SlideShare a Scribd company logo
จิตวิทยาการแนะแนวและการให้คาปรึกษา
นิสิตหลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิตวิชาชีพครู
ปีการศึกษา 2558 รุ่น 2 ห้อง 5
อาจารย์ที่ปรึกษา รองศาสตราจารย์มัณฑรา ธรรมบุศย์
คณะครุศาสตร์
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
ความหมายของการแนะแนวทางการศึกษา
การแนะแนวเป็ นกระบวนการช่วยให้นักเรียนรู้จักและ
เข้าใจตนเอง รู้จักสภาพแวดล้อม รอบตัว เพื่อให้สามารถปรับตัว
และดารงอยู่ในสังคมได้อย่างถูกต้องและมีความสุข และส่งเสริม
ให้ นักเรียนได้พัฒนาสูงสุดตามศักยภาพของแต่ละคนทุกๆ ด้าน
ปรัชญาการแนะแนว
ปรัชญาการแนะแนวเป็ นความคิดหรือความเชื่อที่ยึดถือ
เป็ นหลักการในการแนะแนวเพราะเชื่อว่าจะทาให้การแนะแนว
มีประสิทธิภาพมากที่สุด พอสรุป ได้ดังนี้คือ
1. การแนะแนวคานึงถึงความสาคัญของแต่ละคน เพราะ
นักเรียนทุกคนมีความ แตกต่างกัน
2. การแนะแนวที่จัดขึ้นภายในโรงเรียนจะต้องมีบริการแนะแนว
ในรายบุคคลและเป็นกกลุ่ม
ปรัชญาการแนะแนว(ต่อ)
3. การบริการแนะแนวเป็นบริการแบบต่อเนื่องที่เป็ น
ประโยชน์ต่อการพัฒนาด้านต่างๆ ของนักเรียนทางด้านร่างกาย
จิตใจ สังคม อาชีพ และชีวิตสังคม เมื่อนักเรียนเติบโตขึ้นมาหากมี
ข้อบกพร่องหรือปัญหาอื่นๆ ตามมาก็จะช่วยให้เขาสามารถ
แก้ปัญหา ป้ องกันปัญหา และ สามารถปรับตัวให้เหมาะสม
และมีชีวิตที่เป็นสุข
4. การแนะแนวเป็นบริการที่ให้ความช่วยเหลือ เพื่อให้
นักเรียนรู้จักตนเองสามารถ ปรับตัวให้เหมาะสมกับตนเองและ
สภาพแวดล้อม
หลักการแนะแนว
หลักในการดาเนินการแนะแนวพอสรุป ได้ดังนี้
1. การแนะแนวจัดขึ้นเพื่อพัฒนาบุคคลในทุกๆ ด้าน
2. การแนะแนวเน้นความแตกต่างระหว่างบุคคลเพื่อให้
ความชวยเหลืออย่างเดียว
3. การบริหารแนะแนวจัดขึ้น เพื่อบริการนักเรียนทุกคน
ไม่ใช่เฉพาะทุกคนที่มีปัญหาเท่านั้น เหมาะสม
หลักการแนะแนว (ต่อ)
4. การจัดบริการแนะแนวจะได้ผลดีก็ต่อเมื่อมีการ
จัดบริการต่างๆ หลายบริการไปพร้อมๆ กัน
5. การจัดบริการแนะแนวเกิดจากความร่วมมือและความ
เต็มใจของผู้มาขอใช้บริการ ตลอดจนบุคคลอื่นๆ เช่น ผู้บริหาร ครู
เป็นต้น
6. การแนะแนวยึดหลักสิทธิเสรีภาพของบุคคลที่จะเลือก
ตัดสินใจด้วยตนเอง
7. การบริการแนะแนวควรเป็นบริการที่ต่อเนื่องมาตั้งแต่
ระดับประถมศึกษา จนถึง อุดมศึกษา
หลักการแนะแนว (ต่อ)
8. การแนะแนวมีจุดมุ่งหมายทั้งด้านการป้ องกันปัญหา
การแก้ปัญหาและการส่งเสริมพัฒนาการ
9. ผู้ทาหน้าที่แนะแนว มีหลักในการช่วยเหลือให้บุคคล
ปรับตัวได้ดีและมีการวางแผนที่ดี
10. การแนะแนวมีหลักการในการช่วยเหลือให้บุคคล
ปรับตัวได้ดีและมีการวางแผนที่ดี
11. การแนะแนวสามารถยืดหยุ่นได้และสนองความ
ต้องการของโรงเรียนและชุมชน
ความมุ่งหมายของการแนะแนว
ความมุ่งหมายของการแนะแนวสามารถจาแนกออกเป็น
2 ประเภท ได้แก่
1. ความมุ่งหมายทั่วไป
2. ความมุ่งหมายเฉพาะ
ความมุ่งหมายทั่วไป
ความมุ่งหมายทั่วไป หมายถึง ความมุ่งหมายของการแนะ
แนวโดยส่วนรวม นั่นคือ การแนะแนวไม่ว่าจะจัดในสถานที่ใดก็
ตาม ย่อมมีความมั่งหมายทั่วไปเหมือนกัน หรืออาจเรียกว่า เป็น
หน้าที่ของการแนะแนวก็ได้ มี 3 ประการคือ
1.เพื่อป้ องกันปัญหา (Prevention) การแนะแนวมุ่งจะ
ป้ องกันไม่ให้นักเรียน เกิดปัญหาหรือความยุ่งยากในการดาเนิน
ชีวิตของตนเพราะปัญหาและความยุ่งยากต่างๆ นั้นสามารถ
ป้ องกันได้และการปล่อยให้นักเรียนเกิดปัญหาขึ้นแล้วค่อยตาม
แก้ไข ช่วยเหลือในภายหลังนั้นทาได้ยากและต้องใช้เวลานาน
ในบางกรณีอาจจะแก้ไขไม่ได้อีกด้วย
ความมุ่งหมายทั่วไป (ต่อ)
2.เพื่อแก้ไขปัญหา (Curation) การแนะแนวมุ่งจะให้
ความช่วยเหลือนักเรียน ในการแก้ไขปัญหาต่างๆที่เกิดขึ้นกับตน
เพราะถ้าปล่อยให้นักเรียนประสบปัญหาโดย ไม่ให้ความช่วยเหลือ
แล้ว นักเรียนย่อมจะไม่สามารถดารงตนอยู่ในสังคมได้อย่างปกติ
สุข ได้ และในบางครั้งอาจจะมีการปรับตัวที่ผิดๆ ทาให้เกิดปัญหา
เพิ่มมากยิ่งขึ้น
ความมุ่งหมายทั่วไป (ต่อ)
3.เพื่อส่งเสริมพัฒนา (Development) การแนะแนวมุ่งจะ
ให้การส่งเสริมนักเรียนทุกคนให้เกิดความเจริญงอกงาม
มีพัฒนาการ ในด้านต่างๆ อย่างสมบูรณ์ เพื่อที่นักเรียนแต่ละคน
จะได้รับการส่งเสริมและแสดงความสามารถในด้านต่างๆ ของตน
ออกมาอย่างเต็มที่ โดยไม่ให้มีสิ่งใดมาเป็นอุปสรรคขัดขวางความ
เจริญก้าวหน้าและพัฒนาการของนักเรียน
ความมุ่งหมายเฉพาะ
ความมุ่งหมายเฉพาะ หมายถึง ความมุ่งหมายของการ
แนะแนวที่สถานศึกษาซึ่งจัดให้มีบริการแนะแนวเป็ นผู้กาหนด
ขึ้นมา เพื่อให้สอดคล้องกับปรัชญาเป้ าหมายหลักสูตร และสภาพ
สังคมของสถานศึกษานั้นๆ แต่อย่างไรก็ตามความมุ่งหมายเฉพาะ
ของการแนะแนวสาหรับสถานศึกษาแต่ละแห่งก็ย่อมจะมีความ
คล้ายคลึงกันไม่แตกต่างกันมากนัก เช่น
1.เพื่อช่วยให้นักเรียนแต่ละคนได้รู้จักตนเองอย่างแท้จริง
(Self-Understanding) คือ การช่วยให้นักเรียนรู้ถึงความต้องการ
ความคิด ความสามารถ ความถนัด และข้อจากัดต่างๆ ของตน อัน
จะเป็นประโยชน์ต่อการตัดสินใจเลือกแนวทางการศึกษา อาชีพ
และ การดาเนินชีวิตของนักเรียน
ความมุ่งหมายเฉพาะ (ต่อ)
2. เพื่อช่วยให้นักเรียนรู้จักปรับตัว (Self-Adjustment)
ให้เหมาะสมกับตนเองและสภาพแวดล้อม คือ การช่วยให้นักเรียน
รู้จักวิธี ปฏิบัติตนเพื่อจะดารงชีวิตอยู่ในสังคมได้อย่างเหมาะสม
และเป็นสุข
3.เพื่อช่วยให้นักเรียนรู้จักนาตนเอง (Self-Direction)
คือ การช่วยให้นักเรียนมีความเชื่อมั่นในตนเอง รู้จักใช้สติปัญญา
ความสามารถของตน แก้ไขปัญหาต่างๆ ได้อย่างฉลาด และ
เหมาะ สม สามารถวางแผนการชีวิตในอนาคต และสามารถ
นาตนเอง ไปสู่ เป้ าหมายที่วางไว้อย่างมีประสิทธิภาพ
ความมุ่งหมายเฉพาะ (ต่อ)
4.เพื่อช่วยให้นักเรียนรู้จักใช้วิจารณญาณคาดการณ์
ล่วงหน้า สิ่งที่อาจจะเกิดขึ้น และรู้จักหลีกเลี่ยงและป้ องกันสิ่งที่
อาจจะเกิดขึ้น โดยกะทันหัน
5.เพื่อส่งเสริมให้เกิดสัมพันธภาพที่ดีระหว่างครูกับ
นักเรียน เพราะการมีสัมพันธภาพที่ดีจะช่วยให้การบริหารงาน
ของโรงเรียน ดาเนินไปอย่างราบรื่นและมีประสิทธิภาพ
ความมุ่งหมายเฉพาะ (ต่อ)
6.เพื่อช่วยฝึกในเรื่องประชาธิปไตยให้แก่เยาวชนของชาติ
เพราะการฝึกให้นักเรียนได้มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับสิทธิและ
หน้าที่ของตนและมีการปฏิบัติจริง จะช่วยให้นักเรียนเจริญเติบโต
เป็นผู้ใหญ่ที่มีคุณภาพ
7.เพื่อช่วยให้เกิดความเข้าใจอันดีต่อกัน ระหว่างโรงเรียน
บ้าน และชุมชน อันจะเป็ นประโยชน์ต่อการส่งเสริมพัฒนา
นักเรียนในที่สุด
ประเภทของการบริการแนะแนว
การจัดบริการแนะแนวเป็ นการจัดเพื่อสนองความ
ต้องการบุคคล ดังนั้น ผู้มีหน้าที่รับผิดชอบจะต้องสารวจข้อมูล
เกี่ยวกับผู้มารับบริการ เพื่อเป็ นแนวทางในการพิจารณาการ
จัดบริการประเภทต่างๆ ให้เหมาะสม นักแนะแนวหลายท่าน
จึงมีความเห็นคล้ายกันในเรื่องการ จัดประเภทของการแนะแนว
ว่าการบริการแนะแนวสามารถแบ่งได้ 3 ประเภท ดังนี้
ประเภทของการบริการแนะแนว(ต่อ)
1. การแนะแนวการศึกษาเป็นบริการที่จัดขึ้นเพื่อให้ความ
ช่วยเหลือนักเรียนให้ได้รับความสาเร็จทาง การศึกษาตาม
ความสามารถของเขา โดยจัดบริการที่ช่วยส่งเสริมพัฒนาการ
ทางด้านสติปัญญา ความรู้ความสามารถ และความถนัดของ
นักเรียนแต่ละคนให้สามารถพัฒนาได้เต็มศักยภาพ สามารถ
ป้ องกันปัญหาทางด้านการเรียน ตลอดจนยังเป็นข้อมูลประกอบ
เพื่อเป็นแนวทางในการศึกษาต่อและอาชีพ บริการสารวจนักเรียน
เป็นรายบุคคล บริการให้คาปรึกษา บริการติดตามผล บริการจัด
วางตัวบุคคล
ประเภทของการบริการแนะแนว(ต่อ)
2. การแนะแนวศึกษาต่อและอาชีพ เป็นกระบวนการให้
ความช่วยเหลือนักเรียนให้รู้จักตนเอง รู้จักโลกของงานอาชีพ
สามารถตัดสินใจได้อย่างเหมาะสม และพัฒนาตนเองได้อย่างมี
ความสุข และประสบความสาเร็จ ในอาชีพที่เลือก เพื่อประโยชน์
แก่ตนเองและสังคม โดยให้นักเรียนสารวจตนเองทุกๆ ด้าน เพื่อให้
นักเรียนเข้าใจ และยอมรับตนเองอย่างแท้จริง การให้นักเรียนได้
รู้จักโลกของงานอาชีพ ก็โดยให้ข้อมูลเกี่ยวกับอาชีพต่างๆ เช่น
แนวทางที่จะไปสู่อาชีพนั้นๆ คุณสมบัติของผู้ประกอบอาชีพ
การเตรียมตัวเพื่อเข้าสู่อาชีพนั้นๆ เป็นต้น
ประเภทของการบริการแนะแนว(ต่อ)
3.การแนะแนวส่วนตัวและสังคมหรอการพัฒนาตน
เป็ นกระบวนการช่วยส่งเสริมและพัฒนานักเรียนในด้าน
บุคลิกภาพ อารมณ์และ สังคม เพื่อเป็ นผู้ที่มีสุขภาพจิตที่ดีและ
สามารถปรับตัวเองได้อย่างมีความสุข รู้จักบาเพ็ญตนให้เป็ น
ประโยชน์ต่อตนเองและสังคม มีความสามารถในการเป็นผู้นาและ
ผู้ตามที่ดีโดยการเสริมสร้างเจตคติที่ดีต่อตนเองและสังคมและ
ผู้อื่น การมองเห็นและการยอมรับความแตกต่าง ระหว่างบุคคล
เมื่อเกิดปัญหาก็สามารถแก้ไขได้และตัดสินใจได้ถูกต้อง สิ่งสาคัญ
คือ หากโรงเรียนสามารถจัดบริการด้านนี้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
จะเป็นการป้ องกันปัญหาทางสังคมด้วย
ประโยชน์ของการแนะแนว
1.ช่วยให้นักเรียนได้รู้จักและเข้าใจตนเองอย่างถ่องแท้
ทาให้สามารถปรับตัว อยู่ในสังคมได้เป็ นอย่างดี รู้จักเลือกและ
ตัดสินใจได้อย่างฉลาดและเหมาะสม แก้ปัญหาต่างๆ ที่ตนประสบ
ได้อย่างมีประสิทธิภาพวางแผนการชีวิตในอนาคตของตนเอง และ
นาตนเองไปสู่เป้ าหมายที่วางไว้ ทั้งยังช่วยให้นักเรียนได้รับการ
ส่งเสริมพัฒนาให้เกิด ความเจริญงอกงามทุกด้านอย่างมีบูรณาการ
ประโยชน์ของการแนะแนว (ต่อ)
2.ช่วยให้คณะครูได้รู้จักนักเรียนของตนแต่ละคนอย่าง
ลึกซึ้ง ทาให้ยอมรับ นักเรียนในฐานะเป็ นเอกัตบุคคลเข้าใจว่า
นักเรียนแต่ละคนมีความแตกต่างกันในด้านต่างๆ เช่น สติปัญญา
สภาพร่างกาย ความถนัด ความสนใจ ค่านิยม ทาให้ทางโรงเรียน
สามารถจัดการเรียนการสอนและกิจกรรมต่างๆ ได้อย่างเหมาะสม
และสอดคล้องกับ ความต้องการของนักเรียน และช่วยให้เกิด
ปัญหาของโรงเรียนที่เกิดจากนักเรียนลดน้อยลงไปอีกด้วย
ประโยชน์ของการแนะแนว (ต่อ)
3.ช่วยให้บิดามารดาและผู้ปกครองของนักเรียนรู้จักและ
เข้าใจเด็กของตนดีขึ้น ยอมรับสภาพความเป็นจริงเกี่ยวกับบุตร
หลาน ของตนในฐานะที่เป็นบุคคลคนหนึ่งซึ่งแตกต่างจากบุคคล
อื่นๆ และให้ความร่วมมือแก่ทางโรงเรียนในการส่งเสริมพัฒนา
บุตรหลานของตน
4.ช่วยให้สังคมและประเทศชาติได้ประชากรที่มีคุณภาพ
ไม่เป็ นผู้ก่อให้เกิดปัญหาสังคมและช่วยเพิ่มพูนเศรษฐกิจของ
ประเทศ เนื่องจากเด็กได้เรียนและประกอบอาชีพที่สอดคล้องกับ
ความสามารถ ความถนัด และความสนใจของตน
ความหมายการให้คาปรึกษา
การให้คาปรึกษา หมายถึง กระบวนการให้ความช่วยเหลือ
ติดต่อสื่อสารกันด้วยวาจาและกิริยาท่าทาง ที่เกิดจากสัมพันธภาพ
ทางวิชาชีพของบุคคลอย่างน้อย 2 คน คือ ผู้ให้และผู้รับคาปรึกษา
ผู้ให้คาปรึกษาในที่นี้หมายถึง ครูที่มีคุณลักษณะที่เอื้อต่อการให้
คาปรึกษา มีความรู้และทักษะในการให้คาปรึกษา ทาหน้าที่ให้
ความช่วยเหลือแก่ผู้รับคาปรึกษาหรือนักเรียน ซึ่งเป็ นผู้ที่กาลัง
ประสบความยุ่งยากใจ หรือมีความทุกข์และต้องการความ
ช่วยเหลือให้เข้าใจตนเอง เข้าใจสิ่งแวดล้อม ให้มีทักษะในการ
ตัดสินใจ และหาทางออกเพื่อลดหรือขจัดความทุกข์
ความยุ่งยากใจด้วยตนเองได้อย่างมีประสิทธิภาพ สามารถพัฒนา
ตนเองไปสู่เป้ าหมายที่ต้องการ
ความหมายการให้คาปรึกษา(ต่อ)
1. มีทฤษฏี กระบวนการและเทคนิคการให้คาปรึกษาให้
ครูได้เลือกใช้ได้ตามความเหมาะสมกับลักษณะของปัญหาและ
ธรรมชาติของนักเรียน
2. เน้นสัมพันธภาพที่ดีระหว่างครูผู้ให้และนักเรียนผู้รับ
คาปรึกษา เพื่อให้นักเรียนเกิดความรู้สึกไว้วางใจ และกล้าเปิดเผย
ตนเองซึ่งจะช่ วยให้การให้คาปรึกษาดาเนินไปอย่างมี
ประสิทธิภาพ ใช้การสนทนา หรือการสื่อสารสองทางระหว่างครู
กับนักเรียน เป็นเครื่องมือสาคัญของการให้คาปรึกษา
3. เน้นปัจจุบัน เพื่อให้นักเรียนอยู่ในโลกของความเป็น
จริง และสามารถค้นหาแนวทางแก้ไขที่เป็นไปได้ในปัจจุบัน
ความหมายการให้คาปรึกษา(ต่อ)
4. ไม่มีคาตอบสาเร็จรูปตายตัว เพราะการให้คาปรึกษา
เป็ นทั้งศาสตร์และศิลป์ วิธีการแก้ปัญหาในแต่ละกรณีจะไม่
เหมือนกัน ขึ้นอยู่กับสถานการณ์และสภาพปัญหา โดยนักเรียนจะ
เป็นผู้ตัดสินใจเลือกแนวทางแก้ปัญหาด้วยตัวเอง
5. ครูผู้ให้คาปรึกษาต้องให้เกียรติ และยอมรับนักเรียน
ที่มาขอรับคาปรึกษาอย่างไม่มีเงื่อนไข ไม่ตัดสิน ไม่ประเมิน และ
ไม่วิพากษ์ วิจารณ์ หรือตาหนินักเรียน
วัตถุประสงค์ของการให้คาปรึกษา
การให้คาปรึกษาแก่นักเรียนมีวัตถุประสงค์เพื่อช่วย
นักเรียนในเรื่องต่อไปนี้
1. สารวจตนเอง และสิ่งแวดล้อม เพื่อให้เกิดการเรียนรู้
และเข้าใจ
2. ลดระดับความเครียด และความไม่สบายใจที่เกิดการ
มีปฏิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อม
3. พัฒนาทักษะทางด้านสังคม ทักษะการตัดสินใจ
และทักษะการจัดการกับปัญหาให้มี ประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น
4. เปลี่ยนแปลงพฤติกรรมไปในทิศทางที่พึงประสงค์ เช่น
มีความรับผิดชอบในหน้าที่ต่างๆ มากขึ้น มีพฤติกรรมการเรียนที่ดี
และสร้างสัมพันธภาพกับผู้อื่นได้ดีขึ้น
ประเภทของการให้คาปรึกษา
การให้คาปรึกษาสามารถแบ่งเป็น 2 ประเภท คือ
1. การให้คาปรึกษารายบุคคล คือ การให้ความช่วยเหลือแก่
นักเรียนที่มีพฤติกรรมเสี่ยง ครั้งละ 1 คน
2. การให้คาปรึกษากลุ่ม คือการให้การช่วยเหลือแก่นักเรียน
จานวนตั้งแต่ 2 คนขึ้นไป ที่มีพฤติกรรมเสี่ยงในเรื่องที่คล้ายคลึงกัน
หรือมีความต้องการที่จะพัฒนาตนในเรื่องเดียวกัน โดยใช้ความสัมพันธ์
และอิทธิพลของกลุ่มในการช่วยเหลือสมาชิกในด้านกาลังใจ ความเห็น
อกเห็นใจ การให้ข้อมูลย้อนกลับ และข้อเสนอแนะ เพื่อให้สมาชิกเข้าใจ
ตนเอง เข้าใจปัญหา ได้แนวทางแก้ไขปัญหา หรือพัฒนาตนจากการ
พูดคุยและพิจารณาร่วมกันในกลุ่ม ซึ่งจะทาให้การให้คาปรึกษามี
ประสิทธิภาพ เพราะสมาชิกมีโอกาสสร้างปฏิสัมพันธ์กันได้
ข้อควรคานึงในการให้คาปรึกษา
การให้คาปรึกษาแก่นักเรียนครูควรปฏิบัติดังนี้
1. ตรงต่อเวลานัดหมายทั้งเริ่มต้น และสิ้นสุดการให้
คาปรึกษา โดยทั่วไปแล้วการให้คาปรึกษาแต่ละครั้ง ควรใช้เวลา
45-50 นาที สาหรับการให้คาปรึกษารายบุคคล และ 60-90 นาที
สาหรับการให้คาปรึกษากลุ่ม และควรอยู่ในช่วงระยะเวลาไม่เกิน 3
เดือน ต่อราย หรือต่อกลุ่มรวมทั้งหลีกเลี่ยงการนัดหมายอื่นๆ
2. ให้ความสาคัญกับภาษาท่าทางของนักเรียนให้มาก
หากพบว่าคาพูดกับท่าทางของนักเรียนขัดแย้งกัน ให้เชื่อภาษา
ท่าทางและสะท้อนกลับให้นักเรียนรับรู้ เพื่อให้นักเรียนเข้าใจ
ตัวเองมากขึ้น เช่น “เธอบอกว่าเธอเสียใจกับเรื่องนี้มาก แต่ขณะที่
เธอพูดว่าเสียใจ ครูเห็นเธอยิ้ม จริงๆ แล้วเธอรู้สึกอย่างไร”
ข้อควรคานึงในการให้คาปรึกษา (ต่อ)
3. หลีกเลี่ยงการถามข้อมูลที่ละเอียดอ่อน หรือเจาะจง
เกินไป เพราะอาจทาให้นักเรียนอึดอัดใจ และไม่ให้ความร่วมมือใน
การปรึกษาได้
4. หลีกเลี่ยงการแนะนาให้นักเรียนปฏิบัติตามความเห็น
ของครู เพราะนักเรียนอาจเคยปฏิบัติในสิ่งที่ครูแนะนามาแล้วแต่
ไม่ประสบความสาเร็จ หรืออาจเป็ นคาแนะนาที่นักเรียนไม่
ต้องการ ซึ่งจะทาให้นักเรียนหลีกเลี่ยงที่จะมารับคาปรึกษาต่อไป
5. หลีกเลี่ยงการเกิดอารมณ์ร่วมและการเห็นชอบกับ
พฤติกรรมของนักเรียนที่จะเป็นการเสริมแรงให้นักเรียนคิดและ
ทาพฤติกรรมเหมือนเดิมทาให้นักเรียนไม่มีโอกาสเปลี่ยนแปลงไป
ในทางที่ดีขึ้น
ข้อควรคานึงในการให้คาปรึกษา (ต่อ)
6. ไม่ควรรีบด่วนที่จะสรุปและแก้ปัญหา โดยที่นักเรียน
ไม่มีโอกาสได้สารวจปัญหา และสาเหตุมากพอ
7. หลังจากการให้คาปรึกษาแต่ละครั้งแล้ว ครูควรบันทึก
ผลการให้คาปรึกษาไว้เพื่อเป็นข้อมูลในการให้คาปรึกษาต่อไป
8. ต้องรักษาความลับ และประโยชน์ของนักเรียน โดย
ต้องระมัดระวังที่จะไม่นาเรื่องราวของนักเรียนไปพูดในที่ต่างๆ
แม้จะไม่เอ่ยชื่อก็ตาม เพราะคนฟังอาจปะติดปะต่อเรื่องราวเอง
หรือสอบถามกันจนรู้ว่าเป็ นเรื่องราวของนักเรียนคนใด ซึ่งจะ
ส่งผลเสียหายต่อนักเรียนดังกล่าว และกระทบถึงความน่าเชื่อถือ
ไว้วางใจของระบบการให้คาปรึกษาได้
คุณลักษณะของครูผู้ให้คาปรึกษา
ครูผู้ที่จะทาหน้าที่ให้คาปรึกษาได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ควรมีลักษณะส่วนตัว ดังต่อไปนี้
รู้จักและยอมรับตนเอง  อดทนใจเย็น
จริงใจและตั้งใจช่วยเหลือผู้อื่น
มีท่าทีที่เป็นมิตรและมองโลกในแง่ดี
ไวต่อความรู้สึกของผู้อื่นและช่างสังเกต
ใช้คาพูดได้เหมาะสม   เป็นผู้รับฟังที่ดี
นอกจากนี้ยังควรมีคุณลักษะที่สาคัญคือ มีบุคลิกภาพที่ดีและการ
รักษาความลับ
ทักษะการให้คาปรึกษา
ทักษะการให้คาปรึกษา คือความสามารถหรือความ
ชานาญในการสื่อสาร ทั้งการใช้ภาษาท่าทางและภาษาพูด ซึ่งเป็น
เครื่องมือสาคัญของผู้ให้คาปรึกษาในการช่วยเหลือบุคคลที่มีความ
ทุกข์หรือผู้รับคาปรึกษาให้
1) มีความไว้วางใจและมีทัศนคติที่ดีต่อผู้ให้
คาปรึกษาและการปรึกษา
2) เข้าใจปัญหาสาเหตุของปัญหาและความ
ต้องการของตัวเอง
3) แสวงหาและแนวทางการปรับเปลี่ยนการคิด
การรู้สึกและการปฏิบัติตนเพื่อให้มีชีวิตที่ดีขึ้น
กระบวนการในการให้การปรึกษา
1) สร้างสัมพันธภาพและตกลงบริการ
2) สารวจปัญหาเข้าใจปัญหาและสาเหตุความต้องการ
3) วางแผนการแก้ไข
4) ยุติบริการ
กระบวนการในการให้การปรึกษา(ต่อ)
ขั้นตอนที่ 1 “การสร้างสัมพันธภาพ”
เพื่อสร้างความไว้วางใจ กล้าเปิดเผยเรื่องราว
1. การทักทาย (Greeting)
2. การพูดคุยเรื่องทั่วไป (Small talk)
3. การใส่ใจ (Attending)
3.1 ภาษาพูด (Verbal)
3.2 ภาษาท่าทาง (Non-verbal)
4. การเปิดประเด็น (Opening)
กระบวนการในการให้การปรึกษา(ต่อ)
ขั้นตอนที่ 2 “การสารวจและทาความเข้าใจปัญหา สาเหตุและ
ความต้องการ”
1. ภูมิหลังความเป็นมา( เท่าที่จาเป็น )
2. องค์ประกอบของปัญหา
รูปแบบของการเกิดปัญหา
2.1 เนื้อหาของปัญหา
ความรุนแรง
ความรู้สึก
ความคิด
กระบวนการในการให้การปรึกษา(ต่อ)
2.2 ผลกระทบต่อผู้รับการปรึกษา
2.3 พฤติกรรมของผู้รับคาปรึกษา
2.4 สัมพันธภาพของ ผู้รับคาปรึกษา
ต่อคนอื่น ครอบครัว เพื่อน ผู้ร่วมงาน
คนที่มีส่วนในปัญหา
2.5 ศักยภาพของ ผู้รับคาปรึกษา
วิธีแก้ปัญหาปัจจุบัน
วิธีแก้ปัญหาในอดีต
ผู้ให้การช่วยเหลือ
กระบวนการในการให้การปรึกษา(ต่อ)
ขั้นตอนที่ 3 “การวางแผนแก้ไขปัญหา”
องค์ประกอบพื้นฐาน
1. แรงจูงใจ
2. ศักยภาพ
3. การสนับสนุนทางสังคม
ประเภทของปัญหา
1. ขาดความรู้
2. อารมณ์ความรู้สึก
3. ขาดแนวทางหรือขาดทักษะปฏิบัติ
กระบวนการในการให้การปรึกษา(ต่อ)
ขั้นตอนที่ 3 “การวางแผนแก้ไขปัญหา”
วิธีการวางแผนแก้ปัญหา
1. มีแรงจูงใจในการแก้ไขปัญหา
2. กาหนดเป้ าหมายได้
3. สารวจทางเลือกต่างๆ เพื่อแก้ไขปัญหา
4. พิจารณาทางเลือกที่พึงประสงค์
5. กาหนดแผนโดยละเอียด
ประเภทของปัญหา เทคนิคที่ใช้
1.ขาดความรู้ ให้ข้อมูล
2.อารมณ์ความรู้สึก ให้กาลังใจ
3.ขาดแนวทางหรือขาดทักษะ
ปฏิบัติ
ฝึกทักษะ
4.ไม่สามารถตัดสินใจได้ การพิจารณาทางเลือก
5.ไม่รู้แนวทางการปฎิบัติ การเสนอแนวทาง
กระบวนการในการให้การปรึกษา(ต่อ)
ขั้นตอนที่4 “การยุติบริการ”
1.ประเมินสถานการณ์
2.สรุปความ
3.นัดหมายครั้งต่อไป
4.ส่งต่อ
5.ลา
ผู้ให้คาปรึกษา
ทัศนคติที่ดี
การยอมรับ
การไม่ตัดสินใคร
การไม่ชี้นา
การเก็บรักษาความลับ
การดูแลเอาใจใส่
ทักษะการติดต่อสื่อสาร
การสร้างความสัมพันธ์
การสร้างบุคลิกภาพ
การเป็นผู้ฟังที่ดี
การสื่อสารด้วยกิริยาท่าทาง
การตรวจสอบ
การตอบคาถาม
ขอบคุณครับ/ขอบคุณค่ะ
แหล่งที่มา
มัลลวีร์ อดุลวัฒนศิริ.2554. เทคนิคการให้คาปรึกษา : การนาไปใช้.
ขอนแก่น : โรงพิมพ์คลังนานา.
http://www.bangkok.go.th/upload/user/00000150/proj_dist/fr
iend/friend_2.pdf
http://www.educ-bkkthon.com/blog/apsornsiri/wp-
content/uploads/2014/02.pdf
คณะผู้จัดทา
นิสิตหลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิตวิชาชีพครู
ปีการศึกษา 2558 รุ่น 2 ห้อง 5
นางสาวนิภาวดี มาลมพันธ์ นายฉัตรชัย บุญศรี นายสรสิช ขันตรีมิตร
นางสาวปริยาภร ชัยมีเขียว
นางสาวเบญจวรรณ ชานิยันต์
นางทับทิม ทองสวัสดิ์
นางสาวพัชรียา พันธุ์โยธี

More Related Content

What's hot

กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณะประโยชน์
กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณะประโยชน์กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณะประโยชน์
กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณะประโยชน์
I'Lay Saruta
 
ใบความรู้ที่ 6 เรื่อง ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์
ใบความรู้ที่ 6 เรื่อง ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์ใบความรู้ที่ 6 เรื่อง ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์
ใบความรู้ที่ 6 เรื่อง ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์Princess Chulabhon's College Chonburi
 
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Sine
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Sineคัมภีร์ฉันทศาสตร์ Sine
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ SineKat Suksrikong
 
ถอดบทเรียนเศรษฐกิจพอเพียง
ถอดบทเรียนเศรษฐกิจพอเพียงถอดบทเรียนเศรษฐกิจพอเพียง
ถอดบทเรียนเศรษฐกิจพอเพียงkrupornpana55
 
การบริหารแหล่งการเรียนรู้และสภาพแวดล้อม
การบริหารแหล่งการเรียนรู้และสภาพแวดล้อม การบริหารแหล่งการเรียนรู้และสภาพแวดล้อม
การบริหารแหล่งการเรียนรู้และสภาพแวดล้อม
Sireetorn Buanak
 
แผนการจัดการเรียนรู้ กลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรมท้องถิ่นไทดำ
แผนการจัดการเรียนรู้ กลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรมท้องถิ่นไทดำแผนการจัดการเรียนรู้ กลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรมท้องถิ่นไทดำ
แผนการจัดการเรียนรู้ กลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรมท้องถิ่นไทดำ
Mine Pantip
 
โครงการจิตอาสาพัฒนาวัดบ้านเรา
โครงการจิตอาสาพัฒนาวัดบ้านเราโครงการจิตอาสาพัฒนาวัดบ้านเรา
โครงการจิตอาสาพัฒนาวัดบ้านเรา
Iam Champooh
 
แบบบันทึกกิจกรรมระบบนิเวศ
แบบบันทึกกิจกรรมระบบนิเวศแบบบันทึกกิจกรรมระบบนิเวศ
แบบบันทึกกิจกรรมระบบนิเวศ
gchom
 
ทฤษฎีของไวก็อตสกี้(Vygotskys Theory)
ทฤษฎีของไวก็อตสกี้(Vygotskys Theory)ทฤษฎีของไวก็อตสกี้(Vygotskys Theory)
ทฤษฎีของไวก็อตสกี้(Vygotskys Theory)
DuangdenSandee
 
ชุดส่งเสริมความรู้ด้วยตนเองเรื่องอารมณ์และความเครียด
ชุดส่งเสริมความรู้ด้วยตนเองเรื่องอารมณ์และความเครียดชุดส่งเสริมความรู้ด้วยตนเองเรื่องอารมณ์และความเครียด
ชุดส่งเสริมความรู้ด้วยตนเองเรื่องอารมณ์และความเครียด
tassanee chaicharoen
 
วิชาพุทธปรัชญา : ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาและปรัชญา
วิชาพุทธปรัชญา : ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาและปรัชญาวิชาพุทธปรัชญา : ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาและปรัชญา
วิชาพุทธปรัชญา : ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาและปรัชญา
Padvee Academy
 
โครงการเปื้อนรัก ปันยิ้ม
โครงการเปื้อนรัก ปันยิ้มโครงการเปื้อนรัก ปันยิ้ม
โครงการเปื้อนรัก ปันยิ้มพัน พัน
 
พิธีเปิด ปิด กิจกรรมยุวกาชาด-เอกสาร56
พิธีเปิด ปิด กิจกรรมยุวกาชาด-เอกสาร56พิธีเปิด ปิด กิจกรรมยุวกาชาด-เอกสาร56
พิธีเปิด ปิด กิจกรรมยุวกาชาด-เอกสาร56Jariya Jaiyot
 
เปรียบเทียบความเชื่อเรื่องความดีความชั่วในศาสนาต่างๆ
เปรียบเทียบความเชื่อเรื่องความดีความชั่วในศาสนาต่างๆเปรียบเทียบความเชื่อเรื่องความดีความชั่วในศาสนาต่างๆ
เปรียบเทียบความเชื่อเรื่องความดีความชั่วในศาสนาต่างๆAnchalee BuddhaBucha
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้
Aoun หมูอ้วน
 
ประวัติลูกเสือ
ประวัติลูกเสือประวัติลูกเสือ
ประวัติลูกเสือguest64f3d9
 
ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์ พิร...
ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์  พิร...ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์  พิร...
ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์ พิร...Kobwit Piriyawat
 
โครงงานกระดาษซับน้ำมันจากใยมะพร้าว
โครงงานกระดาษซับน้ำมันจากใยมะพร้าวโครงงานกระดาษซับน้ำมันจากใยมะพร้าว
โครงงานกระดาษซับน้ำมันจากใยมะพร้าว
Panu Kethirun
 
คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์
คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์
คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์
niralai
 
เป้าหมายและตัวชี้วัดความสำเร็จตามแผนปฏิบัติการ ปี2553
เป้าหมายและตัวชี้วัดความสำเร็จตามแผนปฏิบัติการ ปี2553เป้าหมายและตัวชี้วัดความสำเร็จตามแผนปฏิบัติการ ปี2553
เป้าหมายและตัวชี้วัดความสำเร็จตามแผนปฏิบัติการ ปี2553Krumai Kjna
 

What's hot (20)

กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณะประโยชน์
กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณะประโยชน์กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณะประโยชน์
กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณะประโยชน์
 
ใบความรู้ที่ 6 เรื่อง ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์
ใบความรู้ที่ 6 เรื่อง ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์ใบความรู้ที่ 6 เรื่อง ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์
ใบความรู้ที่ 6 เรื่อง ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์
 
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Sine
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Sineคัมภีร์ฉันทศาสตร์ Sine
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Sine
 
ถอดบทเรียนเศรษฐกิจพอเพียง
ถอดบทเรียนเศรษฐกิจพอเพียงถอดบทเรียนเศรษฐกิจพอเพียง
ถอดบทเรียนเศรษฐกิจพอเพียง
 
การบริหารแหล่งการเรียนรู้และสภาพแวดล้อม
การบริหารแหล่งการเรียนรู้และสภาพแวดล้อม การบริหารแหล่งการเรียนรู้และสภาพแวดล้อม
การบริหารแหล่งการเรียนรู้และสภาพแวดล้อม
 
แผนการจัดการเรียนรู้ กลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรมท้องถิ่นไทดำ
แผนการจัดการเรียนรู้ กลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรมท้องถิ่นไทดำแผนการจัดการเรียนรู้ กลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรมท้องถิ่นไทดำ
แผนการจัดการเรียนรู้ กลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรมท้องถิ่นไทดำ
 
โครงการจิตอาสาพัฒนาวัดบ้านเรา
โครงการจิตอาสาพัฒนาวัดบ้านเราโครงการจิตอาสาพัฒนาวัดบ้านเรา
โครงการจิตอาสาพัฒนาวัดบ้านเรา
 
แบบบันทึกกิจกรรมระบบนิเวศ
แบบบันทึกกิจกรรมระบบนิเวศแบบบันทึกกิจกรรมระบบนิเวศ
แบบบันทึกกิจกรรมระบบนิเวศ
 
ทฤษฎีของไวก็อตสกี้(Vygotskys Theory)
ทฤษฎีของไวก็อตสกี้(Vygotskys Theory)ทฤษฎีของไวก็อตสกี้(Vygotskys Theory)
ทฤษฎีของไวก็อตสกี้(Vygotskys Theory)
 
ชุดส่งเสริมความรู้ด้วยตนเองเรื่องอารมณ์และความเครียด
ชุดส่งเสริมความรู้ด้วยตนเองเรื่องอารมณ์และความเครียดชุดส่งเสริมความรู้ด้วยตนเองเรื่องอารมณ์และความเครียด
ชุดส่งเสริมความรู้ด้วยตนเองเรื่องอารมณ์และความเครียด
 
วิชาพุทธปรัชญา : ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาและปรัชญา
วิชาพุทธปรัชญา : ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาและปรัชญาวิชาพุทธปรัชญา : ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาและปรัชญา
วิชาพุทธปรัชญา : ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาและปรัชญา
 
โครงการเปื้อนรัก ปันยิ้ม
โครงการเปื้อนรัก ปันยิ้มโครงการเปื้อนรัก ปันยิ้ม
โครงการเปื้อนรัก ปันยิ้ม
 
พิธีเปิด ปิด กิจกรรมยุวกาชาด-เอกสาร56
พิธีเปิด ปิด กิจกรรมยุวกาชาด-เอกสาร56พิธีเปิด ปิด กิจกรรมยุวกาชาด-เอกสาร56
พิธีเปิด ปิด กิจกรรมยุวกาชาด-เอกสาร56
 
เปรียบเทียบความเชื่อเรื่องความดีความชั่วในศาสนาต่างๆ
เปรียบเทียบความเชื่อเรื่องความดีความชั่วในศาสนาต่างๆเปรียบเทียบความเชื่อเรื่องความดีความชั่วในศาสนาต่างๆ
เปรียบเทียบความเชื่อเรื่องความดีความชั่วในศาสนาต่างๆ
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้
 
ประวัติลูกเสือ
ประวัติลูกเสือประวัติลูกเสือ
ประวัติลูกเสือ
 
ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์ พิร...
ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์  พิร...ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์  พิร...
ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์ พิร...
 
โครงงานกระดาษซับน้ำมันจากใยมะพร้าว
โครงงานกระดาษซับน้ำมันจากใยมะพร้าวโครงงานกระดาษซับน้ำมันจากใยมะพร้าว
โครงงานกระดาษซับน้ำมันจากใยมะพร้าว
 
คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์
คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์
คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์
 
เป้าหมายและตัวชี้วัดความสำเร็จตามแผนปฏิบัติการ ปี2553
เป้าหมายและตัวชี้วัดความสำเร็จตามแผนปฏิบัติการ ปี2553เป้าหมายและตัวชี้วัดความสำเร็จตามแผนปฏิบัติการ ปี2553
เป้าหมายและตัวชี้วัดความสำเร็จตามแผนปฏิบัติการ ปี2553
 

Similar to จิตวิทยาการแนะแนวและการให้คำปรึกษา 2

7 170819173524
7 1708191735247 170819173524
7 170819173524
wanitchaya001
 
7 170819173524
7 1708191735247 170819173524
7 170819173524
poppai041507094142
 
7 170819173524
7 1708191735247 170819173524
7 170819173524
teerayut123
 
7 170819173524
7 1708191735247 170819173524
7 170819173524
nattapong147
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
nattawad147
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
wanneemayss
 
7 170819173524
7 1708191735247 170819173524
7 170819173524
fernfielook
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
Piyapong Chaichana
 
7 170819173524
7 1708191735247 170819173524
7 170819173524
gam030
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
Theerayut Ponman
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
wanichaya kingchaikerd
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
benty2443
 
คู่มือครูและบุคลากร
คู่มือครูและบุคลากรคู่มือครูและบุคลากร
คู่มือครูและบุคลากรMontree Jareeyanuwat
 
คู่มือครูและบุคลากร
คู่มือครูและบุคลากรคู่มือครูและบุคลากร
คู่มือครูและบุคลากรMontree Jareeyanuwat
 
คู่มือครูและบุคลากร
คู่มือครูและบุคลากรคู่มือครูและบุคลากร
คู่มือครูและบุคลากรMontree Jareeyanuwat
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
Pitsiri Lumphaopun
 
ผลการจัดกิจกรรมแนะแนวตามแนวคิดคอนสตรัคติวิสต์ที่มีต่อความรู้ความเข้าใจในคุณธร...
ผลการจัดกิจกรรมแนะแนวตามแนวคิดคอนสตรัคติวิสต์ที่มีต่อความรู้ความเข้าใจในคุณธร...ผลการจัดกิจกรรมแนะแนวตามแนวคิดคอนสตรัคติวิสต์ที่มีต่อความรู้ความเข้าใจในคุณธร...
ผลการจัดกิจกรรมแนะแนวตามแนวคิดคอนสตรัคติวิสต์ที่มีต่อความรู้ความเข้าใจในคุณธร...โรงเรียนบ้านเสาเล้าฯ สผศ
 

Similar to จิตวิทยาการแนะแนวและการให้คำปรึกษา 2 (20)

7 170819173524
7 1708191735247 170819173524
7 170819173524
 
7 170819173524
7 1708191735247 170819173524
7 170819173524
 
7 170819173524
7 1708191735247 170819173524
7 170819173524
 
7 170819173524
7 1708191735247 170819173524
7 170819173524
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
7 170819173524
7 1708191735247 170819173524
7 170819173524
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
7 170819173524
7 1708191735247 170819173524
7 170819173524
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
คู่มือครูและบุคลากร
คู่มือครูและบุคลากรคู่มือครูและบุคลากร
คู่มือครูและบุคลากร
 
คู่มือครูและบุคลากร
คู่มือครูและบุคลากรคู่มือครูและบุคลากร
คู่มือครูและบุคลากร
 
คู่มือครูและบุคลากร
คู่มือครูและบุคลากรคู่มือครูและบุคลากร
คู่มือครูและบุคลากร
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
ผลการจัดกิจกรรมแนะแนวตามแนวคิดคอนสตรัคติวิสต์ที่มีต่อความรู้ความเข้าใจในคุณธร...
ผลการจัดกิจกรรมแนะแนวตามแนวคิดคอนสตรัคติวิสต์ที่มีต่อความรู้ความเข้าใจในคุณธร...ผลการจัดกิจกรรมแนะแนวตามแนวคิดคอนสตรัคติวิสต์ที่มีต่อความรู้ความเข้าใจในคุณธร...
ผลการจัดกิจกรรมแนะแนวตามแนวคิดคอนสตรัคติวิสต์ที่มีต่อความรู้ความเข้าใจในคุณธร...
 
B2
B2B2
B2
 
หลักสูตรแกนกลาง
หลักสูตรแกนกลางหลักสูตรแกนกลาง
หลักสูตรแกนกลาง
 
อาชีพครู
อาชีพครูอาชีพครู
อาชีพครู
 

จิตวิทยาการแนะแนวและการให้คำปรึกษา 2