ข้อมูลจาก ๑.๑ระเบียนสะสม ๑.๒แบบประเมิน พฤติกรรมเด็ก(SDQ) ๑.๓แหล่งข้อมูลอื่นๆ ๒)คัดกรองนักเรียนตาม เกณฑ์การคัดกรองของ โรงเรียน ๑)เกณฑ์การคัดกรอง ๒)แบบสรุ)ผลการคัด กรองและช่วยเหลือ นักเรียนเป็นรายบุคคล ๓)แบบสรุปผลการคัด กรองนักเรียนเป็นห้อง
  • 8. กรอบแนวคิดระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน โดยครูแชมป์ ฟักอ่อน www.damsanid.blogger.com กระบวนการดาเนินงาน วิธีการ เครื่อง ๓.ส่งเสริมนักเรียน (สาหรับนักเรียนทุกกลุ่ม) ดาเนินการต่อไป ๑)จัดกิจกรรมโฮมรูม (Homeroom) ๒)จัดประชุมผู้ปกครอง ชั้นเรียน(Classroom meeting)หรือ ๓)จัดกิจกรรมอื่นๆ ที่คูร พิจารณาว่าเหมาะสมใน การส่งเสริมนักเยนให้ มีคณุภาพมากขึ้น ๑)แนวทางในการจัด กิจกรรมโฮมรูมของ โรงเรียน ๒)แนวทางการจัดกิจกรรม ประชุมผู้ปกครองชั้นเรียน ของโรงเรียน ๓)แบบบันทึก /สรุป ประเมินผลการดาเนิน กิจกรรม * โฮมรูม *ประชุมผู้ปกครองชั้น เรียน * อื่นๆ ๔.การป้องกันการแก้ไขปัญหา (จาเป็นมากสาหรับนักเรียน กลุ่มเสี่ยง/มีปัญหา) ดาเนินการต่อไปนี้ ๑)ให้การปรึกษาเบื้องต้น ๒)ประสานงานกับครู และผู้เกี่ยวข้องอื่นๆ เพื่อการจัดกิจกรรม สาหรับการป้องและ ช่วยเหลือปัญหาของ นักเรียนคือ ๒.๑กิจกรรมใน ห้องเรียน ๒.๒กิจกรรมเสริม หลักสูตร ๒.๓กิจกรรมเพื่อช่วย เพื่อน ๒.๔กิจกรรมซ่อมเสริม ๒.๕กิจสื่อสารกับ ผู้ปกครอง ๑)แนวทางในการจัด กิจกรรมเพื่อป้องกันและ แก้ไขปัญหาของนักเรียน๕ กิจกรรม ๒)แบบบันทึกสรุปการคัด กรองและช่วยเหลือ นักเรียนเป็นรายบุคคล ๓)แบบบันทึกรายงานผล การดูแลช่วยเหลือ นักเรียน
  • 9. กรอบแนวคิดระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน โดยครูแชมป์ ฟักอ่อน www.damsanid.blogger.com กระบวนการดาเนินงาน วิธีการ เครื่องมือ ๕.การส่งต่อ ๕.๑ส่งต่อภายใน ๕.๒ส่งต่อภายนอก ดาเนินการต่อไปนี้ ๑)บันทึกการส่งนักเรียนไป ยังครูที่เกี่ยวข้องในการ ช่วยเหลือนักเรียนต่อไป เช่น ครูแนะแนว ครู ปกครองครูประจาวิชา ครู พยาบาล เป็นต้น ซึ่งเป็น การส่งต่อภายใน ๒)บันทึกการส่งนักเรียนไป ยังผู้เชียวชาญภายนอก โดยครูแนะแนวหรือฝ่าย ปกครองเป็นผู้ดาเนินการ ซึ่งเป็นการส่งต่อภายนอก ๑)แบบบันทึกการส่งต่อของ โรงเรียน ๒)แบบรายงานแจ้งผลการ ช่วยเหลือนักเรียน หมายเหตุ โรงเรียนสามารถพิจราณาเลือกใช้วิธีการ และเครื่องมืออื่นๆ เพิ่มเติม นอกเหนือจากที่ระบุเพื่อการดาเนินงาน อย่างมีประสิทธ์มากยิ่งขึ้น ตามความเหมาะ ของสภาพโรงเรียน รายระเอียดของแต่ละองค์ประกอบในระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน ระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน เป็นกระบวนการดาเนินงานที่มี องค์ประกอบสาคัญ ๕ ประการ ดังที่กล่าวมาคือ ๑. การรู้จักนักเรียนเป็นรายบุคคล ๒. การคัดกรองนักเรียน ๓. การส่งเสริมนักเรียน ๔. การป้องกันและแก้ไขปัญหา ๕. การส่งต่อ แต่ละองค์ประกอบของระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียนดังกล่าว มี ความสาคัญมีวิธีการและเครื่องมือที่แตกต่างกันไป แต่มีความสัมพันธ์เกี่ยวเนื่องกัน ซึ่งเพื่อให้การดูแลช่วยเหลือนักเรียนของโรงเรียนที่เป็นระบบที่มีประสิทธิภาพ ดังมี รายระเอียดดังต่อไปนี้
  • 10. กรอบแนวคิดระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน โดยครูแชมป์ ฟักอ่อน www.damsanid.blogger.com ข้อที่พึงตระหนักในการป้องกันและแก้ไขปัญหาของนักเรียน ๑) การรักษาความลับ ๑.๑)เรื่องราวข้อมูลของนักเรียนที่ให้การช่ว ยเหลือและแก้ไข ต้องไม่ นาไปเปิดเผย ยกเว้นเพื่อขอความช่วยเหลือนักเรียนกับบุคคลที่เกี่ยวข้อง โดยไม่ระบุ ชื่อ-สกุลจริงของนักเรียนและการเปิดเผยควรเป็นไปในลักษณะที่ให้เกียรตินักเรียน ๑.๒)บันทึกข้อมูลการช่วยเหลือนักเรียน ควรเก็บไว้ในที่เหมาะสมและ สะดวกการเรียกใช้ ๑.๓)การรายงานช่วยเหลือนักเรียน ควรรายงานในส่วนที่เปิดได้ โดยให้ เกียรติและคานึงถึงประโยชน์ของนักเรียนเป็นสาคัญ ๒) การแก้ไขปัญหา ๒.๑) การช่วยเหลือแก้ไขปัญหาของนักเรียน ต้องพิจารณาสาเหตุของ ปัญหาให้ครบถ้วนและหาวิธีการช่วยเหลือให้เหมาะสมกับเหมาะสมกับสาเหตุนั้น ๆ เพราะปัญหามิได้เกิดจากสสาเหตุเพียงสาเหตุเดียวแต่อาจจะเกิดจากหลายสาเหตุที่ เกี่ยวเนื่องสัมพันธ์กัน ๒.๒) ปัญหาที่เหมือนกันของนักเรียนแต่ละคน ไม่จาเป็นต้องเกิดจาก สาเหตุที่เหมือนกันและวิธีการช่วยเหลือที่ประสบความสาเร็จกับนักเรียนคนหนึ่ง ก็ไม่ เหมาะกับนักเรียนอีกคนหนึ่งเนื่องจากความแตกต่างของบุคคล ดังนั้นการช่วยเหลือ โดยเฉพาะการให้การปรึกษาจึงไม่มีสูตรการช่วยเหลือสาเร็จตายตัว เพียงแต่มี แนวทาง กระบวนการหรือทักษะการช่วยเหลือที่ครูแต่ละคนสามารถเรียนรู้ ฝึกฝน เพื่อ การนาไปใช้ให้เหมาะสมกับแต่ละปัญหาในนักเรียนแต่ละคน
  • 11. กรอบแนวคิดระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน โดยครูแชมป์ ฟักอ่อน www.damsanid.blogger.com การจัดกิจกรรมเพื่อป้องกันและแก้ไขปัญหาของนักเรียน สาระสาคัญ แนวดาเนินการ ในการป้องกันและแก้ไข ปัญหาของนักเรียน นอกจากจะให้การ ปรึกษาเบื้องต้นแล้วการจัดกิจกรรม ต่างๆ เพื่องการเหลือนักเรียนก็เป็นสิ่ง สาคัญเพราะจะทาให้การช่วยเหลือมี ประสิทธิภาพ ก่อให้เกิดความร่วมมือ ร่วมใจของครูทุกคนรวมทั้งผู้ปกครอง ด้วย ครูที่ปรึกษาสามารถคิดพิจารณากิจกรรม เพื่อแก้ไขปัญหาของนักเรียนได้หลายแนวทาง ซึ่งในที่นี้สรุปไว้ ๕ แนวทางที่จาเป็น คือ ๑) การใช้กิจกรรมเสริมหลักสูตร ๒)การใช้กิจกรรมในห้องเรียน ๓)การใช้กิจกรรมเพื่อนช่วยเพื่อน ๔)การใช้กิจกรรมซ่อมเสริม ๕)การใช้กิจกรรมการสื่อสารกับ ผู้ปกครอง สาหรับข้อ ๒) ๓) และ ๕) ครูที่ ปรึกษาสามารถดาเนินการด้วยตนเอง ส่วน ข้อ ๑) และ ๔) จาเป็นต้องมีการ ประสานงานเพื่อขอความร่วมมือจากครู อื่นๆ ที่เกี่ยวข้องรวมทั้งการสนับสนุนของ ผู้บริหารโรงเรียนด้วยแต่อย่างไรก็ตามการ ช่วยเหลือทั้ง ๕ กิจกรรมดังกล่าว ครูที่ ปรึกษาสามารถขอคาแนะนาความคิดเห็นจาก ครูอื่น ๆ ในการจัดกิจกรรมเพื่อให้ได้ผลดี ยิ่งขึ้น การพิจารณาเลือกใช้กิจกรรม ครูที่ ปรึกษาควรคานึงถึง ๑. ความเหมาะสม สอดคล้องกับ ลักษณะปัญหา ๒. บุคลิกลักษณะของนักเรียนแต่ละคน ๓. สภาพของชั้นเรียน / โรงเรียน / ชุมชน
  • 12. กรอบแนวคิดระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน โดยครูแชมป์ ฟักอ่อน www.damsanid.blogger.com กิจกรรมเพื่อการแก้ไขปัญหาทั้ง ๕ ดังกล่าว มีรายละเอียด แสดงใน ผนวก เรื่องตัวอย่างการจัดกิจกรรมการป้องกันและแก้ไขปัญหาของนักเรียน หน้า ๑๐๙-๑๑๒ การจัดกิจกรรมประชุมผู้ปกครองชั้นเรียน( classroom meeting ) สาระความรู้ แนวดาเนินการ การประชุมผู้ปกครองชั้น เรียนเป็นการพบปะกันระหว่างครูที่ ปรึกษากับผู้ปกครองนักเรียน เพื่อสร้างความสัมพันธ์อันดีต่อ กันและร่วมมือกันดูแลช่วยเหลือ นักเรียนระหว่างบ้านโรงเรียน และ ผู้ปกครอง การประชุมผู้ปกครอง ดังกล่าวจะทาให้นักเรียนได้รับ ความเอาใจใส่ดูแลจากผู้ปกครอง มากขึ้นทั้งการส่งเสริมให้นักเรียนมี คุณภาพมีความสามารถมากยิ่งขึ้น หรือร่วมมือกับทางโรงเรียนในการ ป้องกันหรือแก้ไขปัญหาของ นักเรียน ครูที่ปรึกษาควรจัดประชุมอย่างน้อยภาค เรียน ละ ๑ ครั้ง ซึ่งการประชุมนี้มิใช่การ รายงานสิ่งตางๆ ที่เกี่ยวข้องกับตัวนักเรียนให้ ผู้ปกครองทราบเพียงอย่างเดียวแต่เป็นการจัด กิจกรรมต่างๆ ที่จะทาให้ผู้ปกครองมีส่วนร่วม ในการช่วยเหลือนักเรียนให้มากขึ้น ดังนั้นสิ่ง สาคัญที่ควรตระหนัก ในการจัดกิจกรรมประชุมก็ คือ ๑. การเตรียมการ ครูที่ปรึกษาควรเตรียมความพร้อมก่อนการ ประชุมในด้านต่างๆ โดยเฉพาะข้อมูลของ นักเรียนแต่ละคนและ กิจกรรมที่จะดาเนินการ โดยกาหนดวัตถุประสงค์ในการจัดกิจกรรมที่ ชัดเจน ๒. การสื่อสาร ครูที่ปรึกษาควรระมัดระวังคาพูดที่ก่อให้เกิด ความรู้สึกทางลบหรือต่อต้านจากผู้ปกครอง เช่น การตาหนิหรือผู้ปกครอง การแจ้ง ข้อบกพร่องของนักเรียนในที่ประชุมหรือจะเป็น การส่วนตัวก็ตาม แต่ควรเป็นการพูดแสดงถึง ความเข้าใจในตัวนักเรียน แสดงถึงความ ห่วงใยใส่ใจของครูที่มีต่อนักเรียนทุกคน และ อาศัยกิจกรรมที่ทาให้ผู้ปกครองตระหนักในความ รับผิดชอบ และต้องการปรับปรุงหรือแก้ไขใน ส่วนที่บกพร่องของนักเรียน ๓. การจัดกิจกรรมในการประชุม การที่จะให้ผู้ปกครองมีส่วนร่วมในการประชุม นั้นจาเป็นต้องใช้กิจกรรมต่างๆ โดยเริ่มด้วย
  • 13. กรอบแนวคิดระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน โดยครูแชมป์ ฟักอ่อน www.damsanid.blogger.com สาระความรู้ แนวดาเนินการ การสร้างความคุ้นเคยระหว่างผู้ปกครองด้วยกัน ก่อน จึงจะมีกิจกรรมอื่นๆ ให้ผู้ปกครองได้ แสดงความคิดเห็น ซึ่งเป็นสาระที่เป็นประโยชน์ ต่อการดูแลช่วยเหลือนักเรียน ๔. การสรุปผลและบันทึกหลักฐานการประชุม ผู้ปกครอง ในการประชุมแต่ละครั้ง ครูที่ปรึกษาควรมี การสรุปผลและจัดทาเอกสารเป็นหลักฐาน เพื่อ ประโยชน์ดังนี้ ๔.๑)เป็นหลักฐานในการจัดประชุมแต่ละครั้ง ๔.๒)เป็นข้อมูลสาหรับการดูแลช่วยเหลือ ต่อไป ๔.๓)เป็นข้อมูลสาหรับการประชุมให้ สอดคล้องกับความต้องการของผู้ปกครองใน ครั้งต่อไป
  • 14. กรอบแนวคิดระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน โดยครูแชมป์ ฟักอ่อน www.damsanid.blogger.com การรู้จักนักเรียนเป็นรายบุคคล ๑. ความสาคัญ ด้วยความแตกตา่งของนักเรียนแต่ละคนที่มีพ้นืฐานความเป็นมาของชีวติ ที่ไม่เหมือนกันหล่อหลอมให้เกิดพฤติกรรมหลากหลายรูปแบบ ทั้งด้านบวกและ ลบ ดังนั้นการรู้ข้อมูลที่จาเป็นเกี่ยวกับตัวนักเรียนจึงเป็นสิ่งสาคัญ ที่จะช่วยให้ ครูที่ปรึกษามีความเข้าใจนักเรียนมากขึ้น สามารถนาข้อมูลมาวิเคราะห์เพื่อการคัด กรองนักเรียน เป็นประโยชน์ในการส่งเสริมการป้องกันและแก้ไขปัญหาของนัก เรียน ได้อย่างถูกทาง ซึ่งเป็นข้อมูลเชิงประจักษ์มิใช่การใช้ความรู้สึกหรือการคาดเดา โดยเฉพาะในการแก้ไขปัญหานักเรียน ซึ่งจะทา ให้ไม่เกิด ข้อผิดพลาดต่อการ ช่วยเหลือนักเรียนหรือการเกิดใดน้อยที่สุด ๒. ข้อมูลพื้นฐานของนักเรียน ครูที่ปรึกษามีข้อมูลเก่ยีวกับนกัเรียนอย่างนอ้ย ๓ ด้านใหญ่ ๆคือ ๑. ด้านความสามารถแยกเป็น ๑.๑ ด้านการเรียน ๑.๒ ด้านความสามารถอื่น ๆ ๒. ด้านสุขภาพแยกเป็น ๒.๑ ด้านร่างกาย ๒.๒ ด้านจิตใจ-พฤติกรรม ๓. ด้านครอบครัวแยกเป็น ๓.๑ ด้านเศรฐกิจ ๓.๒ ด้านการคุมครองนักเรียน ๔. ด้านอื่น ๆที่ครูพบเพิ่มเติมซึ่งมีความสาคัญหรือเกี่ยวข้องกับการ ดูแลช่วยเหลือนักเรียน
  • 15. กรอบแนวคิดระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน โดยครูแชมป์ ฟักอ่อน www.damsanid.blogger.com ข้อมูลพื้นฐานของนักเรียนที่ควรทราบ ข้อมูลนักเรียน รายระเอียดข้อมูลพื้นฐานที่ควรทราบ ๑.ด้านความสามารถ ๑.๒ ด้านการเรียน ๑.๒ ด้านความสามารถอื่นๆ -ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในแต่ละวิชา -ผลการเรียนเฉลี่ยในแต่ละภาคเรียน -พฤติกรรมการเรียนในห้องเรียนที่มีผลต่อ การเรียนรู้ของนักเรียน เช่น การไม่ตั้งใจ เรียน ขาดเรียน เป็นต้น -บทบาทหน้าที่พิเศษในโรงเรีย -ความสามารถพิเศษ -การเข้าร่วมกิจกรรมต่างๆ ทั้งในโรงเรียน และนอกโรงเรียน ๒.ด้านสุขภาพ ๒.๑ ด้านร่างกาย ๒.๒ ด้านจิตใจ -ส่วนสูง น้าหนัก -โรคประจาตัว ความบกพร่องทางร่างกาย เช่น การได้ยิน การมองเห็น -อารมณ์ซึมเศร้า/วิตกกังวล -ความประพฤติ -พฤติกรรมอยู่ไม่นิ่ง /สมาธิสั้น -บุคลิกภาพเก็บตัว/ขี้อาย ๓.ด้านครอบครัว ๓.๑ด้านเศรษฐกิจ ๓.๒ ด้านการคุ้มนักเรียน -รายได้ของบิดา มารดา/ผู้ปกครอง -อาชีพของผู้ปกครอง -ค่าใช้จ่ายที่นักเรียนได้รับในการมาโรงเรียน -จานวนพี่น้อง/บุคคลในครัวครอบ -สถานภาพของบิดา มารดา -บุคคลที่ดูแลรับผิดชอบนักเรียน -ความสาคัญของบุคคลในครอบครัว -ลักษณะที่อยู่อาศัยและสิ่งแวดล้อม -ความเจ็บป่วยของบุคคลในครอบครัวใช้
  • 16. กรอบแนวคิดระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน โดยครูแชมป์ ฟักอ่อน www.damsanid.blogger.com ๓, วิธีการและเครื่องมือในการรู้จักนักเรียนเป็นรายบุคคล ครูที่ปรึกษาควรใช้วิธีการและเครื่องมือที่หลากหลาย เพื่อให้ได้ข้อมูล นักเรียนที่ครอบครุมทางด้านความสามารถ ด้านสุขภาพและด้านครอบครัว ที่สาคัญ คือ ๑.ระเบียบสะสม ๒.แบบประเมินพฤติกรรมเด็ก (SDQ) ๓.วิธีการและเครื่องมือต่างๆ เช่น การสัมภารณ์นักเรียน การศึกษาจาก แฟ้มสะสมผลงาน การเยี่ยมบ้าน การศึกษาข้อมูลจากแบบบันทึกการตรวจสุขภาพ ด้วยตัวเองซึ่งจัดทาโดยกรมอนามัย เป็นต้น ๑) ระเบียนสะสม สะสมเป็นเครื่องมือในรู้แบบของเอกสาร เพื่อเก็บรวบรวมข้อมูลที่เกี่ยวกับตัวนักเรียน โดยนักเรียนเป็นผู้กรอกข้อมูล และครูที่ปรึกษานาข้อมูลเหล่านั้นมาศึกษา พิจารณาทา ความรู้จักนักเรียนเบื้ องงต้น หากข้อมูลไม่พอเพียง หรือมีข้อสังเกตบ้างประการ ก็ ควรหาข้อมูลเพิ่มเติมด้วยวิธีการต่าง เช่นการสอบถามจากนักเรียนโดยตรง การ สอบถามจากครูอื่นๆ หรือเพื่อนๆข้อนักเรียน รวมทั้งการใช้เครื่องมือทดสอบ ต่างๆหากครูที่ปรึกษาดาเนินการได้ รูปแบบและรายละเอยีดในระเบียนข้อแต่และโรงเรียน มีความแตกแต่กันข้นึ ได้อยู่กับความแตกต่างของแต่ละโรงเรียน แต่อย่างน้อยควรครอบคลุมข้อมูล ทางด้านการเรียนด้านสุขภาพและด้านครอบครัว ระเบียนสะสม เป็นข้อมูลส่วนตัวของนักเรียน จึงต้องมีความลับ และเก็บไว้อย่างดีมิให้ผู้ที่ไม่เกี่ยวข้องหรือเด็กอื่นๆมารื้อค้นได้ หากเป็นไปได้ควรเก็บ ไว้กับครูที่ปรึกษาและมีตู้เก็บระเบียนสะสมให้เรียบร้อย ระเบียนสะสม ควรเก็บรวบรวมข้อมูลอย่างต่อเนื่อง อย่างน้อย ๓ ปี การศึกษา หรือ ๖ ปีการศึกษา และส่งต่อระเบียบไปยังครูที่ปรึกษาคนใหม่ในปีการศึกษา ต่อไป หรืออาจจัดครูที่ปรึกษาตามดูแลนักเรียนอย่างต่อเนื่อง จนจบมัธยมศึกษาใน แต่ละตอน หรือจนจบ ๖ ปีการศึกษา ๒) แบบประเมินพฤติกรรมเด็ก (SDQ) (โรงเรียนอาจนาเครื่องมืออื่นมาใช้แทนก็ได้) แบบประเมินพฤติกรรมเด็ก ไม่ได้เป็นแบบวัดหรือแบบทดสอบ แต่ เป็นเครื่องสาหรับการคัดกรองนักเรียนด้านพฤ ติกรรม การปรับตัว ที่มีผลเกี่ยวเนื่อง กับสภาพจิตใจซึ่งจะช่วยให้ครูที่ปรึกษามีแนวการพิจารณานักเรียนด้านสุขภาพจิตมาก ขึ้น
  • 17. กรอบแนวคิดระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน โดยครูแชมป์ ฟักอ่อน www.damsanid.blogger.com แบบประเมินพฤติกรรมเด็ก เป็นเคร่อืงมือท่กีรมสขุภาพจิตเป็นผู้จัดทา ขึ้นโดย พัฒนาจากThe Strengths and Difficulties Questionnaire (SDQ) ประเทศเยอรมนี ซึ่งใช้กันแพร่หลายในประเทศแถบยุโรป เพราะมีความเที่ยงและความตรง จานวน ข้อไม่มากนัก คณะผู้จัดทาของกรมสุขภาพจิต โดย แพทย์หญิง พรรณพิมล หล่อ ตระกูล เป็นหัวหน้าคณะและทาการวิจัยเพื่อวิเคราะห์ค่าความเที่ยง ความตรงของแบบ ประเมิน และหารเกณฑ์มาตรฐาน (NORM) ของเด็กไทย แบบประเมินพฤติกรรมเด็ก มี๓ชุดคือ -ชุดที่ครูเป็นผู้ประเด็ก -ชุดที่พ่อแม่ ผู้ปกครอง เป็นผู้ประเมินเด็ก -ชุดที่เด็กประเมินตัวเอง ทั้ง ๓ ชุดมีเนื้อหาและจานวนข้อ ๒๕ ข้อท่ากัน ทางทางโรงเรียนอาจ เลือกใช้ชุดนักเรียนประเมินตนเองชุดเดียว หรือใช้ควบครูกับชุดที่ครูเป็นผู้ประเมิน เพื่อความแม่นตรงยิ่งขึ้นโดยระยะเวลาที่ประเมินม่ควรหากจากนักเรียนที่ประเมิน ตนเองเกิน ๑ เดือน ซึ่งหากเป็นไปด้ควรใช้แบบประเมินทั้ง ๓ ชุด พร้อมกัน เพื่อตรวจสอบความถูกต้องของผลที่ออกมา (แบบประเมินพฤติกรรมเด็ก และการให้ คะแนนการแปรผล ดูในภาคผนวกเรื่องครู่มือแนะนาการใช้แบบประเมินพฤติกรรมเด็ก (SDQ) สาหรับครู ๔.วิธีการและเครื่องมืออื่น ๆ ในกรณีที่ข้อมูลของนักเรียนจากระเบียนสะสมและแบบประเมินพฤติกรรมเด็ก ไม่พอเพียงหรือกรณีที่จาเป็นต้สองมีข้อมูลเพิ่มเติมอีก ครูที่ปรึกษาอาจใช้วิธีการและ เครื่องมืออื่นๆเพิ่มเติม เช่นการสังเกตพฤติกรรมอื่นๆในห้องเรียนการสัมภาษณ์และ การเยี่ยมบ้านนักเรียนเป็นต้น การส่งเสริมนักเรียน ๑.ความสาคัญ การส่งเสริมนักเรียนเป็นการสนับสนุนให้นักเรียนทุกคนที่อยู่ในความดูแลของ ครูที่ปรึกษาไม่ว่าจะเป็นนักเรียนปกติหรือกลุ่มเสี่ยง/มีปัญหาให้มีคุณภาพมากขึ้นมีความ ภาคภูมิใจในตัวเองในด้านต่างๆชึ่งจะช่วยให้นักเรียนที่อยู่ในกลุ่มปกติกลายเป็น นักเรียนในกลุ่มเสียง/มีปัญหาและเป็นการช่วยเหลือให้นักเรียนกลุ่มเสี่ยง/มีปัญหา กลับมาเป็นนักเรียนกลุ่มปกติและมีคุณภาพตามที่โรงเรียนหรือชุมชนคาดหวังต่อไป ๒.วิธีการและเครื่องมือเพื่อการส่งเสริมนักเรียน
  • 18. กรอบแนวคิดระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน โดยครูแชมป์ ฟักอ่อน www.damsanid.blogger.com การส่งเสริมนักเรียนมีหลายวิธีที่โรงเรียนสามารถพิจารนาดาเนินการได้แต่มี กิจกรรมหลักสาคัญที่โรงเรียนต้องดาเนินการ คือ ๑)การจัดกิจกรรมโฮมรูม (Homeroom) ๒)การจัดประชุมผู้ปกครองชั้นเรียน(Classroom meeting) ๑) การจัดกิจกรรมโฮมรูม สาระความรู้ แนวดาเนินการ กิจกรรมโฮมรูมเป็นกิจกรรมที่ ดาเนินการเพื่อส่งเสริมนักเรียนเป็น รายบุคคลหรือเป็นกลุ่มก็ได้ชึ่งเป็น สถานที่ที่ใช่จัดกิจกรรมโฮมรูมอาจ เป็นที่ห้องเรียนหรือในห้องเรียนที่มี บรรยากาศเสมือนบ้านที่มีครูที่ ปรึกษาและมีนักเรียนเป็นดั่งสมาชิก ในครอบครัวเดียวกัน และมีการทา กิจกรรมที่เป็นประโยชน์ต่อนักเรียน ในด้านต่างๆ เช่นการรู้จักตนเอง ของนักเรียนการรู้จักผู้อื่นและ สิ่งแวดล้อมมีทักษะการตัดสินใจ ทักษะการปรับตัวและว่างแผนชีวิต เป็นต้น กิจกรรมเหล่านี้ครูและ นักเรียนค วรมีส่วนร่วมจัดกิจกรรม ด้วยกัน ประโยชน์ของการจัดกิจกรรมโฮม รูมจะช่วยให้ครูที่ปรึกษารู้จักนักเรียน มากขึ้นสามารถส่งเสริม ความสามารถและป้องกันปัญหาของ นักเรียนได้อีกด้วย แนวดาเนินการจัดกิจกรรมโฮมรูม มีดังนี้ ๑ . กาเนิดกิจกรรมโฮมรูมโดยยึดความ ต้องการของนักเรียนให้นักเรียนมีส่วนร่วมใน การจัดกิจกรรมดังนี้ (๑.๑)สารวจความต้องการของนักเรียนใน การจัดกิจกรรมโฮมรูม (๑.๒)พิจารนาเลือกหัวข้อและวิธีการจัด กิจกรรมให้สอดคล้องกับความต้องการของ นักเรียนหรือให้เหมาะสมกับสถานการณ์ใน ขณะนั้นๆเป็นเรื่องที่ทันสมัย (๑.๓)การจัดกิจกรรมโฮมรูมในแต่ละครั้ง ค วร มีการดาเนินการเป็นหลักฐานทั้งก่อน ดาเนินการและหลังดาเนินการชึ่งอาจเขียนใน รูปแบบของการบันทึกการจัดกิจกรรมหรืออื่นๆใน ทั้งที่มีการบันทึกสรุปผลที่เกิดขึ้นกับนักเรียนหลัง การจัดกิจกรรมโฮมรูมทุกครั้ง ซึ่งการบันทึกอาจ เป็นบันทึกในแผนการจัดกิจกรรมหรือแบบฟอร์ม บันทึกที่แยกออกมาต่างหากก็ได้ (๑.๔)ประเมนผลทากิจกรรมและจัดทารายงาน ๒. โรงเรียนกาเนิดแนวทางการจัดกิจกรรมโฮม รูมหรือมีคู่มือในการจัด
  • 19. กรอบแนวคิดระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน โดยครูแชมป์ ฟักอ่อน www.damsanid.blogger.com สาระความรู้ แนวดาเนินการ กิจกรรมแต่ละครั้งโดยมีจุดหมายเนื้อหาสาระที่ สอดคล้องกับนโยบายของนักเรียนครูที่ปรึกษาที่ ดาเนินการตามนั้นแต่ให้มีความยึดหยุ่นในการ กาเนิดหัวข้อและวิธีการดาเนินกิจกรรมให้เหมาะ และทันสมัย ๓. วิธีการผสมผสานโดยยึดความต้องการ ของนักเรียนและนโยบายของโรงเรียนในการ พัฒนานักเรียนในการจัดกิจกรรมโฮมรูม ๔. วิธีการอื่นๆตามความเหมาะสม การคัดกรองนักเรียน ๑.ความสาคัญ การคัดกรองนักเรียน เป็นการพิจารณาข้อมูลที่เกี่ยวกับตัวนักเรียน เพื่อการจัดกลุ่มนักเรียนเป็น ๒ กลุ่มคือ ๑. กลุ่มปกติ คือ นักเรียนที่ได้รับการวิเคราะห์ข้อมูลต่างๆ ตาม เกณฑ์การคัดกรองของโรงเรียนแล้ว อยู่ในเกณฑ์ของกลุ่มปกติ ๒. กลุ่มเสี่ยง/มีปัญหา คือ นักเรียนที่จัดอยู่ในเกณฑ์ของกลุ่ม เสี่ยง/มีปัญหาตามเกณฑ์การคัดกรองของโรงเรียน ซึ่งโรงเรียนต้องให้ความ ช่วยเหลือ ป้องกันหรือแก้ไขปัญหาตามแต่กรณี การจัดกลุ่มนักเรียนนี้ มีประโยชน์ต่อครูที่ปรึกษาในการหาวิธีการเพื่อ ดูแลช่วยเหลือนักเรียนได้อย่างถูกต้อง โดยเฉพาะการแก้ไขปัญหาของนักเรียนยิ่งขึ้น และมีความรวดเร็วในการแก้ไขปัญหา เพราะมีข้อมูลของนักเรียนในด้านต่างๆ ซึ่ง หากครูที่ปรึกษาไม่ได้คัดกรองนักเรียนเพื่อการจัดกลุ่มแล้ว ความชัดเจนในเป้าหมาย เพื่อการแก้ไขปัญหาของนักเรียนจะมีน้อยลง มีผลต่อความรวดเร็วในการช่วยเหลือ ซึ่งบางกรณีจาเป็นต้องแก้ไขโดยเร่งด่วน ผลการคัดกรองนักเรียน ครูที่ปรึกษาจาเป็นต้องระมัดระวังอย่างยิ่งที่ จะไม่ทาให้นักเรียนรับรู้ได้ว่าตนถูกจัดกลุ่มอยู่ในกลุ่มเสี่ยง/มีปัญหา ซึ่งมีความ แตกต่างจากกลุ่มปกติโดยเฉพาะนักเรียนวัยรุ่นที่มีความไวต่อการรับรู้ (sensitive) แม้ว่านักเรียนจะรู้ตัวดีว่า ขณะนี้ตนมีพฤติกรรมอย่างไรหรือประสบกับปัญหาใดก็ตาม และเพื่อเป็นการป้องกันการล้อเลียนในหมู่เพื่อนอีกด้วยดังนั้น ครูที่ปรึกษาต้องเก็บ ผลการคัดกรองนักเรียนเป็นความลับ นอกจากนี้หากครูที่ปรึกษามีการประสานงานกับ
  • 20. กรอบแนวคิดระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน โดยครูแชมป์ ฟักอ่อน www.damsanid.blogger.com ผู้ปกครองเพื่อการช่วยเหลือนักเรียน ก็ควรระมัดระวังการสื่อสารที่ทาให้ผู้ปกครอง เกิดความรู้สึกว่า บุตรหลานของตนถูกกลุ่มที่ผิดปกติแตกต่างจากเพื่อนนักเรียน อื่น ๆ ซึ่งอาจมีผลเสียต่อนักเรียนในภายในภายหลังได้ ๒.แนวทางการวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อการคัดกรองนักเรียน การวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อการคัดกรองนักเรียนนั้น ให้อยู่ในดุลยพินิจของ ครูที่ปรึกษาและยึดถือเกณฑ์การคัดกรองนักเรียนของโรงเรียนเป็นหลักด้วย ดังนั้น โรงเรียนจึงควรมีการประชุมครูเพื่อการพิจารณาเกณฑ์การจักกลุ่มนักเรียนร่วมกัน เพื่อให้มีความมาตรฐานหรือแนวทางการคัดกรองนักเรียนที่เหมือนกัน เป็นที่ยอมรับ ของครูในโรงเรียน รวมทั้งให้มีการกาหนดเกณฑ์ว่าความรุนแรงหรือความถี่ของ พฤติกรรมเท่าใดจึงจัดอยู่ในกลุ่มเสี่ยง/มีปัญหา สาหรับประเด็นการพิจารณาเพื่อจัดทาเกณฑ์การคัดกรองและแหล่งข้อมูลเพื่อคัด กรองนักเรียนแต่ละด้าน มีตัวอย่างตามตารางต่อไปนี้ ข้อมูลนักเรียน ตัวอย่างประเด็นการพิจารณา แหล่งข้อมูล ๑. ด้านความสามารถ ๑.๑ ด้านการเรียน ๑.๒ ด้านความสามารถ อื่น ๆ ๑) ผลการเรียนที่ได้ และ ความเปลี่ยนแปลงของผลการ เรียน ๒) ความเอาใจใส่ ความ พร้อมในการเรียน ๓) ความสามารถในการเรียน ๔) ความสม่าเสมอในการมา โรงเรียนเวลาที่มาโรงเรียน การเข้าชั้นเรียน ๑) การแสดงออกถึง ความสามารถพิเศษที่มี ๒) ความถนัด ความสนใจ และผลงานในอดีตที่ผ่านมา ๓) บทบาทหน้าที่พิเศษใน โรงเรียน ๔) การเข้าร่วมกิจกรรมต่าง ๆ ของนักเรียน - ระเบียบสะสม - วิธีการอื่น ๆ เช่น การสังเกต พฤติกรรมนักเรียน การได้ข้อมูล จากครูที่เกี่ยวข้องกับนักเรียนเป็น ต้น - ระเบียบสะสม - แบบประเมินพฤติกรรมเด็ก (SDQ) - วิธีการอื่น ๆ เช่น การสังเกตพฤติกรรมการได้ ข้อมูลจากเพื่อนนักเรียนจาก แบบสอบถาม เป็นต้น
  • 21. กรอบแนวคิดระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน โดยครูแชมป์ ฟักอ่อน www.damsanid.blogger.com ข้อมูลนักเรียน ตัวอย่างประเด็นการพิจารณา แหล่งข้อมูล ๒. ด้านสุขภาพ ๒.๑ ด้านร่างกาย ๒.๒ ด้านจิตใจ พฤติกรรม ๑) ความผิดปรกติ ความพิการ หรือความบกพร่องทางร่างกาย เช่น การได้ยิน เป็นต้น ๒) โรคประจาตัว ๓) ความสัมพันธ์ระหว่าง น้าหนักกับส่วนสูง ๔) ความสะอาดของร่างกาย ๑) สภาพอารมณ์ ที่มีผลต่อการ ดารงชีวิตประจาวัน เช่น ความวิตกกังวลหรือซึมเศร้า ๒) ความประพฤติ ๓) พฤติกรรมต่างๆ ที่มี ผลกระทบต่อการเรียน ความสามารถพิเศษและการ ปรับตัวของนักเรียน เช่น พฤติกรรมที่อยู่ไม่นิ่ง สมาธิสั้น ๔) ความสัมพันธ์กับเพื่อน/ ครู/ ผู้ปกครอง การใช้สารเสพติด การลักขโมย การทาร้ายตัวเอง พฤติกรรมทางเพศที่ไม่เหมาะสม เป็นต้น - ระเบียนสะสม - วิธีการอื่น ๆ เช่น การสังเกต การสอบถามจากครูพยาบาล จาก แบบบันทึกการตรวจสุขภาพด้วย ตนเองสาหรับนักเรียน ม. ๑- ม. ๖ เป็นต้น - ระเบียนสะสม - แบบประเมินพฤติกรรมเด็ก (SDQ) - วิธีการอื่นๆ เช่น การสังเกต พฤติกรรม การได้ข้อมูลจากเพื่อน นักเรียนจากแบบสอบถาม
  • 22. กรอบแนวคิดระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน โดยครูแชมป์ ฟักอ่อน www.damsanid.blogger.com ข้อมูลนักเรียน ตัวอย่างประเด็นการพิจารณา แหล่งข้อมูล ๓. ด้านครอบครัว ๓.๑) ด้านเศรษฐกิจ ๓.๒) ด้านการคุ้มครอง นักเรียน ๔. ด้านอื่นๆ ๑) ผู้หารายได้ให้ครอบครัว ๒) ฐานะเศรษฐกิจของครอบครัว ภาระหนี้สิน ๓) ความเพียงพอของรายรับกับ รายจ่าย ๔) จานวนเงินที่นักเรียนได้รับและ ใช้จ่ายในแต่ละวัน ๑) ความสามารถในการคุ้มครอง ดูแลนักเรียนได้อย่างปลอดภัยและ เหมาะสมของผู้ปกครอง ๒) ความเหมาะสมของสภาพที่ อยู่อาศัย และ สิ่งแวดล้อม ๓) ความสัมพันธ์ของคนใน ครอบครัว เช่น อบอุ่น หรือ มัก ทะเลาะเบาะแว้ง ใช้ความรุนแรงใน การตัดสินแก้ไขปัญหาซึ่งมี ผลกระทบต่อพฤติกรรมของ นักเรียน เช่น ซึม เหม่อลอย แสดงออกถึงการไม่อยากกลับบ้าน เป็นต้น ๔) การใช้สารเสพติด สุรา หรือ เล่นการพนัน รวมถึงความ เจ็บป่วยเรื้อรัง/รุนแรงของสมาชิก ในครอบครัว พฤติกรรมอื่นๆ ที่เปลี่ยนแปลง จากเดิม ซึ่งอาจเป็นไปในทางที่ดี ขึ้นหรือ มีความไม่เหมาะสมที่ ส่งผลกระทบต่อความสามารถ สุขภาพและการดาเนิน ชีวิตประจาวันของนักเรียน - ระเบียนสะสม - วิธีการอื่นๆ เช่น การได้ข้อมูลจากเพื่อน นักเรียนหรือจากนักเรียน โดยตรง เป็นต้น - ระเบียนสะสม - วิธีการอื่นๆ เช่น การ สังเกตพฤติกรรมนักเรียน การสอบถามจากนักเรียน โดยตรงหรือจากกลุ่ม เพื่อน เป็นต้น - การสังเกตพฤติกรรม ของนักเรียน - การสัมภาษณ์นักเรียน - จากแหล่งข้อมูลต่างๆ เช่น เพื่อนนักเรียน เป็น ต้น
  • 23. กรอบแนวคิดระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน โดยครูแชมป์ ฟักอ่อน www.damsanid.blogger.com ตัวอย่าง เกณฑ์การคัดกรองนักเรียน การคัดกรองนักเรียนเพื่อจัดเป็นกลุ่มปกติ กลุ่มเสี่ยง มีปัญหานั้น ครูที่ ปรึกษาสามารถวิเคราะห์ข้อมูลจากระเบียนสะสม SDQ และอื่นที่จัดทาเพิ่มเติม แต่ทั้งนี้ โรงเรียนแต่ละแห่ง จาเป็นต้องประชุมครูเพื่อพิจารณาเกณฑ์การคัดกรองนักเรียน เพื่อให้ ครูที่ปรึกษามีหลักในการคัดกรองนักเรียนตรงกันทั้งโรงเรียน ดังมีตัวอย่างต่อไปนี้ ข้อมูลนักเรียน กล่มุปกติ กลุ่มเสี่ยง/มีปัญหา ๑.ด้านความสามารถ ๑.๑.ด้านการเรียน ๑.๒ ด้านความสามารถ อื่นๆ - ผลการเรียนเฉลี่ย ๒.๐๐ ขึ้นไป -ไม่มี ๐ ร มส ใน ทุกวิชา - ไม่เข้าเรียนในวิชา ต่างๆ ไม่เกิน ๓ ครั้ง ใน ๑ วิชา - มาโรงเรียนที่ทันเคารพ ธงชาติ ไม่เกิน ๑๐ ครั้งใน ๑ ภาคเรียน - ถ้านักเรียนมี ความสามารถพิเศษ จะ เป็นจุดแข็งของนักเรียน ทุกคน - ผลการเรียนเฉลี่ยตี่กว่า ๒.๐๐ - ไม่เข้าเรียวนในวิชาต่างๆ มากกว่า ๓ ครั้งต่อ ๑ วิชา - มี ๐ ร มส ในวิชา ต่างๆ - อ่านหนังสือไม่คล่อง - เขียนหนังสือไม่ถูกต้องแม้ คาสะกดง่ายๆ - มาโรงเรียนไม่ทันเคารพธง ชาติมากกว่า ๑๐ ครั้งใน ๑ ภาคเรียน ๒. ด้านสุขภาพ ๒.๑ ด้านร่างกาย ๒.๒ ด้านจิตใจ/ พฤติกรรม -อายุ น้าหนัก และ ส่วนสูง สัมพันธ์กัน -ร่างกายแข็งแรง -ไม่มีโรคประจาตัว -หากโรงเรียนใช้แบบ ประเมินพฤติกรรมเด็ก (SDQ) ให้พิจารณาตาม -น้าหนักผิดปกติและไม่ สัมพันธ์กับส่วนสูงและอายุ -มีโรคประจาตัว หรือ เจ็บป่วยบ่อยๆ -มีความพิการทางร่างกายหรือ บกพร่องด้านการได้ยิน การฟัง การมองเห็น หรืออื่นๆ
  • 24. กรอบแนวคิดระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน โดยครูแชมป์ ฟักอ่อน www.damsanid.blogger.com ข้อมูลนักเรียน กลุ่มปกติ กลุ่มเสี่ยง/มีปัญหา เกนฑ์ของ SDQ -หากโรงเรียนใช้ เครื่องมืออื่นๆ เช่น แบบประเมินความฉลาด ทางอารมณ์ (EQ) ก็ให้ไช่ เกนฆ์ของเครื่องมอนั้นๆ รวมทั่งการพิจารณา ควบคู่กับข้อมูลอื่นๆที่มี เพิ่มเติม ๓. ด้านครอบครัว ๓.๑ ด้ารนเศรษกิจ ๓.๒ ด้านการคุ้มครอง นักเรียน -ครอบครัวมีรายได้ พอเพียง ในการเลี้ยง ครอบครัว -นักเรียนมี ความสัมพันธ์ที่ดีกับ สมาชิกในครอบครัว -ที่พักอาศัยอยู่ใน ชุมชนที่ดี แลอยู่ใกล้ แหล่งมั่วสุมหรือแหล่ง เสี่ยงอันตราย -รายได้ครอบครัวต่ากว่า ๕,๐๐๐ บด ต่อเดือน -บิดา หรือมารดาตกงาน -มีภาระหนี้สิน -ไม่มีอาหารกลางวัน รับประทาน -ไม่มีเงินซื้ออุปกรณ์การเรียน -อยู่หอพัก -บิดา มารดา หย่าร้าง หรือ สมรสใหม่ -ที่พักอยู่ ในชุมชนแออัด หรือใกล้แหล่งมั่วสุม หรือ แหล่งท่องเที่ยวกลางคืน -มีความขัดแย้งในครอบครัว หรือทะเลาะกันเป็นประจา -มีความรู้สึกที่ไม่ดีต่อบิดา หรือมารดา -มีการใช้สารเสพติดหรือเล่น การพนันในครอบครัว -มีบุกคลในครอบครัว เจ็บป่วยด้วยโรคทางจิตเวช
  • 25. กรอบแนวคิดระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน โดยครูแชมป์ ฟักอ่อน www.damsanid.blogger.com ข้อมูลนักเรียน กลุ่มปกติ กลุ่มเสี่ยง/มีปัญหา ๔.ด้านอื่นๆ ๔.๑ ด้านยาเสพติด ๔.๒ ด้านเพศ ไม่ไช้สารเสพติด ยกเว้นการดื่มเบียร์ สุรา หรือสูบบุหรี่ เป็นครั่ง คราว เพื่อสังคมและยัง สามารถควบคุมตนเอง ได้ ปรับตัวกับเพื่อนต่าง เพศได้เหมาะสมกับวัย ใช้สารเสพติด เช่น กัญชา ยาบ้า หรือสารสพติดอื่นๆ -จับคู่ชัดเจนและแยกกลุ่มอยู่ ด้วยกันสองต่อสองบ่อยครั้ง -มีพฤติกรรมเบียงเบนทาง เพศ เช่น ทอม ตุ๊ด ดี้ เป็น ต้น -ซึ่งมีผลกระทบต่อการเรียน ของนักเรียนในระดับเสี่ยง/มี ปัญหา
  • 26. กรอบแนวคิดระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน โดยครูแชมป์ ฟักอ่อน www.damsanid.blogger.com ตัวอย่าง แบบสรุปผลการคัดกรองและช่วยเหลือนักเรียนเป็นรายบุคคล (สาหรับครูที่ปรึกษา) _______________________ ชื่อ..................................................สกุล...................................................ชั้น...................เลขที่.................. ปัญหาของนักเรียน ๑. ด้านความสามารถ การเรียน คือ................................................................................................................... .......................... ความสามารถอื่นๆ คือ....................................................................................................................... ๒. ด้านสุขภาพ ร่างกาย คือ.......................................................................................................................... ....................... จิตใจ – พฤติกรรม คือ.................................................................................................................... ๓. ด้านครอบครัว เศรษฐกิจ คือ........................................................................... ................................................................... การคุ่มครองนักเรียน คือ........................................................................................... ........................ แผนการแก้ไขปัญหา จัดกิจกรรมในห้องเรียน โดย................................................................................................................ ............................................................................................................................................................... ........................ จัดกิจกรรมเสริมหลักสูตร โดย......................................................................................................... .................................................................................................................................................................... .................. จัดกิจกรรมซ่อมเสริม โดย........................................................................................................ ........... ................................................................................................................................................................. ..................... จัดกิจกรรมเพื่อนช่วยเพื่อน ....................................................................................................... ........ ................................................................................................................................................................. ..................... ติดต่อสื่อสารกับผู้ปกครอง โดย.................................................................................................... . .......................................................................................................................................................... ...........................
  • 27. กรอบแนวคิดระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน โดยครูแชมป์ ฟักอ่อน www.damsanid.blogger.com การดาเนินงานแก้ไขปัญหา วัน เดือน ปี วิธีการ ผลการดาเนินงาน สรุปการดาเนินงาน นักเรียนดีขึ้น ยุติการช่วยเหลือ ดูแลต่อไปอีกประมาณ ๓ เดือน ส่งต่อ..........................................................................................................................................................