SlideShare a Scribd company logo
1 of 7
Download to read offline
1
Document Name
Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved
1.ความหมายของข้อมูล
ข้อมูล (Data) หมายถึง ข้อเท็จจริงหรือเรื่องราวที่เกี่ยวข้องกับสิ่งต่าง ๆ เช่น คน สัตว์สิ่งของสถานที่ ฯลฯ โดยอยู่ในรูปแบบที่
เหมาะสมต่อการสื่อสาร การแปลความหมายและการประมวลผลซึ่งข้อมูลอาจจะได้มาจากการสังเกต การรวบรวม การวัด ข้อมูล
เป็นได้ทั้งข้อมูลตัวเลขหรือสัญญลักษณ์ใด ๆ ที่สาคัญจะต้องมีความเป็นจริงและต่อเนื่องตัวอย่างของข้อมูล เช่น คะแนนสอบ ชือ
นักเรียน เพศ อายุ เป็นต้น
2. แหล่งข้อมูล
เราสามารถสืบค้นข้อมูลได้จากแหล่งข้อมูลต่าง ๆ เช่น
1.โทรทัศน์ ดูการ์ตูน ละคร ข่าว สารคดีต่าง ๆ ทาให้เรารู้ความเป็นไปของเรื่องราวนั้น ๆ สามารถนามาใช้ประโยชน์ในการเรียนรู้ได้
เป็นอย่างดี
2.วิทยุ เราจะได้ยินเพียงแต่เสียงอย่างเดียวแต่ข้อดีก็คือสามารถรับฟังได้ทุกที่ ข้อมูลที่ได้จากวิทยุ เช่น ราคาพืชผลและอุปกรณ์
ทางการเกษตร รายการวิทยุเพื่อาการศึกษา สรุปข่าวและเหตุการประจาวัน เป็นต้น
3.หนังสือพิมพ์ หนังสือทุกชนิด แผ่นภาพ แผ่นปลิว เอกสารแนะนาสินค้า วารสารต่าง ๆ ตลอดจนหนังสือพิมพ์ให้ความรู้และความ
บันเทิง
หากแบ่งแหล่งข้อมูลตามลักษณะการเกิด สามารถแบ่งได้ดังนี้
แหล่งช้อมูลปฐมภูมิ หมายถึง ข้อมูลทั่วไปที่ได้จากการเก็บรวบรวม หรือบันทึกจากแหล่งข้อมูลโดยตรง อาจเป็นการสาอบถาม การ
สัมภาษณ์ การจดบันทึก และการจัดหาด้วยเครื่องอัตโนมัติ
แหล่งข้อมูลทุติยภูมิ หมายถึง ข้อมูลที่ได้มีผู้รวบรวมไว้แล้วในลักษณะเอกสารตีพิมพ์เผยแพร่และตาราทางวิชาการ เช่น ข้อมูลสถิติ
ต่าว ๆ เป็นต้น ข้อมูลเหล่านี้มีการตีพิมพ์เผยแพร่เพื่อใช้งานหรือนาไปประมวลผลต่อ
หัวข้อที่ 6
จัดทาโดย พิชชาภรณ์ กิจชัยสวัสดิ์ ม.6/1 เลขที่ 33
2
Document Name
Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved
3. คุณสมบัติของข้อมูลที่ดี
1. ความถูกต้องแม่นยา (accuracy) ข้อมูลที่ดีควรจะมีความถูกต้องแม่นยาสูง หรือถ้ามีความคลาดเคลื่อน (errors) ปนอยู่บ้าง ก็
ควรที่จะสามารถควบคุมขนาดของความคลาดเคลื่อนที่ปนมาให้มีความคลาดเคลื่อน น้อยที่สุด
2. ความทันเวลา (timeliness) เป็นข้อมูลที่ทันสมัย (up to date) และทันต่อความต้องการของ ผู้ใช้ ถ้าผลิตข้อมูลออกมาช้า ก็
ไม่มีคุณค่าถึงแม้จะเป็นข้อมูลที่ถูกต้องแม่นยาก็ตาม
3. ความสมบูรณ์ครบถ้วน (completeness) ข้อมูลที่เก็บรวบรวมมาต้องเป็นข้อมูลที่ให้ข้อเท็จจริง (facts) หรือข่าวสาร ที่
ครบถ้วนทุกด้านทุกประการ มิใช่ขาดส่วนหนึ่งส่วนใดไปทาให้นาไปใช้การไม่ได้
4. ความกระทัดรัด (conciseness) ข้อมูลที่ได้รับส่วนใหญ่จะกระจัดกระจาย ควรจัดข้อมูลให้อยู่ใน รูปแบบที่กระทัดรัดไม่เยิ่น
เย้อ สะดวกต่อการใช้และค้นหา ผู้ใช้มีความเข้าใจได้ทันที
5. ความตรงกับความต้องการของผู้ใช้ (relevance) ข้อมูลที่จัดทาขึ้นมาควรเป็นข้อมูลที่ผู้ใช้ ข้อมูลต้องการใช้ และจาเป็นต้อง
รู้ / ทราบ หรือเป็นประโยชน์ต่อการจัดทาแผน กาหนดนโยบายหรือตัดสินปัญหาในเรื่องนั้นๆ ไม่ใช่เป็นข้อมูลที่จัดทาขึ้นมา
อย่างมากมาย แต่ไม่มีใครต้องการใช้หรือไม่ตรงกับความต้องการของผู้ใช้ข้อมูล
6. ความต่อเนื่อง (continuity) การเก็บรวบรวมข้อมูล ควรอย่างยิ่งที่จะต้องดาเนินการอย่างสม่าเสมอและต่อเนื่องในลักษณะ
ของอนุกรมเวลา (time-series) เพื่อจะได้นาไปใช้ประโยชน์ในด้านการวิเคราะห์วิจัยหรือหาแนวโน้มในอนาคต
4. การแบ่งลาดับชั้นของการจัดการข้อมูล (hierarchy of date)
ในการจัดการข้อมูลจะมีการแบ่งข้อมูลออกเป็นลาดับชั้นเพื่อง่ายต่อการเรียกใช้และประมวลผล ลาดับชั้นข้อมูล
พื้นฐานที่ควรทราบมีดังต่อไปนี้
บิต (Bit = Binary Digit)
เป็นลาดับชั้นของหน่วยข้อมูลที่เล็กที่สุด ดังที่ทราบกันดีแล้วว่าข้อมูลที่จะทางานร่วมกับคอมพิวเตอร์ได้
นั้น จะต้องเอามาแปลงให้อยู่ในรูปของเลขฐานสองเสียก่อนคอมพิวเตอร์จึงจะเข้าใจและทางานตามที่ต้องการได้เมื่อ
แปลงแล้วจะได้ตัวเลขแทนสถานะเปิดและปิด ของสัญญาณไฟฟ้าที่เรียกว่า บิต เพียง 2 ค่าเท่านั้นคือ บิต 0 และบิต 1
ไบต์ (Byte)
เมื่อนาบิตมารวมกันหลายๆบิต จะได้หน่วยข้อมูลกลุ่มใหม่ที่เรียกว่า ไบต์ (Byte) ซึ่งจานวนของบิตที่ได้นั้นแต่ละ
กลุ่มอาจมีมากหรือน้อยบ้าง ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับชนิดของรหัสที่ใช้เก็บ แต่โดยปกติกับการใช้งานในรหัสแอสกีทั่วไปจะ
ได้กลุ่มของบิต 8 บิตด้วยกัน ซึ่งนิยมมาแทนเป็นรหัสของตัวอักษร บางครั้งจึงนิยมเรียกข้อมูล 1 ไบต์ว่าเป็น 1
ตัวอักษร
3
Document Name
Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved
ฟีลด์ หรือเขตของข้อมูล (Field)
ประกอบด้วยกลุ่มของตัวอักษรหรือไบต์ตั้งแต่ 1 ตัวขึ้นไปมาประกอบกันเป็นหน่วยข้อมูลที่ใหญ่ขึ้นแล้วแสดงลักษณะ
หรือความหมายอย่างใดอย่างหนึ่ง ยกตัวอย่างเขตข้อมูลเกี่ยวกับพนักงาน เช่น รหัสพนักงาน ชื่อ นามสกุล เงินเดือน
ตาแหน่ง
เรคคอร์ด (Record)
เป็นกลุ่มของเขตข้อมูลหรือฟีลด์ที่มีความสัมพันธ์กัน และนามาจัดเก็บรวมกันเป็นหน่วยใหม่ที่ใหญ่ขึ้นเพียงหน่วยเดียว
ปกติในการจัดการข้อมูลใดมักประกอบด้วยเรคคอร์ด ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับขนาดของข้อมูลเป็นหลัก
ไฟล์ หรือแฟ้ มตารางข้อมูล (File)
ไฟล์ หรือแฟ้มข้อมูล เป็นการนาเอาข้อมูลทั้งหมดหลายๆเรคคอร์ดที่ต้องการจัดเก็บมาเรียงอยู่ในรูแปบของแฟ้ม
ตารางข้อมูลเดียวกัน เช่น แฟ้ มตารางข้อมูลเกี่ยวกับคะแนนนักศึกษาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ อาจประกอบด้วยเรคคอร์ด
ของนักศึกษาหลายๆคนที่เก็บข้อมูลเกี่ยวกับ รหัสนักศึกษา ชื่อ นามสกุล และคะแนนที่ได้
5. ฐานข้อมูล (Database)
เกิดจากการรวบรวมเอาแฟ้มตารางข้อมูลหลายๆแฟ้มที่มีความสัมพันธ์กันมาเก็บรวมกันไว้ที่เดียว โดยจะมีการเก็บคาอธิบาย
เกี่ยวกับโครงสร้างฐานข้อมูลหรือที่เรียกว่า พจนานุกรมข้อมูล (data dictionary) ซึ่งจะใช้อธิบายลักษณะของข้อมูลที่เก็บไว้เป็นต้น
ว่า โครงสร้างของแต่ละตารางเป็นอย่างไร ประกอบด้วยฟีลด์อะไรบ้าง คุณลักษณะของแต่ละฟีลด์และความสัมพันธ์ของแต่ละแฟ้ม
เป็นอย่างไร ซึ่งข้อมูลเหล่านี้ถือว่ามีความจาเป็นมากและจะถูกเรียกใช้ในระหว่างที่มีการประมวลผลฐานข้อมูลนั่นเอง
6. การจัดโครงสร้างของแฟ้ มข้อมูล (File Organization)
โดยปกติแฟ้มข้อมูลจะถูกเก็บไว้ในหน่วยความจาสารอง (secondary storage) เช่น ฮาร์ดดิสก์ เนื่องจากมีความจุข้อมูลสูงและ
สามารถเก็บได้ถาวรแม้จะปิดเครื่องไป ซึ่งการจัดเก็บนี้จะต้องมีวิธีกาหนดโครงสร้าง โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้การจัดเก็บและเข้าถึง
ข้อมูลมีความรวดเร็ว ถูกต้อง และเหมาะสมกับความต้องการ การเข้าถึงและค้นคืนข้อมูลจะอาศัยคีย์ฟีลด์ในการเรียกค้นด้วยเสมอ
การจัดโครงสร้างของแฟ้มข้อมูลอาจจะแบ่งได้เป็น 3 ลักษณะดังนี้
1. โครงสร้างของแฟ้ มข้อมูลแบบเรียงลาดับ (Sequential File Structure)
เป็นโครงสร้างของแฟ้มข้อมูลชนิดพื้นฐานที่สามารถใช้งานได้ง่ายที่สุด เนื่องจากมีลักษณะการจัดเก็บข้อมูลแบบเรียงลาดับเรคค
อร์ดต่อเนื่องกันไปเรื่อยๆ การอ่านหรือค้นคืนข้อมูลจะข้ามลาดับไปอ่านตรงตาแหน่งใดๆที่ต้องการโดยตรงไม่ได้ เมื่อต้องการอ่าน
ข้อมูลที่เรคคอร์ดใดๆโปรแกรมจะเริ่มอ่านตั้งแต่เรคคอร์ดแรกไปเรื่อยๆจนกว่าจะพบเรคคอร์ดที่ต้องการ ก็จะเรียกค้นคืนเรคคอร์ด
นั้นขึ้นมา
4
Document Name
Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved
การใช้ข้อมูลเรียงลาดับนี่จึงเหมาะสมกับงานประมวลผลที่มีการอ่านข้อมูลต่อเนื่องกันไปเรื่อยๆตามลาดับและปริมาณครั้ง
ละมากๆตัวอย่างเช่น ใบแจ้งหนี้ค่าบริการไฟฟ้า น้าประปา ค่าโทรศัพท์หรือค่าบริการสาธารณูปโภคอื่นๆที่มีเรคคอร์ดของ
ลูกค้าจานวนมาก เป็นต้น
แฟ้มข้อมูลแบบนี้ถ้าเป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ระดับเมนเฟรมขนาดใหญ่ก็จะจัดเก็บอยู่ในอุปกรณ์ประเภทเทปแม่เหล็ก
(magnetic tape) ซึ่งมีการเข้าถึงแบบลาดับ (Sequential access) เวลาอ่านข้อมูลก็ต้องเป็นไปตามลาดับด้วย คล้ายกับการเก็บ
ข้อมูลเพลงลงบนเทปคาสเซ็ต ซึ่งสมมติว่าในม้วนเทปหนึ่งมีการเก็บเพลงได้ 10 เพลง ความยาวเพลงละ 3 นาที ซึ่งหาก
ต้องการค้นหาเพลงใดก็ต้องเริ่มต้นจากเพลงแรกไปเป็นลาดับจนกว่าจะพบ
2. โครงสร้างของแฟ้ มข้อมูลแบบสุ่ม (Direct/Random File Structure)
เป็นลักษณะของโครงสร้างแฟ้มข้อมูลที่เข้าถึงได้โดยตรง เมื่อต้องการอ่านค่าเรคคอร์ดใดๆสามารถทาการเลือกหรืออ่าน
ค่านั้นได้ทันที ไม่จาเป็นต้องผ่านเรคคอร์ดแรกๆเหมือนกับแฟ้มข้อมูลแบบเรียงลาดับ ซึ่งทาให้การเข้าถึงข้อมูลได้รวดเร็ว
กว่า ปกติจะมีการจัดเก็บในสื่อที่มีลักษณะการเข้าถึงได้โดยตรงประเภทจานแม่เหล็ก เช่น ดิสเก็ตต์, ฮาร์ดดิสก์หรือ CD-
ROM เป็นต้น
3. โครงสร้างของแฟ้ มข้อมูลแบบลาดับเชิงดรรชนี (Index Sequential File Structure)
เป็นลักษณะของโครงสร้างแฟ้มข้อมูลที่อาศัยกระบวนการที่เรียกว่า ISAM (Index Sequential Access Method ) ซึ่งรวมเอา
ความสามารถในการเข้าถึงข้อมูลแบบสุ่มและแบบเรียงตามลาดับเข้าไว้ด้วยกัน การจัดโครงสร้างแฟ้มข้อมูลวิธีนี้ ข้อมูลจะถูกจัดเก็บ
เรียงกันตามลาดับไว้บนสื่อแบบสุ่ม เช่น ฮาร์ดดิสก์ และการเข้าถึงข้อมูลจะทาผ่านแฟ้มข้อมูลลาดับเชิงดรรชนี (Index Sequential
File) ซึ่งทาหน้าที่ช่วยชี้และค้นหาข้อมูลที่ต้องการได้สามารถทางานได้ยืดหยุ่นกว่าวิธีอื่นๆโดยเฉพาะกับกรณีที่ในการประมวลผลมี
จานวนมากๆ
โครงสร้างแฟ้มข้อมูลแบบนี้จะมีหลักการทางานคล้ายกับรูปแบบดรรชนีท้ายเล่มหนังสือที่มีการจัดเรียงหัวเรื่องแยกไว้เป็นลาดับ
ตามหมวดหมู่อักษรตั้งแต่ A-Z หรือ ก-ฮ เมื่อสนใจหัวเรื่องใดโดยเฉพาะ ผู้อ่านสามารถไล่ค้นได้จากชื่อหัวเรื่องที่พิมพ์เรียงกันไว้เป็น
ลาดับนั้นเพื่อดูหมายเลขหน้าได้ซึ่งทาให้ง่ายและสะดวกมากยิ่งขึ้น
5
Document Name
Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved
7. เปรียบเทียบโครงสร้างของแฟ้ มข้อมูล
โครงสร้างแฟ้ ม ข้อดี ข้อเสีย สื่อที่ใช้เก็บ
1. แบบเรียงลำดับ - เสียค่ำใช ้จ่ำยน้อยและใช ้งำนได ้
ง่ำยกว่ำวิธีอื่นๆ
- เหมำะกับงำนประมวลผลที่มีกำร
อ่ำนข ้อมูลแบบเรียงลำดับและใน
ปริมำณมำก
- สื่อที่ใช ้เก็บเป็นเทปซึ่งมีรำคำถูก
- กำรทำงำนเพื่อค ้นหำข ้อมูล
จะต ้องเริ่มทำตั้งแต่ต ้นไฟล์
เรียงลำดับไปเรื่อย จนกว่ำจะหำ
ข ้อมูลนั้นเจอ ทำให ้เสียเวลำ
ค่อนข ้ำงมำก
- ข ้อมูลที่ใช ้ต ้องมีกำรจัด
เรียงลำดับก่อนเสมอ
- ไม่เหมำะกับงำนที่ต ้อง
แก ้ไข เพิ่ม ลบข ้อมูลเป็น
ประจำ เช่นงำนธุรกรรมออนไลน์
เทปแม่เหล็ก เช่น เทปคำส
เซ็ต
2. แบบสุ่ม - สำมำรถทำงำนได ้เร็ว เพรำะมี
กำรเข ้ำถึงข ้อมูลเรคคอร์ดแบบเร็ว
มำก เพรำะไม่ต ้องเรียงลำดับ
ข ้อมูลก่อนเก็บลงไฟล์
- เหมำะสมกับกำรใช ้งำนธุรกรรม
ออนไลน์ หรืองำนที่ต ้องกำร
แก ้ไข เพิ่ม ลบรำกกำรเป็นประจำ
- ไม่เหมำะกับงำนประมวลผลที่
อ่ำนข ้อมูลในปริมำณมำก
- กำรเขียนโปรแกรมเพื่อค ้นหำ
ข ้อมูลจะซับซ ้อน
- ไม่สำมำรถเข ้ำถึงข ้อมูลแบบ
เรียงลำดับได ้
จำนแม่เหล็กเช่น ดิสเก็ตต์
, ฮำร์ดดิสก์หรือ CD-ROM
3. แบบลำดับเชิงดรรชนี - สำมำรถรองรับกำรประมวลผลได ้
ทั้ง 2 แบบคือ แบบลำดับและ
แบบสุ่ม
- เหมำะกับงำนธุรกรรม
ออนไลน์ ด ้วยเช่นเดียวกัน
- สิ้นเปลืองเนื้อที่ในกำรจัดเก็บ
ดรรชนีที่ใช ้อ ้ำงอิงถึงตำแหน่งของ
ข ้อมูล
- กำรเขียนโปรแกรมเพื่อค ้นหำ
ข ้อมูลจะซับซ ้อน
- กำรทำงำนช ้ำกว่ำแบบสุ่ม และมี
ค่ำใช ้จ่ำยสูง
จำนแม่เหล็ก เช่น ดิสเก็ตต์
, ฮำร์ดดิสก์หรือ CD-ROM
8. ประเภทของแฟ้ มข้อมูล (File type)
เราสามารถจาแนกแฟ้มข้อมูลออกตามลักษณะของข้อมูลที่เก็บบันทึกไว้และสามารถแบ่งแฟ้มข้อมูลออกเป็น 3ประเภทใหญ่ๆ
คือ
1. แฟ้ มข้อมูลหลัก (Master File) เป็นแฟ้มข้อมูลซึ่งเก็บข้อมูลที่สาคัญ เช่น แฟ้มข้อมูลประวัติ ลูกค้า (Customer master file) ตามที่
กล่าวไว้ข้างต้น แฟ้มข้อมูลประวัติผู้จัดส่งสินค้า (Supplier master file) แฟ้มข้อมูลสินค้าคงเหลือ (Inventory master file)
แฟ้มข้อมูลบัญชี (Account master file) เป็นต้น ซึ่งแฟ้มข้อมูลหลักเหล่านี้เป็นส่วนประกอบของระบบงานบัญชี (Account
system)
2. แฟ้ มข้อมูลรายการเปลี่ยนแปลง (transaction file) แฟ้มข้อมูลรายการเปลี่ยนแปลงเป็นแฟ้มข้อมูลที่ประกอบด้วยระเบียนข้อมูลที่
มีการเคลื่อนไหว ซึ่งจะถูกรวบรวมเป็นแฟ้มข้อมูลรายการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นในแต่ละงวดในส่วนที่เกี่ยวข้องกับข้อมูลนั้น
แฟ้มข้อมูลรายการเปลี่ยนแปลงนี้จะนาไปปรับรายการในแฟ้มข้อมูลหลัก ให้ได้ยอดปัจจุบัน ตัวอย่างเช่น แฟ้มข้อมูลลงทะเบียน
เรียนของนักศึกษา
6
Document Name
Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved
9.ระบบการประมวลผลฐานข้อมูล
แฟ้มข้อมูล (File) เกิดจากการนาระเบียนข้อมูลประเภทเดียวกัน มารวมกัน
ฐานข้อมูล หมายถึง การเก็บระบบข้อมูลที่มีความสัมพันธ์กันได้ในที่เดียวกัน ใน ระบบการประมวลผลฐานข้อมูล จะมี
รูปแบบและวิธีการจัดการข้อมูลที่แตกต่างจากระบบแฟ้มข้อมูล คือ มีองค์ประกอบหนึ่งเพิ่มขึ้นมา จากระบบการประมวลผล
แฟ้มข้อมูล ได้แก่องค์ประกอบที่เรียกว่า ระบบจัดการฐานข้อมูล หรือ DBMS (Database Management System) เป็นโปรแกรม
ที่ถูกสร้างขึ้นมาเพื่อแก้ไขข้อบกพร่องของระบบการประมวลผลแฟ้มข้อมูล ใน ระบบการประมวลผลฐานข้อมูล แฟ้ มข้อมูล
ต่าง ๆ จะความเกี่ยวข้องของข้อมูล และทาให้ข้อมูลถูกต้องทันสมัยอยู่ตลอดเวลา นอกจากนี้ โปรแกรมประยุกต์ที่เกี่ยวข้องยัง
ไม่ขึ้นกับโครงสร้างข้อมูลอีกด้วย
การประมวลผลแบบแฟ้ มข้อมูล(File Processing)
คือ การจากัดของระบบการประมวลผลแฟ้มข้อมูล จึงได้มีการพยายามคิดหาเทคโนโลยีใหม่ เพื่อมาทาการประมวลผล
ระบบฐานข้อมูล(Database Systems)
ฐานข้อมูล (Database) เกิด จากการนาแฟ้มข้อมูลหลาย ๆ แฟ้มมารวมกันไว้ที่เดียวกัน แต่ฐานข้อมูลจะมีการเก็บคาอธิบาย
เกี่ยวกับโครงสร้างฐานข้อมูล ที่เรียกว่า พจนานุกรมข้อมูล (Data Dictionary) หรือ เบต้าดาต้า ทาหน้าที่อธิบายลักษณะข้อมูลที่
เก็บอยู่ในฐานข้อมูล รวมทั้งความสัมพันธ์ของข้อมูลที่เก็บอยู่ในฐานข้อมูล พจนานุกรมข้อมูลนี้ จึงถูกเรียกใช้งานในระหว่างที่
มีการประมวลผลฐานข้อมูล
แนวคิดของการใช้ฐานข้อมูล
ฐานข้อมูล จากการที่ระบบการประมวลผลฐานข้อมูล เป็นระบบที่สามารถ แก้ไขข้อบกพร่องของระบบการประมวลผล
แฟ้มข้อมูลได้ในปัจจุบันจึงมีการนิยมใช้ระบบฐานข้อมูลมากขึ้น และมีการเปลี่ยนระบบการนาคนจากระบบเดิมมาเป็นระบบ
ฐานข้อมูล
เครื่องมือสาหรับจัดการฐานข้อมูล(DBMS)
DBMS จะทาหน้าที่เหมือนตัวกลางระหว่างผู้ใช้กับฐานข้อมูล ทาหน้าที่ในการสร้าง,เรียกใช้ข้อมูล หรือ ปรับปรุง
ฐานข้อมูล ในการทางานกับฐานข้อมูลจะต้องผ่าน DBMS ทุกครั้งไป ผู้ใช้จะออกคาสั่งผ่านDBMS แล้ว DBMS ก็จะ
ทาหน้าที่ไปจัดการตามคาสั่งกับฐานข้อมูลเอง ผู้ใช้ไม่จาเป็นต้องแทนว่า ข้อมูลเก็บอยู่ที่ใด หรือเก็บในลักษณะใด
7
Document Name
Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved
ลักษณะของ DBMS
ข้อดีของการประมวลผลในระบบฐาน ข้อมูล ข้อมูล มีการเก็บอยู่ร่วมกัน และสามารถใช้ข้อมูลร่วมกันได้ในระบบฐานข้อมูล ข้อมูล
ทั้งหมดจะถูกเก็บรวมในที่เดียวกัน เรียกว่า ฐานข้อมูล สามารถออกคาสั่งผ่าน DBMS ให้ทาการอ่านข้อมูลจากหลาย ๆ ที่ได้เพื่อใช้
นามาสรุป DBMS จะทาหน้าที่เชื่อมข้อมูลจากที่ต่าง ๆ ในฐานข้อมูลให้การจัดการเก็บข้อมูลในฐานข้อมูลสามารถทาได้ง่าย ๆ การ
จัดการกับข้อมูล เช่น การเพิ่ม การลบ การแก้ไข การเรียกใช้ข้อมูล ในระบบฐานข้อมูลสามารถกระทาได้ง่าย โดยผ่าน DBMS จะเป็น
ตัวจัดการเก็บข้อมูลในฐานข้อมูลให้เอง
ภาษาคิวรี่ (Query Language)
คิวรีคือ คาสั่งที่ใช้ในการเพิ่ม แก้ไข ลบ ปรับปรุง ค้นคืนและควบคุมข้อมูล
ภาษาคิวรีเป็นภาษาที่ผู้ใช้เพียงแต่บอกว่าต้องการอะไร โดยผู้ใช้ไม่จาเป็นต้องรู้ว่าทาอย่างไร
 DELETE ใช้สาหรับลบข้อมูลหรือลบเรคอร์ดใดๆ ในฐานข้อมูล
 INSERT ใช้สาหรับเพิ่มข้อมูลหรือเพิ่มเรคอร์ดใดๆ เข้าไปในฐานข้อมูล
 SELECT ใช้สาหรับเลือกข้อมูลหรือเลือกเรคอร์ดใดๆ ที่ต้องการจากฐานข้อมูล
 UPDATE ใช้สาหรับแก้ไขข้อมูลหรือแก้ไขเรคอร์ดใดๆ ในฐานข้อมูล
ความสามารถโดยทั่วไปของระบบการจัดการฐานข้อมูล
1. สามารถลดความซ้าซ้อนของข้อมูลได้
การเก็บข้อมูลชนิดเดียวกันไว้หลาย ๆ ที่ ทาให้เกิดความซ้าซ้อน (Redundancy) ดังนั้นการนาข้อมูลมารวมเก็บไว้ในฐานข้อมูล จะ
ชาวยลดปัญหาการเกิดความซ้าซ้อนของข้อมูลได้ โดยระบบจัดการฐานข้อมูล (Database Management System : DBMS) จะช่วย
ควบคุมความซ้าซ้อนได้เนื่องจากระบบจัดการฐานข้อมูลจะทราบได้ตลอดเวลาว่ามีข้อมูลซ้าซ้อนกันอยู่ที่ใดบ้าง
2. หลีกเลี่ยงความขัดแย้งของข้อมูลได้
หากมีการเก็บข้อมูลชนิดเดียวกันไว้หลาย ๆ ที่และมีการปรับปรุงข้อมูลเดียวกันนี้ แต่ปรับปรุงไม่ครบทุกที่ที่มีข้อมูลเก็บอยู่ก็จะทาให้
เกิดปัญหาข้อมูลชนิดเดียวกัน อาจมีค่าไม่เหมือนกันในแต่ละที่ที่เก็บข้อมูลอยู่ จึงก่อใให้เกิดความขัดแย้งของข้อมูลขึ้น
(Inconsistency)
3. สามารถใช้ข้อมูลร่วมกันได้
ฐานข้อมูลจะเป็นการจัดเก็บข้อมูลรวมไว้ด้วยกัน ดังนั้นหากผู้ใช้ต้องการใช้ข้อมูลในฐานข้อมูลที่มาจากแฟ้มข้อมูลต่างๆ ก็จะทาได้
โดยง่าย

More Related Content

What's hot

Myun dao22
Myun dao22Myun dao22
Myun dao22MyunDao
 
การค้นหาข้อมูลสารสนเทศ2856
การค้นหาข้อมูลสารสนเทศ2856การค้นหาข้อมูลสารสนเทศ2856
การค้นหาข้อมูลสารสนเทศ2856Nisachon Siwongssa
 
ตอนที่+1+..
ตอนที่+1+..ตอนที่+1+..
ตอนที่+1+..Noopy S'bell
 
แบบฝึกหัดที่ 2 ข้อมูลสารสนเทศและความรู้
แบบฝึกหัดที่ 2 ข้อมูลสารสนเทศและความรู้แบบฝึกหัดที่ 2 ข้อมูลสารสนเทศและความรู้
แบบฝึกหัดที่ 2 ข้อมูลสารสนเทศและความรู้bitzren
 
ลักษณะของข้อมูลที่ดีและการจัดเก็บข้อมูล
ลักษณะของข้อมูลที่ดีและการจัดเก็บข้อมูลลักษณะของข้อมูลที่ดีและการจัดเก็บข้อมูล
ลักษณะของข้อมูลที่ดีและการจัดเก็บข้อมูลปิยะดนัย วิเคียน
 
นางสาวมลทิรา เอกกุล ม.5
นางสาวมลทิรา   เอกกุล ม.5นางสาวมลทิรา   เอกกุล ม.5
นางสาวมลทิรา เอกกุล ม.5miwmilk
 
บทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานเกี่ยวกับการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ
บทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานเกี่ยวกับการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศบทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานเกี่ยวกับการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ
บทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานเกี่ยวกับการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศSrion Janeprapapong
 
เทคโนโลยีการสื่อสาร (พัชรา P)
เทคโนโลยีการสื่อสาร (พัชรา P)เทคโนโลยีการสื่อสาร (พัชรา P)
เทคโนโลยีการสื่อสาร (พัชรา P)Patchara Wioon
 
บทที่ 1
บทที่  1บทที่  1
บทที่ 1leoleaun
 
การจัดเอกสาร
การจัดเอกสารการจัดเอกสาร
การจัดเอกสารkoratswpark
 
บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)
บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)
บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)Srion Janeprapapong
 
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสารสนเทศ
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสารสนเทศบทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสารสนเทศ
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสารสนเทศchushi1991
 
การใืช้อินเทอร์เน็ตเพื่อการสืบค้น
การใืช้อินเทอร์เน็ตเพื่อการสืบค้นการใืช้อินเทอร์เน็ตเพื่อการสืบค้น
การใืช้อินเทอร์เน็ตเพื่อการสืบค้นitte55112
 

What's hot (16)

Myun dao22
Myun dao22Myun dao22
Myun dao22
 
การค้นหาข้อมูลสารสนเทศ2856
การค้นหาข้อมูลสารสนเทศ2856การค้นหาข้อมูลสารสนเทศ2856
การค้นหาข้อมูลสารสนเทศ2856
 
การจัดเก็บข้อมูลสารสนเทศ
การจัดเก็บข้อมูลสารสนเทศการจัดเก็บข้อมูลสารสนเทศ
การจัดเก็บข้อมูลสารสนเทศ
 
ตอนที่+1+..
ตอนที่+1+..ตอนที่+1+..
ตอนที่+1+..
 
การจัดเก็บข้อมูล
การจัดเก็บข้อมูลการจัดเก็บข้อมูล
การจัดเก็บข้อมูล
 
เทอม 1 คาบ 4
เทอม 1 คาบ 4เทอม 1 คาบ 4
เทอม 1 คาบ 4
 
แบบฝึกหัดที่ 2 ข้อมูลสารสนเทศและความรู้
แบบฝึกหัดที่ 2 ข้อมูลสารสนเทศและความรู้แบบฝึกหัดที่ 2 ข้อมูลสารสนเทศและความรู้
แบบฝึกหัดที่ 2 ข้อมูลสารสนเทศและความรู้
 
ลักษณะของข้อมูลที่ดีและการจัดเก็บข้อมูล
ลักษณะของข้อมูลที่ดีและการจัดเก็บข้อมูลลักษณะของข้อมูลที่ดีและการจัดเก็บข้อมูล
ลักษณะของข้อมูลที่ดีและการจัดเก็บข้อมูล
 
นางสาวมลทิรา เอกกุล ม.5
นางสาวมลทิรา   เอกกุล ม.5นางสาวมลทิรา   เอกกุล ม.5
นางสาวมลทิรา เอกกุล ม.5
 
บทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานเกี่ยวกับการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ
บทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานเกี่ยวกับการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศบทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานเกี่ยวกับการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ
บทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานเกี่ยวกับการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ
 
เทคโนโลยีการสื่อสาร (พัชรา P)
เทคโนโลยีการสื่อสาร (พัชรา P)เทคโนโลยีการสื่อสาร (พัชรา P)
เทคโนโลยีการสื่อสาร (พัชรา P)
 
บทที่ 1
บทที่  1บทที่  1
บทที่ 1
 
การจัดเอกสาร
การจัดเอกสารการจัดเอกสาร
การจัดเอกสาร
 
บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)
บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)
บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)
 
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสารสนเทศ
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสารสนเทศบทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสารสนเทศ
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสารสนเทศ
 
การใืช้อินเทอร์เน็ตเพื่อการสืบค้น
การใืช้อินเทอร์เน็ตเพื่อการสืบค้นการใืช้อินเทอร์เน็ตเพื่อการสืบค้น
การใืช้อินเทอร์เน็ตเพื่อการสืบค้น
 

Similar to work3

Myun dao22
Myun dao22Myun dao22
Myun dao22MyunDao
 
ข้อมูลสานสนเทศ
ข้อมูลสานสนเทศข้อมูลสานสนเทศ
ข้อมูลสานสนเทศnattapas33130
 
นางสาวมลทิรา เอกกุล
นางสาวมลทิรา  เอกกุลนางสาวมลทิรา  เอกกุล
นางสาวมลทิรา เอกกุลmiwmilk
 
นางสาว มลทิรา เอกกุล ม.5
นางสาว มลทิรา   เอกกุล ม.5นางสาว มลทิรา   เอกกุล ม.5
นางสาว มลทิรา เอกกุล ม.5miwmilk
 
บทที่ 2 ข้อมูลสารสนเทศ
บทที่ 2 ข้อมูลสารสนเทศบทที่ 2 ข้อมูลสารสนเทศ
บทที่ 2 ข้อมูลสารสนเทศnawapornsattasan
 
Chapter4 lecture
Chapter4 lectureChapter4 lecture
Chapter4 lecturesupimon1956
 
Jt.305 บทที่ 8 ข้อมูลและสารสนเทศ
Jt.305   บทที่ 8 ข้อมูลและสารสนเทศJt.305   บทที่ 8 ข้อมูลและสารสนเทศ
Jt.305 บทที่ 8 ข้อมูลและสารสนเทศTor Jt
 
งานคอมนางสาว มลทิรา เอกกุล เรื่อง เทคโนโลยีการสื่อสาร
งานคอมนางสาว มลทิรา  เอกกุล เรื่อง เทคโนโลยีการสื่อสารงานคอมนางสาว มลทิรา  เอกกุล เรื่อง เทคโนโลยีการสื่อสาร
งานคอมนางสาว มลทิรา เอกกุล เรื่อง เทคโนโลยีการสื่อสารmiwmilk
 
Database
DatabaseDatabase
Databasepaween
 
กลุ่ม4สารสนเทศ 5.2
กลุ่ม4สารสนเทศ 5.2กลุ่ม4สารสนเทศ 5.2
กลุ่ม4สารสนเทศ 5.2BoOm mm
 
ประโยชน์ของอินเทอร์เน็ต กศน.ม.ต้น
ประโยชน์ของอินเทอร์เน็ต กศน.ม.ต้นประโยชน์ของอินเทอร์เน็ต กศน.ม.ต้น
ประโยชน์ของอินเทอร์เน็ต กศน.ม.ต้นpeter dontoom
 
เทคโนโลยีการสื่อสาร (พัชรา P)
เทคโนโลยีการสื่อสาร (พัชรา P)เทคโนโลยีการสื่อสาร (พัชรา P)
เทคโนโลยีการสื่อสาร (พัชรา P)Patchara Wioon
 
ใบความรู้ที่ 5 เรื่อง ข้อมูล สารสนเทศ และการประมวลผล
ใบความรู้ที่  5 เรื่อง ข้อมูล สารสนเทศ และการประมวลผลใบความรู้ที่  5 เรื่อง ข้อมูล สารสนเทศ และการประมวลผล
ใบความรู้ที่ 5 เรื่อง ข้อมูล สารสนเทศ และการประมวลผลเทวัญ ภูพานทอง
 
บทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานของการจัดเก็บและค้นคืนสารสนทศ
บทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานของการจัดเก็บและค้นคืนสารสนทศบทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานของการจัดเก็บและค้นคืนสารสนทศ
บทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานของการจัดเก็บและค้นคืนสารสนทศSrion Janeprapapong
 
แหล่งข้อมูลหมายถึง
แหล่งข้อมูลหมายถึงแหล่งข้อมูลหมายถึง
แหล่งข้อมูลหมายถึงTanomsak Toyoung
 

Similar to work3 (20)

หน่วยที่1
หน่วยที่1หน่วยที่1
หน่วยที่1
 
it-06-50
it-06-50it-06-50
it-06-50
 
Myun dao22
Myun dao22Myun dao22
Myun dao22
 
ข้อมูลสานสนเทศ
ข้อมูลสานสนเทศข้อมูลสานสนเทศ
ข้อมูลสานสนเทศ
 
นางสาวมลทิรา เอกกุล
นางสาวมลทิรา  เอกกุลนางสาวมลทิรา  เอกกุล
นางสาวมลทิรา เอกกุล
 
นางสาว มลทิรา เอกกุล ม.5
นางสาว มลทิรา   เอกกุล ม.5นางสาว มลทิรา   เอกกุล ม.5
นางสาว มลทิรา เอกกุล ม.5
 
บทที่ 2 ข้อมูลสารสนเทศ
บทที่ 2 ข้อมูลสารสนเทศบทที่ 2 ข้อมูลสารสนเทศ
บทที่ 2 ข้อมูลสารสนเทศ
 
แนวการสอบ ม.4
แนวการสอบ ม.4แนวการสอบ ม.4
แนวการสอบ ม.4
 
Chapter4 lecture
Chapter4 lectureChapter4 lecture
Chapter4 lecture
 
บทที่ 2 ข้อมูลและสารสนเทศ
บทที่ 2 ข้อมูลและสารสนเทศบทที่ 2 ข้อมูลและสารสนเทศ
บทที่ 2 ข้อมูลและสารสนเทศ
 
Jt.305 บทที่ 8 ข้อมูลและสารสนเทศ
Jt.305   บทที่ 8 ข้อมูลและสารสนเทศJt.305   บทที่ 8 ข้อมูลและสารสนเทศ
Jt.305 บทที่ 8 ข้อมูลและสารสนเทศ
 
งานคอมนางสาว มลทิรา เอกกุล เรื่อง เทคโนโลยีการสื่อสาร
งานคอมนางสาว มลทิรา  เอกกุล เรื่อง เทคโนโลยีการสื่อสารงานคอมนางสาว มลทิรา  เอกกุล เรื่อง เทคโนโลยีการสื่อสาร
งานคอมนางสาว มลทิรา เอกกุล เรื่อง เทคโนโลยีการสื่อสาร
 
Database
DatabaseDatabase
Database
 
Database
DatabaseDatabase
Database
 
กลุ่ม4สารสนเทศ 5.2
กลุ่ม4สารสนเทศ 5.2กลุ่ม4สารสนเทศ 5.2
กลุ่ม4สารสนเทศ 5.2
 
ประโยชน์ของอินเทอร์เน็ต กศน.ม.ต้น
ประโยชน์ของอินเทอร์เน็ต กศน.ม.ต้นประโยชน์ของอินเทอร์เน็ต กศน.ม.ต้น
ประโยชน์ของอินเทอร์เน็ต กศน.ม.ต้น
 
เทคโนโลยีการสื่อสาร (พัชรา P)
เทคโนโลยีการสื่อสาร (พัชรา P)เทคโนโลยีการสื่อสาร (พัชรา P)
เทคโนโลยีการสื่อสาร (พัชรา P)
 
ใบความรู้ที่ 5 เรื่อง ข้อมูล สารสนเทศ และการประมวลผล
ใบความรู้ที่  5 เรื่อง ข้อมูล สารสนเทศ และการประมวลผลใบความรู้ที่  5 เรื่อง ข้อมูล สารสนเทศ และการประมวลผล
ใบความรู้ที่ 5 เรื่อง ข้อมูล สารสนเทศ และการประมวลผล
 
บทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานของการจัดเก็บและค้นคืนสารสนทศ
บทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานของการจัดเก็บและค้นคืนสารสนทศบทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานของการจัดเก็บและค้นคืนสารสนทศ
บทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานของการจัดเก็บและค้นคืนสารสนทศ
 
แหล่งข้อมูลหมายถึง
แหล่งข้อมูลหมายถึงแหล่งข้อมูลหมายถึง
แหล่งข้อมูลหมายถึง
 

work3

  • 1. 1 Document Name Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved 1.ความหมายของข้อมูล ข้อมูล (Data) หมายถึง ข้อเท็จจริงหรือเรื่องราวที่เกี่ยวข้องกับสิ่งต่าง ๆ เช่น คน สัตว์สิ่งของสถานที่ ฯลฯ โดยอยู่ในรูปแบบที่ เหมาะสมต่อการสื่อสาร การแปลความหมายและการประมวลผลซึ่งข้อมูลอาจจะได้มาจากการสังเกต การรวบรวม การวัด ข้อมูล เป็นได้ทั้งข้อมูลตัวเลขหรือสัญญลักษณ์ใด ๆ ที่สาคัญจะต้องมีความเป็นจริงและต่อเนื่องตัวอย่างของข้อมูล เช่น คะแนนสอบ ชือ นักเรียน เพศ อายุ เป็นต้น 2. แหล่งข้อมูล เราสามารถสืบค้นข้อมูลได้จากแหล่งข้อมูลต่าง ๆ เช่น 1.โทรทัศน์ ดูการ์ตูน ละคร ข่าว สารคดีต่าง ๆ ทาให้เรารู้ความเป็นไปของเรื่องราวนั้น ๆ สามารถนามาใช้ประโยชน์ในการเรียนรู้ได้ เป็นอย่างดี 2.วิทยุ เราจะได้ยินเพียงแต่เสียงอย่างเดียวแต่ข้อดีก็คือสามารถรับฟังได้ทุกที่ ข้อมูลที่ได้จากวิทยุ เช่น ราคาพืชผลและอุปกรณ์ ทางการเกษตร รายการวิทยุเพื่อาการศึกษา สรุปข่าวและเหตุการประจาวัน เป็นต้น 3.หนังสือพิมพ์ หนังสือทุกชนิด แผ่นภาพ แผ่นปลิว เอกสารแนะนาสินค้า วารสารต่าง ๆ ตลอดจนหนังสือพิมพ์ให้ความรู้และความ บันเทิง หากแบ่งแหล่งข้อมูลตามลักษณะการเกิด สามารถแบ่งได้ดังนี้ แหล่งช้อมูลปฐมภูมิ หมายถึง ข้อมูลทั่วไปที่ได้จากการเก็บรวบรวม หรือบันทึกจากแหล่งข้อมูลโดยตรง อาจเป็นการสาอบถาม การ สัมภาษณ์ การจดบันทึก และการจัดหาด้วยเครื่องอัตโนมัติ แหล่งข้อมูลทุติยภูมิ หมายถึง ข้อมูลที่ได้มีผู้รวบรวมไว้แล้วในลักษณะเอกสารตีพิมพ์เผยแพร่และตาราทางวิชาการ เช่น ข้อมูลสถิติ ต่าว ๆ เป็นต้น ข้อมูลเหล่านี้มีการตีพิมพ์เผยแพร่เพื่อใช้งานหรือนาไปประมวลผลต่อ หัวข้อที่ 6 จัดทาโดย พิชชาภรณ์ กิจชัยสวัสดิ์ ม.6/1 เลขที่ 33
  • 2. 2 Document Name Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved 3. คุณสมบัติของข้อมูลที่ดี 1. ความถูกต้องแม่นยา (accuracy) ข้อมูลที่ดีควรจะมีความถูกต้องแม่นยาสูง หรือถ้ามีความคลาดเคลื่อน (errors) ปนอยู่บ้าง ก็ ควรที่จะสามารถควบคุมขนาดของความคลาดเคลื่อนที่ปนมาให้มีความคลาดเคลื่อน น้อยที่สุด 2. ความทันเวลา (timeliness) เป็นข้อมูลที่ทันสมัย (up to date) และทันต่อความต้องการของ ผู้ใช้ ถ้าผลิตข้อมูลออกมาช้า ก็ ไม่มีคุณค่าถึงแม้จะเป็นข้อมูลที่ถูกต้องแม่นยาก็ตาม 3. ความสมบูรณ์ครบถ้วน (completeness) ข้อมูลที่เก็บรวบรวมมาต้องเป็นข้อมูลที่ให้ข้อเท็จจริง (facts) หรือข่าวสาร ที่ ครบถ้วนทุกด้านทุกประการ มิใช่ขาดส่วนหนึ่งส่วนใดไปทาให้นาไปใช้การไม่ได้ 4. ความกระทัดรัด (conciseness) ข้อมูลที่ได้รับส่วนใหญ่จะกระจัดกระจาย ควรจัดข้อมูลให้อยู่ใน รูปแบบที่กระทัดรัดไม่เยิ่น เย้อ สะดวกต่อการใช้และค้นหา ผู้ใช้มีความเข้าใจได้ทันที 5. ความตรงกับความต้องการของผู้ใช้ (relevance) ข้อมูลที่จัดทาขึ้นมาควรเป็นข้อมูลที่ผู้ใช้ ข้อมูลต้องการใช้ และจาเป็นต้อง รู้ / ทราบ หรือเป็นประโยชน์ต่อการจัดทาแผน กาหนดนโยบายหรือตัดสินปัญหาในเรื่องนั้นๆ ไม่ใช่เป็นข้อมูลที่จัดทาขึ้นมา อย่างมากมาย แต่ไม่มีใครต้องการใช้หรือไม่ตรงกับความต้องการของผู้ใช้ข้อมูล 6. ความต่อเนื่อง (continuity) การเก็บรวบรวมข้อมูล ควรอย่างยิ่งที่จะต้องดาเนินการอย่างสม่าเสมอและต่อเนื่องในลักษณะ ของอนุกรมเวลา (time-series) เพื่อจะได้นาไปใช้ประโยชน์ในด้านการวิเคราะห์วิจัยหรือหาแนวโน้มในอนาคต 4. การแบ่งลาดับชั้นของการจัดการข้อมูล (hierarchy of date) ในการจัดการข้อมูลจะมีการแบ่งข้อมูลออกเป็นลาดับชั้นเพื่อง่ายต่อการเรียกใช้และประมวลผล ลาดับชั้นข้อมูล พื้นฐานที่ควรทราบมีดังต่อไปนี้ บิต (Bit = Binary Digit) เป็นลาดับชั้นของหน่วยข้อมูลที่เล็กที่สุด ดังที่ทราบกันดีแล้วว่าข้อมูลที่จะทางานร่วมกับคอมพิวเตอร์ได้ นั้น จะต้องเอามาแปลงให้อยู่ในรูปของเลขฐานสองเสียก่อนคอมพิวเตอร์จึงจะเข้าใจและทางานตามที่ต้องการได้เมื่อ แปลงแล้วจะได้ตัวเลขแทนสถานะเปิดและปิด ของสัญญาณไฟฟ้าที่เรียกว่า บิต เพียง 2 ค่าเท่านั้นคือ บิต 0 และบิต 1 ไบต์ (Byte) เมื่อนาบิตมารวมกันหลายๆบิต จะได้หน่วยข้อมูลกลุ่มใหม่ที่เรียกว่า ไบต์ (Byte) ซึ่งจานวนของบิตที่ได้นั้นแต่ละ กลุ่มอาจมีมากหรือน้อยบ้าง ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับชนิดของรหัสที่ใช้เก็บ แต่โดยปกติกับการใช้งานในรหัสแอสกีทั่วไปจะ ได้กลุ่มของบิต 8 บิตด้วยกัน ซึ่งนิยมมาแทนเป็นรหัสของตัวอักษร บางครั้งจึงนิยมเรียกข้อมูล 1 ไบต์ว่าเป็น 1 ตัวอักษร
  • 3. 3 Document Name Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved ฟีลด์ หรือเขตของข้อมูล (Field) ประกอบด้วยกลุ่มของตัวอักษรหรือไบต์ตั้งแต่ 1 ตัวขึ้นไปมาประกอบกันเป็นหน่วยข้อมูลที่ใหญ่ขึ้นแล้วแสดงลักษณะ หรือความหมายอย่างใดอย่างหนึ่ง ยกตัวอย่างเขตข้อมูลเกี่ยวกับพนักงาน เช่น รหัสพนักงาน ชื่อ นามสกุล เงินเดือน ตาแหน่ง เรคคอร์ด (Record) เป็นกลุ่มของเขตข้อมูลหรือฟีลด์ที่มีความสัมพันธ์กัน และนามาจัดเก็บรวมกันเป็นหน่วยใหม่ที่ใหญ่ขึ้นเพียงหน่วยเดียว ปกติในการจัดการข้อมูลใดมักประกอบด้วยเรคคอร์ด ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับขนาดของข้อมูลเป็นหลัก ไฟล์ หรือแฟ้ มตารางข้อมูล (File) ไฟล์ หรือแฟ้มข้อมูล เป็นการนาเอาข้อมูลทั้งหมดหลายๆเรคคอร์ดที่ต้องการจัดเก็บมาเรียงอยู่ในรูแปบของแฟ้ม ตารางข้อมูลเดียวกัน เช่น แฟ้ มตารางข้อมูลเกี่ยวกับคะแนนนักศึกษาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ อาจประกอบด้วยเรคคอร์ด ของนักศึกษาหลายๆคนที่เก็บข้อมูลเกี่ยวกับ รหัสนักศึกษา ชื่อ นามสกุล และคะแนนที่ได้ 5. ฐานข้อมูล (Database) เกิดจากการรวบรวมเอาแฟ้มตารางข้อมูลหลายๆแฟ้มที่มีความสัมพันธ์กันมาเก็บรวมกันไว้ที่เดียว โดยจะมีการเก็บคาอธิบาย เกี่ยวกับโครงสร้างฐานข้อมูลหรือที่เรียกว่า พจนานุกรมข้อมูล (data dictionary) ซึ่งจะใช้อธิบายลักษณะของข้อมูลที่เก็บไว้เป็นต้น ว่า โครงสร้างของแต่ละตารางเป็นอย่างไร ประกอบด้วยฟีลด์อะไรบ้าง คุณลักษณะของแต่ละฟีลด์และความสัมพันธ์ของแต่ละแฟ้ม เป็นอย่างไร ซึ่งข้อมูลเหล่านี้ถือว่ามีความจาเป็นมากและจะถูกเรียกใช้ในระหว่างที่มีการประมวลผลฐานข้อมูลนั่นเอง 6. การจัดโครงสร้างของแฟ้ มข้อมูล (File Organization) โดยปกติแฟ้มข้อมูลจะถูกเก็บไว้ในหน่วยความจาสารอง (secondary storage) เช่น ฮาร์ดดิสก์ เนื่องจากมีความจุข้อมูลสูงและ สามารถเก็บได้ถาวรแม้จะปิดเครื่องไป ซึ่งการจัดเก็บนี้จะต้องมีวิธีกาหนดโครงสร้าง โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้การจัดเก็บและเข้าถึง ข้อมูลมีความรวดเร็ว ถูกต้อง และเหมาะสมกับความต้องการ การเข้าถึงและค้นคืนข้อมูลจะอาศัยคีย์ฟีลด์ในการเรียกค้นด้วยเสมอ การจัดโครงสร้างของแฟ้มข้อมูลอาจจะแบ่งได้เป็น 3 ลักษณะดังนี้ 1. โครงสร้างของแฟ้ มข้อมูลแบบเรียงลาดับ (Sequential File Structure) เป็นโครงสร้างของแฟ้มข้อมูลชนิดพื้นฐานที่สามารถใช้งานได้ง่ายที่สุด เนื่องจากมีลักษณะการจัดเก็บข้อมูลแบบเรียงลาดับเรคค อร์ดต่อเนื่องกันไปเรื่อยๆ การอ่านหรือค้นคืนข้อมูลจะข้ามลาดับไปอ่านตรงตาแหน่งใดๆที่ต้องการโดยตรงไม่ได้ เมื่อต้องการอ่าน ข้อมูลที่เรคคอร์ดใดๆโปรแกรมจะเริ่มอ่านตั้งแต่เรคคอร์ดแรกไปเรื่อยๆจนกว่าจะพบเรคคอร์ดที่ต้องการ ก็จะเรียกค้นคืนเรคคอร์ด นั้นขึ้นมา
  • 4. 4 Document Name Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved การใช้ข้อมูลเรียงลาดับนี่จึงเหมาะสมกับงานประมวลผลที่มีการอ่านข้อมูลต่อเนื่องกันไปเรื่อยๆตามลาดับและปริมาณครั้ง ละมากๆตัวอย่างเช่น ใบแจ้งหนี้ค่าบริการไฟฟ้า น้าประปา ค่าโทรศัพท์หรือค่าบริการสาธารณูปโภคอื่นๆที่มีเรคคอร์ดของ ลูกค้าจานวนมาก เป็นต้น แฟ้มข้อมูลแบบนี้ถ้าเป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ระดับเมนเฟรมขนาดใหญ่ก็จะจัดเก็บอยู่ในอุปกรณ์ประเภทเทปแม่เหล็ก (magnetic tape) ซึ่งมีการเข้าถึงแบบลาดับ (Sequential access) เวลาอ่านข้อมูลก็ต้องเป็นไปตามลาดับด้วย คล้ายกับการเก็บ ข้อมูลเพลงลงบนเทปคาสเซ็ต ซึ่งสมมติว่าในม้วนเทปหนึ่งมีการเก็บเพลงได้ 10 เพลง ความยาวเพลงละ 3 นาที ซึ่งหาก ต้องการค้นหาเพลงใดก็ต้องเริ่มต้นจากเพลงแรกไปเป็นลาดับจนกว่าจะพบ 2. โครงสร้างของแฟ้ มข้อมูลแบบสุ่ม (Direct/Random File Structure) เป็นลักษณะของโครงสร้างแฟ้มข้อมูลที่เข้าถึงได้โดยตรง เมื่อต้องการอ่านค่าเรคคอร์ดใดๆสามารถทาการเลือกหรืออ่าน ค่านั้นได้ทันที ไม่จาเป็นต้องผ่านเรคคอร์ดแรกๆเหมือนกับแฟ้มข้อมูลแบบเรียงลาดับ ซึ่งทาให้การเข้าถึงข้อมูลได้รวดเร็ว กว่า ปกติจะมีการจัดเก็บในสื่อที่มีลักษณะการเข้าถึงได้โดยตรงประเภทจานแม่เหล็ก เช่น ดิสเก็ตต์, ฮาร์ดดิสก์หรือ CD- ROM เป็นต้น 3. โครงสร้างของแฟ้ มข้อมูลแบบลาดับเชิงดรรชนี (Index Sequential File Structure) เป็นลักษณะของโครงสร้างแฟ้มข้อมูลที่อาศัยกระบวนการที่เรียกว่า ISAM (Index Sequential Access Method ) ซึ่งรวมเอา ความสามารถในการเข้าถึงข้อมูลแบบสุ่มและแบบเรียงตามลาดับเข้าไว้ด้วยกัน การจัดโครงสร้างแฟ้มข้อมูลวิธีนี้ ข้อมูลจะถูกจัดเก็บ เรียงกันตามลาดับไว้บนสื่อแบบสุ่ม เช่น ฮาร์ดดิสก์ และการเข้าถึงข้อมูลจะทาผ่านแฟ้มข้อมูลลาดับเชิงดรรชนี (Index Sequential File) ซึ่งทาหน้าที่ช่วยชี้และค้นหาข้อมูลที่ต้องการได้สามารถทางานได้ยืดหยุ่นกว่าวิธีอื่นๆโดยเฉพาะกับกรณีที่ในการประมวลผลมี จานวนมากๆ โครงสร้างแฟ้มข้อมูลแบบนี้จะมีหลักการทางานคล้ายกับรูปแบบดรรชนีท้ายเล่มหนังสือที่มีการจัดเรียงหัวเรื่องแยกไว้เป็นลาดับ ตามหมวดหมู่อักษรตั้งแต่ A-Z หรือ ก-ฮ เมื่อสนใจหัวเรื่องใดโดยเฉพาะ ผู้อ่านสามารถไล่ค้นได้จากชื่อหัวเรื่องที่พิมพ์เรียงกันไว้เป็น ลาดับนั้นเพื่อดูหมายเลขหน้าได้ซึ่งทาให้ง่ายและสะดวกมากยิ่งขึ้น
  • 5. 5 Document Name Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved 7. เปรียบเทียบโครงสร้างของแฟ้ มข้อมูล โครงสร้างแฟ้ ม ข้อดี ข้อเสีย สื่อที่ใช้เก็บ 1. แบบเรียงลำดับ - เสียค่ำใช ้จ่ำยน้อยและใช ้งำนได ้ ง่ำยกว่ำวิธีอื่นๆ - เหมำะกับงำนประมวลผลที่มีกำร อ่ำนข ้อมูลแบบเรียงลำดับและใน ปริมำณมำก - สื่อที่ใช ้เก็บเป็นเทปซึ่งมีรำคำถูก - กำรทำงำนเพื่อค ้นหำข ้อมูล จะต ้องเริ่มทำตั้งแต่ต ้นไฟล์ เรียงลำดับไปเรื่อย จนกว่ำจะหำ ข ้อมูลนั้นเจอ ทำให ้เสียเวลำ ค่อนข ้ำงมำก - ข ้อมูลที่ใช ้ต ้องมีกำรจัด เรียงลำดับก่อนเสมอ - ไม่เหมำะกับงำนที่ต ้อง แก ้ไข เพิ่ม ลบข ้อมูลเป็น ประจำ เช่นงำนธุรกรรมออนไลน์ เทปแม่เหล็ก เช่น เทปคำส เซ็ต 2. แบบสุ่ม - สำมำรถทำงำนได ้เร็ว เพรำะมี กำรเข ้ำถึงข ้อมูลเรคคอร์ดแบบเร็ว มำก เพรำะไม่ต ้องเรียงลำดับ ข ้อมูลก่อนเก็บลงไฟล์ - เหมำะสมกับกำรใช ้งำนธุรกรรม ออนไลน์ หรืองำนที่ต ้องกำร แก ้ไข เพิ่ม ลบรำกกำรเป็นประจำ - ไม่เหมำะกับงำนประมวลผลที่ อ่ำนข ้อมูลในปริมำณมำก - กำรเขียนโปรแกรมเพื่อค ้นหำ ข ้อมูลจะซับซ ้อน - ไม่สำมำรถเข ้ำถึงข ้อมูลแบบ เรียงลำดับได ้ จำนแม่เหล็กเช่น ดิสเก็ตต์ , ฮำร์ดดิสก์หรือ CD-ROM 3. แบบลำดับเชิงดรรชนี - สำมำรถรองรับกำรประมวลผลได ้ ทั้ง 2 แบบคือ แบบลำดับและ แบบสุ่ม - เหมำะกับงำนธุรกรรม ออนไลน์ ด ้วยเช่นเดียวกัน - สิ้นเปลืองเนื้อที่ในกำรจัดเก็บ ดรรชนีที่ใช ้อ ้ำงอิงถึงตำแหน่งของ ข ้อมูล - กำรเขียนโปรแกรมเพื่อค ้นหำ ข ้อมูลจะซับซ ้อน - กำรทำงำนช ้ำกว่ำแบบสุ่ม และมี ค่ำใช ้จ่ำยสูง จำนแม่เหล็ก เช่น ดิสเก็ตต์ , ฮำร์ดดิสก์หรือ CD-ROM 8. ประเภทของแฟ้ มข้อมูล (File type) เราสามารถจาแนกแฟ้มข้อมูลออกตามลักษณะของข้อมูลที่เก็บบันทึกไว้และสามารถแบ่งแฟ้มข้อมูลออกเป็น 3ประเภทใหญ่ๆ คือ 1. แฟ้ มข้อมูลหลัก (Master File) เป็นแฟ้มข้อมูลซึ่งเก็บข้อมูลที่สาคัญ เช่น แฟ้มข้อมูลประวัติ ลูกค้า (Customer master file) ตามที่ กล่าวไว้ข้างต้น แฟ้มข้อมูลประวัติผู้จัดส่งสินค้า (Supplier master file) แฟ้มข้อมูลสินค้าคงเหลือ (Inventory master file) แฟ้มข้อมูลบัญชี (Account master file) เป็นต้น ซึ่งแฟ้มข้อมูลหลักเหล่านี้เป็นส่วนประกอบของระบบงานบัญชี (Account system) 2. แฟ้ มข้อมูลรายการเปลี่ยนแปลง (transaction file) แฟ้มข้อมูลรายการเปลี่ยนแปลงเป็นแฟ้มข้อมูลที่ประกอบด้วยระเบียนข้อมูลที่ มีการเคลื่อนไหว ซึ่งจะถูกรวบรวมเป็นแฟ้มข้อมูลรายการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นในแต่ละงวดในส่วนที่เกี่ยวข้องกับข้อมูลนั้น แฟ้มข้อมูลรายการเปลี่ยนแปลงนี้จะนาไปปรับรายการในแฟ้มข้อมูลหลัก ให้ได้ยอดปัจจุบัน ตัวอย่างเช่น แฟ้มข้อมูลลงทะเบียน เรียนของนักศึกษา
  • 6. 6 Document Name Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved 9.ระบบการประมวลผลฐานข้อมูล แฟ้มข้อมูล (File) เกิดจากการนาระเบียนข้อมูลประเภทเดียวกัน มารวมกัน ฐานข้อมูล หมายถึง การเก็บระบบข้อมูลที่มีความสัมพันธ์กันได้ในที่เดียวกัน ใน ระบบการประมวลผลฐานข้อมูล จะมี รูปแบบและวิธีการจัดการข้อมูลที่แตกต่างจากระบบแฟ้มข้อมูล คือ มีองค์ประกอบหนึ่งเพิ่มขึ้นมา จากระบบการประมวลผล แฟ้มข้อมูล ได้แก่องค์ประกอบที่เรียกว่า ระบบจัดการฐานข้อมูล หรือ DBMS (Database Management System) เป็นโปรแกรม ที่ถูกสร้างขึ้นมาเพื่อแก้ไขข้อบกพร่องของระบบการประมวลผลแฟ้มข้อมูล ใน ระบบการประมวลผลฐานข้อมูล แฟ้ มข้อมูล ต่าง ๆ จะความเกี่ยวข้องของข้อมูล และทาให้ข้อมูลถูกต้องทันสมัยอยู่ตลอดเวลา นอกจากนี้ โปรแกรมประยุกต์ที่เกี่ยวข้องยัง ไม่ขึ้นกับโครงสร้างข้อมูลอีกด้วย การประมวลผลแบบแฟ้ มข้อมูล(File Processing) คือ การจากัดของระบบการประมวลผลแฟ้มข้อมูล จึงได้มีการพยายามคิดหาเทคโนโลยีใหม่ เพื่อมาทาการประมวลผล ระบบฐานข้อมูล(Database Systems) ฐานข้อมูล (Database) เกิด จากการนาแฟ้มข้อมูลหลาย ๆ แฟ้มมารวมกันไว้ที่เดียวกัน แต่ฐานข้อมูลจะมีการเก็บคาอธิบาย เกี่ยวกับโครงสร้างฐานข้อมูล ที่เรียกว่า พจนานุกรมข้อมูล (Data Dictionary) หรือ เบต้าดาต้า ทาหน้าที่อธิบายลักษณะข้อมูลที่ เก็บอยู่ในฐานข้อมูล รวมทั้งความสัมพันธ์ของข้อมูลที่เก็บอยู่ในฐานข้อมูล พจนานุกรมข้อมูลนี้ จึงถูกเรียกใช้งานในระหว่างที่ มีการประมวลผลฐานข้อมูล แนวคิดของการใช้ฐานข้อมูล ฐานข้อมูล จากการที่ระบบการประมวลผลฐานข้อมูล เป็นระบบที่สามารถ แก้ไขข้อบกพร่องของระบบการประมวลผล แฟ้มข้อมูลได้ในปัจจุบันจึงมีการนิยมใช้ระบบฐานข้อมูลมากขึ้น และมีการเปลี่ยนระบบการนาคนจากระบบเดิมมาเป็นระบบ ฐานข้อมูล เครื่องมือสาหรับจัดการฐานข้อมูล(DBMS) DBMS จะทาหน้าที่เหมือนตัวกลางระหว่างผู้ใช้กับฐานข้อมูล ทาหน้าที่ในการสร้าง,เรียกใช้ข้อมูล หรือ ปรับปรุง ฐานข้อมูล ในการทางานกับฐานข้อมูลจะต้องผ่าน DBMS ทุกครั้งไป ผู้ใช้จะออกคาสั่งผ่านDBMS แล้ว DBMS ก็จะ ทาหน้าที่ไปจัดการตามคาสั่งกับฐานข้อมูลเอง ผู้ใช้ไม่จาเป็นต้องแทนว่า ข้อมูลเก็บอยู่ที่ใด หรือเก็บในลักษณะใด
  • 7. 7 Document Name Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved ลักษณะของ DBMS ข้อดีของการประมวลผลในระบบฐาน ข้อมูล ข้อมูล มีการเก็บอยู่ร่วมกัน และสามารถใช้ข้อมูลร่วมกันได้ในระบบฐานข้อมูล ข้อมูล ทั้งหมดจะถูกเก็บรวมในที่เดียวกัน เรียกว่า ฐานข้อมูล สามารถออกคาสั่งผ่าน DBMS ให้ทาการอ่านข้อมูลจากหลาย ๆ ที่ได้เพื่อใช้ นามาสรุป DBMS จะทาหน้าที่เชื่อมข้อมูลจากที่ต่าง ๆ ในฐานข้อมูลให้การจัดการเก็บข้อมูลในฐานข้อมูลสามารถทาได้ง่าย ๆ การ จัดการกับข้อมูล เช่น การเพิ่ม การลบ การแก้ไข การเรียกใช้ข้อมูล ในระบบฐานข้อมูลสามารถกระทาได้ง่าย โดยผ่าน DBMS จะเป็น ตัวจัดการเก็บข้อมูลในฐานข้อมูลให้เอง ภาษาคิวรี่ (Query Language) คิวรีคือ คาสั่งที่ใช้ในการเพิ่ม แก้ไข ลบ ปรับปรุง ค้นคืนและควบคุมข้อมูล ภาษาคิวรีเป็นภาษาที่ผู้ใช้เพียงแต่บอกว่าต้องการอะไร โดยผู้ใช้ไม่จาเป็นต้องรู้ว่าทาอย่างไร  DELETE ใช้สาหรับลบข้อมูลหรือลบเรคอร์ดใดๆ ในฐานข้อมูล  INSERT ใช้สาหรับเพิ่มข้อมูลหรือเพิ่มเรคอร์ดใดๆ เข้าไปในฐานข้อมูล  SELECT ใช้สาหรับเลือกข้อมูลหรือเลือกเรคอร์ดใดๆ ที่ต้องการจากฐานข้อมูล  UPDATE ใช้สาหรับแก้ไขข้อมูลหรือแก้ไขเรคอร์ดใดๆ ในฐานข้อมูล ความสามารถโดยทั่วไปของระบบการจัดการฐานข้อมูล 1. สามารถลดความซ้าซ้อนของข้อมูลได้ การเก็บข้อมูลชนิดเดียวกันไว้หลาย ๆ ที่ ทาให้เกิดความซ้าซ้อน (Redundancy) ดังนั้นการนาข้อมูลมารวมเก็บไว้ในฐานข้อมูล จะ ชาวยลดปัญหาการเกิดความซ้าซ้อนของข้อมูลได้ โดยระบบจัดการฐานข้อมูล (Database Management System : DBMS) จะช่วย ควบคุมความซ้าซ้อนได้เนื่องจากระบบจัดการฐานข้อมูลจะทราบได้ตลอดเวลาว่ามีข้อมูลซ้าซ้อนกันอยู่ที่ใดบ้าง 2. หลีกเลี่ยงความขัดแย้งของข้อมูลได้ หากมีการเก็บข้อมูลชนิดเดียวกันไว้หลาย ๆ ที่และมีการปรับปรุงข้อมูลเดียวกันนี้ แต่ปรับปรุงไม่ครบทุกที่ที่มีข้อมูลเก็บอยู่ก็จะทาให้ เกิดปัญหาข้อมูลชนิดเดียวกัน อาจมีค่าไม่เหมือนกันในแต่ละที่ที่เก็บข้อมูลอยู่ จึงก่อใให้เกิดความขัดแย้งของข้อมูลขึ้น (Inconsistency) 3. สามารถใช้ข้อมูลร่วมกันได้ ฐานข้อมูลจะเป็นการจัดเก็บข้อมูลรวมไว้ด้วยกัน ดังนั้นหากผู้ใช้ต้องการใช้ข้อมูลในฐานข้อมูลที่มาจากแฟ้มข้อมูลต่างๆ ก็จะทาได้ โดยง่าย